SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โครงการปลูกป่ าชายเลน
                                    ่
      “พระราชดารัส”…ความจริงเรืองการพิทกษ์รกษาป่ าชายเลนทุกอย่าง
                                              ั ั
          ่
ทาไปเพือประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติ ก็คอประโยชน์สวนรวมของ
                                                 ื           ่
คนไทยทังชาตินนเอง การที่มีป่า ก็หมายถึงว่าเรายังมีนาใต้ดนเพราะป่ า
             ้      ่ั                                  ้ ิ
ก็คอแหล่งนานันเอง และการที่มีป่าชายเลนก็เช่นเดียวกัน ป่ าชายเลนก็
    ื           ้ ่
เป็ นป่ าที่สตว์นาเล็ก ๆ ในระยะเริมต้นชีวิตเขาได้มาอาศัยอยู่เติบโต และ
               ั ้                ่
                                            ่
ต่อมาก็ได้เป็ นอาหารของพวกเราทังหลายนันเอง...
                                      ้

                                                        พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26
                                                                          ้
ป่ าชายเลน
 ป่ าชายเลน หรือป่ าโกงกาง (Mangrove forest หรือ Intertidal forest)
                          ่          ้ ่
คือกลุ่มของสังคมพืชซึงขึ้นอยู่ในเขตนาลงตาสุด และนาขึ้นสูงสุดบริเวณ
                                                    ้
ชายฝั่ งทะเล ปากแม่นา หรืออ่าว ป่ าชายเลนเป็ นบริเวณที่อยู่อาศัยของ
                        ้
  ่ ี
สิงมีชวิตหลายชนิด ทังพืชและสัตว์ ป่ าชายเลนจึงให้ประโยชน์แก่มนุษย์
                      ้
มากมาย ทังในด้านพลังงานและไม้ใช้สอย ตลอดจนเป็ นแหล่งผลิตอาหาร
            ้
โปรตีนที่สาคัญ เนืองจากป่ าชายเลนเป็ นที่วางไข่ แหล่งอาหาร และ
                   ่
เจริญเติบโตของสัตว์นาเศรษฐกิจนานาชนิด
                            ้


                                                   พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26
                                                                     ้
นอกจากนี้ ป่ าชายเลนยังช่วยปองกันภัยธรรมชาติ โดยเฉพาะเป็ น
                           ้
เกราะกาบังและลดความรุนแรง ของคลืนลมชายฝั่ ง ช่วยดักตะกอนสิง
                                    ่                         ่
ปฏิกูล และสารพิษต่างๆ มิให้ไหลลงไปสะสมในบริเวณชายฝั่ งและใน
ทะเล ในปั จจุบนมีปัญหาหลายประการ ได้แก่ การเพาะเลี้ยงชายฝั่ ง
              ั
แหล่งชุมชน แหล่งอุตสาหกรรม การเกษตรกรรม และกิจกรรมอืนอีก   ่
หลายประเภทได้ขยายไปสู่ชายฝั่ งทะเล โดยเฉพาะในพื้นที่ป่าชายเลน
จนทาให้ป่าชายเลนลดลงอย่างรวดเร็วและรุนแรงจนน่าเป็ นห่วง




                                                     พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26
                                                                       ้
ป่ าชายเลนเป็ นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีความสาคัญอย่างยิง ทังใน
                                                          ่ ้
                               ่
ด้านการป่ าไม้ การประมง และสิงแวดล้อม เช่น ในด้านป่ าไม้ ไม้จากป่ า
ชายเลนโดยเฉพาะไม้โกงกางนามาทาฟื น เผาถ่าน ให้ถ่านที่มีคุณภาพดี
                                  ่                          ่
ไม้ป่าชายเลนอีกหลายชนิดนาไปทาสิงก่อสร้าง เฟอร์นเิ จอร์ และกลัน
เอกสารเคมีท่ีเป็ นประโยชน์ เช่น แทนนิน แอลกอฮอล์ กรดนาส้ม และ
                                                        ้
นามันดิน
   ้




