SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 232
Downloaden Sie, um offline zu lesen
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ๖
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เล่ม ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
จัดทำ�โดย
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 978-616-317-142-9
พิมพ์ครั้งที่สอง ๓,๐๐๐ เล่ม
พ.ศ. ๒๕๕๖
องค์การค้าของ สกสค. จัดพิมพ์จำ�หน่าย
พิมพ์ที่โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว
๒๒๔๙ ถนนลาดพร้าว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
ประกาศสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เรื่อง อนุญาตให้ใช้ส่ือการเรียนรู้ในสถานศึกษา
	 ด้วยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดทำ�คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เล่ม ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้พิจารณาแล้ว
อนุญาตให้ใช้ในสถานศึกษาได้
		 	 ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
	 (นายชินภัทร ภูมิรัตน)
	 เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คำ�นำ�
	 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้รับมอบหมายจากกระทรวงศึกษาธิการ
ให้พัฒนาหลักสูตร หนังสือเรียน คู่มือครู และสื่ออื่นๆ ที่ใช้ประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรูู้้
วิทยาศาสตร์ เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนและวิธีการเรียนรู้ ให้เป็นไปตามหลักการและจุดหมายของ
หลักสูตร
	 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เล่ม ๒ นี้ จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัด  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกอบด้วยเนื้อหาความรู้ที่เป็นหลักการพื้นฐานที่จำ�เป็น มีกิจกรรมการเรียนรู้
ที่หลากหลายส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถสรุปผลได้องค์ความรู้ที่ผ่านการสำ�รวจ
ตรวจสอบอย่างรอบคอบ มีข้อมูลอ้างอิงที่ทันสมัย ถูกต้อง
	 สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือครูเล่มนี้จะเป็นประโยชน์
ต่อการจัดการเรียนรู้ และเป็นส่วนสำ�คัญในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษากลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ขอขอบคุณสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนบุคคล
และหน่วยงานอื่นๆที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำ�ไว้ ณ โอกาสนี้
(นายชินภัทร ภูมิรัตน)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๔
(นางพรพรรณ ไวทยางกูร)	
	 ผู้อำ�นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
	 กระทรวงศึกษาธิการ
คำ�ชี้แจง
	สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้รับมอบหมายจากกระทรวงศึกษาธิการ
ให้ดำ�เนินการจัดทำ�หนังสือเรียนและคู่มือครูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ และรายวิชาเพิ่มเติม โดยเฉพาะ
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เล่ม ๒ นี้ เป็นการพัฒนาเนื้อหาที่เน้นองค์ความรู้เกี่ยวกับ
ปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากโลกหมุนรอบตัวเอง โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์และในระบบโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์
ดวงดาวบนท้องฟ้า เทคโนโลยีอวกาศ ระบบนิเวศ มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม และการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ทั้งนี้เพื่อเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์จึงได้กำ�หนดเป็นเป้าหมายสำ�หรับนักเรียนทุกคนที่จะได้รับ
การพัฒนาทั้งด้านกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการคิด การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร
การตัดสินใจ การนำ�ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้งต่อตนเอง ต่อสังคมและต่อประเทศ ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์
คุณธรรมและค่านิยมที่ถูกต้องเหมาะสม
	คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เล่ม ๒ นี้ สสวท. ได้พัฒนาขึ้นเพื่อนำ�ไปใช้
เป็นคู่มือครูคู่กับหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เล่ม ๒ ภายในคู่มือครูประกอบด้วย
โครงสร้างหลักสูตร แนวความคิดต่อเนื่อง แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาในหนังสือเรียน ซึ่งจะ
เป็นตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมให้นักเรียนได้มีทักษะการคิด
วิเคราะห์และสามารถสรุปผลได้องค์ความรู้ที่ผ่านการสำ�รวจตรวจสอบอย่างรอบคอบ มีข้อมูลอ้างอิงที่ทันสมัย
ถูกต้อง ในการจัดทำ�คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ๖ เล่มนี้ ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจาก ผู้ทรงคุณวุฒิ
นักวิชาการอิสระ นักวิชาการ คณาจารย์ และครูผู้สอนจากสถาบันการศึกษาต่างๆ จึงขอขอบคุณไว้ ณ ที่นี้
	สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ๖ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ครูผู้สอน
ซึ่งช่วยให้การจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หากมีข้อเสนอแนะใดที่จะทำ�ให้คู่มือครู
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ๖ เล่มนี้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น โปรดแจ้ง สสวท. ทราบด้วย จักขอบคุณยิ่ง
สารบัญ
ข้อแนะนำ�การใช้คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ..........................................  1 ก
ส่วนประกอบของคู่มือครู ............................................................................................ .	  2 ก
เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์ ..........................................................................................	  8 ก
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ .......................................................................................	  9 ก
คุณภาพของผู้เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ...................................................................... 11 ก
โครงสร้างหลักสูตร ....................................................................................................12 ก
คำ�อธิบายรายวิชา สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์..................................................................13 ก
หน่วยการเรียนรู้ .......................................................................................................14 ก
ตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้และแนวความคิดต่อเนื่อง.................................................................16 ก
บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ....................................................................................	1
1.1	​ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกหมุนรอบตัวเอง.................................................................	3
1.2	 ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์..........................................................	5
1.3 	ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในระบบโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์.........................................	11
1.4 	ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ......................................................................................	25
1.5 	พัฒนาการของแบบจำ�ลองระบบสุริยะ.......................................................................	31
บทที่ 2 ดวงดาวบนท้องฟ้า...........................................................................................	37
2.1 	การบอกตำ�แหน่งของวัตถุท้องฟ้า............................................................................	38
2.2 	กลุ่มดาว..........................................................................................................	48
บทที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ............................................................................................	61
3.1 	กล้องโทรทรรศน์................................................................................................	62
3.2 	ดาวเทียม และยานอวกาศ​.....................................................................................	72
3.3 	​การใช้ชีวิตในอวกาศ............................................................................................	76
บทที่ 4 ระบบนิเวศ.....................................................................................................	81
4.1 	ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม..................................................................	83
4.2 	การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ..........................................................................	96
4.3 	ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ................................................................	102
4.4 	วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ..................................................................................	106
4.5 	ความหลากหลายทางชีวภาพ..................................................................................	110
4.6 	ประชากร..........................................................................................................	113
บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม........................................................................................	127
5.1 	ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น.....................................................	128
5.2 	การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน.......................................................................​	137
บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม.......................................................................	147
6.1	​ลักษณะทางพันธุกรรม..........................................................................................	149
6.2	 โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน...................................................................................	156
6.3 	กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม................................................................	166
6.4 	ความผิดปกติทางพันธุกรรม...................................................................................	173
6.5 	การใช้ประโยชน์จากความรู้ด้านพันธุศาสตร์................................................................	176
ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่
หนังสือเรียน คู่มือครู
วัสดุอุปกรณ์และสื่อ
1
	 วิทยาศาสตร์ 1	 คู่มือวิทยาศาสตร์ 1
	 วิทยาศาสตร์ 2	 คู่มือวิทยาศาสตร์ 2
2
	 วิทยาศาสตร์ 3	 คู่มือวิทยาศาสตร์ 3
	 วิทยาศาสตร์ 4	 คู่มือวิทยาศาสตร์ 4
3
	 วิทยาศาสตร์ 5	 คู่มือวิทยาศาสตร์ 5
	 วิทยาศาสตร์ 6	 คู่มือวิทยาศาสตร์ 6
วัสดุและอุปกรณ์
วิทยาศาสตร์
พื้นฐาน
สื่อโปสเตอร์
สื่อดิจิทัล
ดังรายการที่ปรากฏอยู่
ท้ายเล่มของคู่มือครูแต่ละเล่ม
ข้อแนะนำ�การใช้คู่มือครูวิทยาศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตามหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ สถานศึกษาควรจัดหาหนังสือเรียน คู่มือครู สื่อ อุปกรณ์ ประกอบการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้
หนังสือเรียนและคู่มือครู วิทยาศาสตร์ 6 สสวท.
1 ก
ส่วนประกอบของคู่มือครู
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ได้นำ�เสนอแนวทางในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไว้ ที่มุ่งเน้นทั้งความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาต่างๆ ตามหนังสือเรียนของ สสวท. มุ่งเน้น
กระบวนการคิดวิเคราะห์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนเทคนิควิธีสอนในรูปแบบต่างๆ
ไว้หลากหลายกิจกรรม เพื่อเป็นแนวทางให้กับครูผู้สอนในการนำ�ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในชั้นเรียน
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถเชื่อมโยงความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ สัมพันธ์กับองค์กรความรู้ที่ผ่าน ให้เห็น
ความสำ�คัญ คุณค่า และการนำ�ความรู้ และทักษะต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเอง และ
สังคมมากขึ้น ซึ่งภายในคู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้นำ�เสนอส่วนต่างๆ ไว้ ดังนี้
ส่วนที่ 1 แสดงสาระและมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ในส่วนนี้นำ�เสนอเรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคุณภาพของ
ผู้เรียนที่จบระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2 ก
โครงสร้างหลักสูตร
ส่วนที่ 2 แสดงโครงสร้างหลักสูตร
ในส่วนนี้จะนำ�เสนอโครงสร้างหลักสูตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เพื่อให้ครูผู้สอนได้ทราบถึงจำ�นวน
ชั่วโมง จำ�นวนหน่วยกิต ซึ่งได้นำ�เสนอไว้เป็นรายปี แบ่งเป็น 2 ภาคเรียน คำ�อธิบายรายวิชา และหน่วยการเรียนรู้
ของรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและแนวความคิดต่อเนื่อง
ส่วนที่ 3 แสดงแนวความคิดต่อเนื่อง
ในส่วนนี้แสดงให้ครูรู้ว่าในรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีเนื้อหาสาระ
ในบทเรียนที่นำ�เสนอในแต่ละเรื่อง มีลำ�ดับแนวความคิดต่อเนื่องอย่างไร ตรงกับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
แกนกลางใดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
	
3 ก
คู่มือครูหน้า 1
คู่มือครูหน้า 2
ส่วนที่ 4 แสดงข้อแนะนำ�ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเรียงลำ�ดับเนื้อหาตาม
หนังสือเรียนของ สสวท.