                                                      พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26
                                                                        ้
ในด้านการประมงป่ าชายเลนเป็ นแหล่งขยายพันธุ์ และที่อยู่อาศัยของสัตว์
นานาชนิด เช่น กุง อันได้แก่ กุงกุลาดา กุงแชบ๊วย โดยมีคนศึกษาพบว่า
                    ้          ้         ้
บริเวณป่ าชายเลนประเทศไทย มีกุงชนิดต่างๆ ประมาณ 16 ชนิด สัตว์นา
                                   ้                               ้
ประเภทปลา เช่น ปลากะพงขาว ปลาเก๋า ปลากระบอก และปลา
นวลจันทร์ทะเล สัตว์นาประเภทหอย ได้แก่ หอยนางรม หอยแมลงภู่
                       ้
หอยแครง และหอยกะพง สัตว์นาประเภทปู จะพบมากชนิด เช่น ปูแสม ปู
                                 ้
ทะเล และปูมา เป็ นต้น
                ้
                  ่
         ในด้านสิงแวดล้อมป่ าชายเลน มีความสาคัญในด้านการอนุรกษ์ั
พื้นที่ชายฝั่ งทะเลโดยเฉพาะช่วยลดภาระนาเสียและยังช่วยทาให้เกิดการ
                                       ้
งอกของแผ่นดินขยายออกไปสู่ทะเลอีกด้วย




                                                         พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26
                                                                           ้
ห่วงโซ่อาหารในระบบนิเวศป่ าชายเลน
ระบบนิเวศวิทยาที่เกิดขึ้นในป่ าชายเลนนัน เป็ นเรืองที่เกียวข้องกับความสัมพันธ์ที่มี
                                           ้      ่      ่
ต่อกันระหว่างสิงมีชวิตกับสิงแวดล้อม พืชพรรณธรรมชาติชนิดต่าง ๆ เมื่อได้รบ
               ่ ี          ่                                                ั
                        ่
แสงจากดวงอาทิตย์ เพือใช้ในการสังเคราะห์แสงจะทาให้เกิดอินทรียวัตถุและการ
เจริญเติบโต กลายเป็ นผูผลิต (producers) ของระบบส่วนต่าง ๆ ของต้นไม้
                          ้
นอกเหนือจากมนุษย์นาไปใช้ประโยชน์จะร่วงหล่นทับถมในนาและในดิน ในที่สดก็จะ
                                                             ้             ุ
กลายเป็ นแร่ธาตุของพวกจุลชีวน เช่น แบคทีเรีย เชื้อรา แพลงก์ตอน ตลอดจน
                                ั
สัตว์เล็ก ๆ หน้าดินที่เรียกกลุ่มนี้ว่า ผูบริโภคของระบบ (detritus consumers)
                                         ้
พวกจุลชีวนเหล่านี้จะเจริญเติบโตกลายเป็ นแหล่งอาหารของสัตว์นาเล็ก ๆ อืน ๆ
           ั                                                      ้      ่
และสัตว์เล็ก ๆ เหล่านี้ จะเจริญเติบโตเป็ นอาหารของพวกกุง ปู และปลาขนาดใหญ่
                                                           ้
ขึ้นตามลาดับของอาหาร (tropic levels)
                                                             พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26
                                                                               ้
นอกจากนี้ ใบไม้ท่ีตกหล่นโคนต้นอาจเป็ นอาหารโดยตรงของสัตว์นา      ้
(litter feeding) ก็ได้ ซึงทังหมดจะเกิดเป็ นห่วงโซ่อาหารขึ้น ในระบบ
                         ่ ้
นิเวศป่ าชายเลน และโดยธรรมชาติแล้วจะมีความสมดุลในตัวของมันเอง
      ้         ่                  ้            ้      ่
แต่ถามีการเปลียนแปลงเกิดขึ้นในขันตอนใดขันตอนหนึงก็จะเป็ นผลทาให้
ระบบความสัมพันธ์น้ ถูกทาลายลง จนเกิดเป็ นผลเสียขึ้นได้ เช่น ถ้าหาก
                     ี
พื้นที่ป่าชายเลนถูกบุกรุกทาลาย จานวนสัตว์นาก็จะลดลงตามไปด้วย
                                              ้
ตลอดจนอาจเกิดการเน่าเสียของนา    ้




                                                    พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26
                                                                      ้
ประเภทของป่ าชายเลน
                         ป่ าชายเลนสามารถแบ่งได้ 4 ชนิด
            1.Basin forest เป็ นป่ าชายเลนที่มี พบติดกับแผ่นดินใหญ่ตามลานา    ้
และได้อทธิพลจากนาทะเลน้อยมากนาทะเลจะท่วมถึงเฉพาะเวลาที่นาทะเลขึ้น
          ิ            ้                ้                          ้
สูงสุด
            2.Riren forest เป็ นป่ าชายเลนที่พบบริเวณชายฝั่ งแม่นาใหญ่ท่ีติดกับ
                                                                 ้
ทะเล ทะเลสาบ มีนาทะเลท่วมถึงทุกวัน
                     ้
            3.Fringe forest เป็ นป่ าชายเลนที่พบบริเวณชายฝั่ งทะเลที่ติดกับ
แผ่นดินหรือรอบเกาะที่เป็ นเกาะใหญ่ นาทะเลท่วมถึงเสมอเป็ นประจาทุกวัน
                                          ้
ยกเว้น ชายฝั่ งทะเลของเกาะใหญ่นาทะเลท่วมถึงเมื่อนาทะเลขึ้นสูงสุด
                                      ้                ้
            4.Overwash forest เป็ นป่ าชายเลนที่พบตามเกาะเล็กๆ เมื่อนาทะเล
                                                                         ้
ขึ้นสูงสุดจะท่วมต้นไม้หมด พรรณไม้ท่ีจะเตี้ยกว่าปกติ มีอตราการเติบโตตา
                                                          ั                 ่

                                                               พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26
                                                                                 ้
ป่ าชายเลนในประเทศไทย
ประเทศไทยมี 22 จังหวัด ที่มีพ้ นที่ป่าชายเลนตามชายฝั่ งทะเลแม่นาลาคลอง ทะเลสาบ
                               ื                               ้
และเกาะต่างๆ ตังแต่ภาคกลางตอนล่าง ภาคตะวันออกตลอดไปจนถึงภาคใต้ทงสองฝั่ ง
                 ้                                                         ้ั
โดยมีพ้ นที่รวม 1,047,390 ไร่ พื้นที่ป่าชายเลนลดลงเนืองจากการบุกรุกพื้นที่ป่าชาย
        ื                                             ่
เลนเพือการเพาะเลี้ยงกุงรวมทังการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ป่าชายเลนเพือกิจกรรมอืน
      ่               ้     ้                                    ่            ่
เช่น การทาเหมืองแร่ การทานาเกลือ การทาเกษตรกรรม การขยายชุมชนการสร้างท่า
เทียบเรือ การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้ า การสร้างโรงงานอุตสาหกรรมและการขุด
ลอกร่องนา ้
                         พันธุ์ไม้ป่าชายเลนในประเทศไทย
1. โกงกางใบใหญ่ 2. โกงกางใบเล็ก                   ่         ่
                                             3. ถัวดา 4. ถัวขาว      5. พังกาหัว
สุมดอกแดง 6. โปรงขาว 7. โปรงแดง 8. ตะบูนดา 9. ตะบูนขาว 10. แสม
ขาว 11. แสมทะเล 12. ลาพู 13. ลาพูทะเล 14. ตาตุ่มทะเล 15. เหงือกปลาหมอ

                                                              พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26
                                                                                ้
ประโยชน์ของป่ าชายเลน
เป็ นแหล่งพลังงานและอาหาร เป็ นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์ตามธรรมชาติ
เป็ นเครืองปองกันแนวชายฝั่ งทะเล ควบคุมการกัดเซาะพังทลาย เพือซับนาเสีย
         ่ ้                                                       ่     ้
เป็ นแนวกาบังกระแสนาเชียวที่ปากแม่นาและพายุหมุน เป็ นแหล่งวัตถุดบ
                       ้ ่               ้                             ิ
ผลิตภัณฑ์จากไม้เป็ นแหล่งเชื้อเพลิง เป็ นแหล่งวัสดุก่อสร้าง เป็ นแหล่งวัตถุดบ ิ
  ่                                             ่ ่
สิงทอและหนังสัตว์ เป็ นแหล่งอาหาร ยา และเครืองดืม การผลิตกรดจาก
เปลือกไม้ (tannin) การทาเหมือนแร่ดบกในบริเวณป่ าชายเลน ให้ผลผลิตนา
                                        ี ุ                                 ้
เย็นในระบบหล่อเย็นของโรงไฟฟ้ าและโรงงานอุตสาหกรรม ให้ผลผลิตเกลือ
ให้ผลผลิตมวลชีวภาพ (biomass) แก่แหล่งประมง(ก) แหล่งประมงใกล้
ชายฝั่ ง (ข) เป็ นแหล่งพักอาศัยของลูกปลาและลูกกุง ให้ผลผลิตมวลชีวภาพ
                                                    ้
สาหรับการเลี้ยงหอยแมลงภู่และปลา

                                                               พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26
                                                                                 ้
จัดทำโดย
นำงสำว พรทิพย์ กลิ่นธูป เลขที่ 26
       ชันมัธยมศึกษำปี ที่ 4/7
         ้
                เสนอ
      อำจำรย์ อำรีย์ บุญรักษำ
    โรงเรียนจอมสุรำงค์อุปถัมภ์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
siwimon12090noonuch
 
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
Alatreon Deathqz
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
Kittayaporn Changpan
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจ
sisirada
 

Was ist angesagt? (15)

การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ป่าไม้
ป่าไม้ป่าไม้
ป่าไม้
 
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
Type of forest
Type of forestType of forest
Type of forest
 
ว30103
ว30103ว30103
ว30103
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
For
ForFor
For
 
2ถิ่นกำเนิด
2ถิ่นกำเนิด2ถิ่นกำเนิด
2ถิ่นกำเนิด
 
ปกใน
ปกในปกใน
ปกใน
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจ
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 

Ähnlich wie โครงการปลูกป่าชายเลน1

รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
pangminpm
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
tipfylovely
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
pang_patpp
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
savokclash
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
LookNam Intira
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Jira Boonjira
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
Ausa Suradech
 

Ähnlich wie โครงการปลูกป่าชายเลน1 (20)

หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 
ต้นกก
ต้นกกต้นกก
ต้นกก
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
Biomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timberBiomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timber
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
032147
032147032147
032147
 
032147
032147032147
032147
 
032147 2
032147 2032147 2
032147 2
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 

โครงการปลูกป่าชายเลน1

  • 1. โครงการปลูกป่ าชายเลน ่ “พระราชดารัส”…ความจริงเรืองการพิทกษ์รกษาป่ าชายเลนทุกอย่าง ั ั ่ ทาไปเพือประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติ ก็คอประโยชน์สวนรวมของ ื ่ คนไทยทังชาตินนเอง การที่มีป่า ก็หมายถึงว่าเรายังมีนาใต้ดนเพราะป่ า ้ ่ั ้ ิ ก็คอแหล่งนานันเอง และการที่มีป่าชายเลนก็เช่นเดียวกัน ป่ าชายเลนก็ ื ้ ่ เป็ นป่ าที่สตว์นาเล็ก ๆ ในระยะเริมต้นชีวิตเขาได้มาอาศัยอยู่เติบโต และ ั ้ ่ ่ ต่อมาก็ได้เป็ นอาหารของพวกเราทังหลายนันเอง... ้ พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26 ้
  • 2. ป่ าชายเลน ป่ าชายเลน หรือป่ าโกงกาง (Mangrove forest หรือ Intertidal forest) ่ ้ ่ คือกลุ่มของสังคมพืชซึงขึ้นอยู่ในเขตนาลงตาสุด และนาขึ้นสูงสุดบริเวณ ้ ชายฝั่ งทะเล ปากแม่นา หรืออ่าว ป่ าชายเลนเป็ นบริเวณที่อยู่อาศัยของ ้ ่ ี สิงมีชวิตหลายชนิด ทังพืชและสัตว์ ป่ าชายเลนจึงให้ประโยชน์แก่มนุษย์ ้ มากมาย ทังในด้านพลังงานและไม้ใช้สอย ตลอดจนเป็ นแหล่งผลิตอาหาร ้ โปรตีนที่สาคัญ เนืองจากป่ าชายเลนเป็ นที่วางไข่ แหล่งอาหาร และ ่ เจริญเติบโตของสัตว์นาเศรษฐกิจนานาชนิด ้ พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26 ้
  • 3. นอกจากนี้ ป่ าชายเลนยังช่วยปองกันภัยธรรมชาติ โดยเฉพาะเป็ น ้ เกราะกาบังและลดความรุนแรง ของคลืนลมชายฝั่ ง ช่วยดักตะกอนสิง ่ ่ ปฏิกูล และสารพิษต่างๆ มิให้ไหลลงไปสะสมในบริเวณชายฝั่ งและใน ทะเล ในปั จจุบนมีปัญหาหลายประการ ได้แก่ การเพาะเลี้ยงชายฝั่ ง ั แหล่งชุมชน แหล่งอุตสาหกรรม การเกษตรกรรม และกิจกรรมอืนอีก ่ หลายประเภทได้ขยายไปสู่ชายฝั่ งทะเล โดยเฉพาะในพื้นที่ป่าชายเลน จนทาให้ป่าชายเลนลดลงอย่างรวดเร็วและรุนแรงจนน่าเป็ นห่วง พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26 ้
  • 4. ป่ าชายเลนเป็ นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีความสาคัญอย่างยิง ทังใน ่ ้ ่ ด้านการป่ าไม้ การประมง และสิงแวดล้อม เช่น ในด้านป่ าไม้ ไม้จากป่ า ชายเลนโดยเฉพาะไม้โกงกางนามาทาฟื น เผาถ่าน ให้ถ่านที่มีคุณภาพดี ่ ่ ไม้ป่าชายเลนอีกหลายชนิดนาไปทาสิงก่อสร้าง เฟอร์นเิ จอร์ และกลัน เอกสารเคมีท่ีเป็ นประโยชน์ เช่น แทนนิน แอลกอฮอล์ กรดนาส้ม และ ้ นามันดิน ้ พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26 ้
  • 5. ในด้านการประมงป่ าชายเลนเป็ นแหล่งขยายพันธุ์ และที่อยู่อาศัยของสัตว์ นานาชนิด เช่น กุง อันได้แก่ กุงกุลาดา กุงแชบ๊วย โดยมีคนศึกษาพบว่า ้ ้ ้ บริเวณป่ าชายเลนประเทศไทย มีกุงชนิดต่างๆ ประมาณ 16 ชนิด สัตว์นา ้ ้ ประเภทปลา เช่น ปลากะพงขาว ปลาเก๋า ปลากระบอก และปลา นวลจันทร์ทะเล สัตว์นาประเภทหอย ได้แก่ หอยนางรม หอยแมลงภู่ ้ หอยแครง และหอยกะพง สัตว์นาประเภทปู จะพบมากชนิด เช่น ปูแสม ปู ้ ทะเล และปูมา เป็ นต้น ้ ่ ในด้านสิงแวดล้อมป่ าชายเลน มีความสาคัญในด้านการอนุรกษ์ั พื้นที่ชายฝั่ งทะเลโดยเฉพาะช่วยลดภาระนาเสียและยังช่วยทาให้เกิดการ ้ งอกของแผ่นดินขยายออกไปสู่ทะเลอีกด้วย พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26 ้
  • 6. ห่วงโซ่อาหารในระบบนิเวศป่ าชายเลน ระบบนิเวศวิทยาที่เกิดขึ้นในป่ าชายเลนนัน เป็ นเรืองที่เกียวข้องกับความสัมพันธ์ที่มี ้ ่ ่ ต่อกันระหว่างสิงมีชวิตกับสิงแวดล้อม พืชพรรณธรรมชาติชนิดต่าง ๆ เมื่อได้รบ ่ ี ่ ั ่ แสงจากดวงอาทิตย์ เพือใช้ในการสังเคราะห์แสงจะทาให้เกิดอินทรียวัตถุและการ เจริญเติบโต กลายเป็ นผูผลิต (producers) ของระบบส่วนต่าง ๆ ของต้นไม้ ้ นอกเหนือจากมนุษย์นาไปใช้ประโยชน์จะร่วงหล่นทับถมในนาและในดิน ในที่สดก็จะ ้ ุ กลายเป็ นแร่ธาตุของพวกจุลชีวน เช่น แบคทีเรีย เชื้อรา แพลงก์ตอน ตลอดจน ั สัตว์เล็ก ๆ หน้าดินที่เรียกกลุ่มนี้ว่า ผูบริโภคของระบบ (detritus consumers) ้ พวกจุลชีวนเหล่านี้จะเจริญเติบโตกลายเป็ นแหล่งอาหารของสัตว์นาเล็ก ๆ อืน ๆ ั ้ ่ และสัตว์เล็ก ๆ เหล่านี้ จะเจริญเติบโตเป็ นอาหารของพวกกุง ปู และปลาขนาดใหญ่ ้ ขึ้นตามลาดับของอาหาร (tropic levels) พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26 ้
  • 7. นอกจากนี้ ใบไม้ท่ีตกหล่นโคนต้นอาจเป็ นอาหารโดยตรงของสัตว์นา ้ (litter feeding) ก็ได้ ซึงทังหมดจะเกิดเป็ นห่วงโซ่อาหารขึ้น ในระบบ ่ ้ นิเวศป่ าชายเลน และโดยธรรมชาติแล้วจะมีความสมดุลในตัวของมันเอง ้ ่ ้ ้ ่ แต่ถามีการเปลียนแปลงเกิดขึ้นในขันตอนใดขันตอนหนึงก็จะเป็ นผลทาให้ ระบบความสัมพันธ์น้ ถูกทาลายลง จนเกิดเป็ นผลเสียขึ้นได้ เช่น ถ้าหาก ี พื้นที่ป่าชายเลนถูกบุกรุกทาลาย จานวนสัตว์นาก็จะลดลงตามไปด้วย ้ ตลอดจนอาจเกิดการเน่าเสียของนา ้ พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26 ้
  • 8. ประเภทของป่ าชายเลน ป่ าชายเลนสามารถแบ่งได้ 4 ชนิด 1.Basin forest เป็ นป่ าชายเลนที่มี พบติดกับแผ่นดินใหญ่ตามลานา ้ และได้อทธิพลจากนาทะเลน้อยมากนาทะเลจะท่วมถึงเฉพาะเวลาที่นาทะเลขึ้น ิ ้ ้ ้ สูงสุด 2.Riren forest เป็ นป่ าชายเลนที่พบบริเวณชายฝั่ งแม่นาใหญ่ท่ีติดกับ ้ ทะเล ทะเลสาบ มีนาทะเลท่วมถึงทุกวัน ้ 3.Fringe forest เป็ นป่ าชายเลนที่พบบริเวณชายฝั่ งทะเลที่ติดกับ แผ่นดินหรือรอบเกาะที่เป็ นเกาะใหญ่ นาทะเลท่วมถึงเสมอเป็ นประจาทุกวัน ้ ยกเว้น ชายฝั่ งทะเลของเกาะใหญ่นาทะเลท่วมถึงเมื่อนาทะเลขึ้นสูงสุด ้ ้ 4.Overwash forest เป็ นป่ าชายเลนที่พบตามเกาะเล็กๆ เมื่อนาทะเล ้ ขึ้นสูงสุดจะท่วมต้นไม้หมด พรรณไม้ท่ีจะเตี้ยกว่าปกติ มีอตราการเติบโตตา ั ่ พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26 ้
  • 9. ป่ าชายเลนในประเทศไทย ประเทศไทยมี 22 จังหวัด ที่มีพ้ นที่ป่าชายเลนตามชายฝั่ งทะเลแม่นาลาคลอง ทะเลสาบ ื ้ และเกาะต่างๆ ตังแต่ภาคกลางตอนล่าง ภาคตะวันออกตลอดไปจนถึงภาคใต้ทงสองฝั่ ง ้ ้ั โดยมีพ้ นที่รวม 1,047,390 ไร่ พื้นที่ป่าชายเลนลดลงเนืองจากการบุกรุกพื้นที่ป่าชาย ื ่ เลนเพือการเพาะเลี้ยงกุงรวมทังการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ป่าชายเลนเพือกิจกรรมอืน ่ ้ ้ ่ ่ เช่น การทาเหมืองแร่ การทานาเกลือ การทาเกษตรกรรม การขยายชุมชนการสร้างท่า เทียบเรือ การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้ า การสร้างโรงงานอุตสาหกรรมและการขุด ลอกร่องนา ้ พันธุ์ไม้ป่าชายเลนในประเทศไทย 1. โกงกางใบใหญ่ 2. โกงกางใบเล็ก ่ ่ 3. ถัวดา 4. ถัวขาว 5. พังกาหัว สุมดอกแดง 6. โปรงขาว 7. โปรงแดง 8. ตะบูนดา 9. ตะบูนขาว 10. แสม ขาว 11. แสมทะเล 12. ลาพู 13. ลาพูทะเล 14. ตาตุ่มทะเล 15. เหงือกปลาหมอ พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26 ้
  • 10. ประโยชน์ของป่ าชายเลน เป็ นแหล่งพลังงานและอาหาร เป็ นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์ตามธรรมชาติ เป็ นเครืองปองกันแนวชายฝั่ งทะเล ควบคุมการกัดเซาะพังทลาย เพือซับนาเสีย ่ ้ ่ ้ เป็ นแนวกาบังกระแสนาเชียวที่ปากแม่นาและพายุหมุน เป็ นแหล่งวัตถุดบ ้ ่ ้ ิ ผลิตภัณฑ์จากไม้เป็ นแหล่งเชื้อเพลิง เป็ นแหล่งวัสดุก่อสร้าง เป็ นแหล่งวัตถุดบ ิ ่ ่ ่ สิงทอและหนังสัตว์ เป็ นแหล่งอาหาร ยา และเครืองดืม การผลิตกรดจาก เปลือกไม้ (tannin) การทาเหมือนแร่ดบกในบริเวณป่ าชายเลน ให้ผลผลิตนา ี ุ ้ เย็นในระบบหล่อเย็นของโรงไฟฟ้ าและโรงงานอุตสาหกรรม ให้ผลผลิตเกลือ ให้ผลผลิตมวลชีวภาพ (biomass) แก่แหล่งประมง(ก) แหล่งประมงใกล้ ชายฝั่ ง (ข) เป็ นแหล่งพักอาศัยของลูกปลาและลูกกุง ให้ผลผลิตมวลชีวภาพ ้ สาหรับการเลี้ยงหอยแมลงภู่และปลา พรทิพย์ กล่นธูป ชันม.4/7 เลขที่ 26 ้
  • 11. จัดทำโดย นำงสำว พรทิพย์ กลิ่นธูป เลขที่ 26 ชันมัธยมศึกษำปี ที่ 4/7 ้ เสนอ อำจำรย์ อำรีย์ บุญรักษำ โรงเรียนจอมสุรำงค์อุปถัมภ์