ในหน้าแรกของแต่ละบทเรียนจะแสดงจุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา และแนวความคิดหลักของแต่ละ
บทเรียน ดังนี้
ชื่อบทเรียน
เรียงตามลำ�ดับเช่นเดียวกับหนังสือเรียน
จุดประสงค์การเรียนรู้
สอดคล้องกับตัวชี้วัดในหลักสูตรการศึกษา
แกนกลางขั้นพื้นฐาน
เวลา
แสดงเวลารวมแต่ละหัวข้อในแต่ละบทเรียน
แนวความคิดหลัก
เมื่อนักเรียนผ่านกิจกรรมต่างๆ ในแต่ละบทเรียน
แล้ว นักเรียนควรมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาตามแนว
ความคิดหลัก ดังที่นำ�เสนอไว้
4 ก
หัวข้อย่อยในบทเรียน
หัวข้อเดียวกับหนังสือเรียนของ สสวท.
ภาพหนังสือเรียน
ภาพที่คัดจากหนังสือเรียนที่เกี่ยวข้องกับสาระ
ของคู่มือครูในหัวข้อนี้
คำ�สำ�คัญ
แสดงคำ�ที่สำ�คัญของแต่ละหัวข้อย่อย ที่แสดงให้
ครูรู้ว่าเมื่อนักเรียนเรียนจบหัวข้อนั้นแล้ว นักเรียนควร
จะเกิดการเรียนรู้และเข้าใจในคำ�ต่างๆ เหล่านั้น และ
สามารถอธิบายได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
แสดงจุดประสงค์การเรียนรู้ในแต่ละหัวข้อย่อย
เวลา
เวลาที่ใช้ในแต่ละหัวข้อย่อย แสดงไว้โดย
ประมาณ เพื่อเป็นแนวทางเท่านั้น ครูอาจยืดหยุ่นได้
ตามความเหมาะสม
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหัวข้อย่อยจะ
มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ โดยให้นักเรียนเกิดการเรียน
รู้และเข้าใจในเนื้อหาสาระวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ด้วย
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบ สามารถ
สรุปองค์ความรู้ได้จากการสำ�รวจตรวจสอบ การทดลอง
การวิเคราะห์ข้อมูล สามารถขยายความรู้และเชื่อมโยง
ความรู้ในสถานการณ์ใหม่ๆ ได้ ทั้งนี้ เพื่อให้นักเรียน
ได้รับองค์ความรู้และสร้างลักษณะนิสัยที่สำ�คัญของ
นักวิทยาศาสตร์ให้เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียนอย่างยั่งยืน
คู่มือครูหน้า 102
5 ก
คู่มือครูหน้า 53
คู่มือครูหน้า 54
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ในคู่มือครูจะนำ�เสนอตาม
บทเรียนเป็นลำ�ดับ เช่น กิจกรรม 2.3 หมายถึง กิจกรรม
ของบทที่ 2 ลำ�ดับที่ 3 ชื่อของกิจกรรมในคู่มือครูจะตรง
กับชื่อของกิจกรรมในหนังสือเรียน
จุดประสงค์ของกิจกรรม
เป็นการนำ�เสนอให้ครูทราบว่าเมื่อนักเรียนทำ�
กิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนควรจะมีความรู้ความสามารถ
อย่างไรบ้าง
วัสดุ อุปกรณ์
แต่ละกิจกรรมจะถูกกำ�หนดไว้ เพื่อครูจะได้จัด
เตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง ในที่นี้แสดงรายการ
สื่ออุปกรณ์ไว้เป็นจำ�นวนต่อ 1 กลุ่มของนักเรียนที่มี
ประมาณ 5 - 6 คน ซึ่งครูผู้สอนอาจประยุกต์ใช้สื่อ
อุปกรณ์ตามความเหมาะสม
อภิปรายก่อนการทำ�กิจกรรม
เป็นการนำ�เสนอวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ การทำ�
กิจกรรม ข้อจำ�กัดของการทำ�กิจกรรม รวมทั้ง ทำ�ความ
เข้าใจเกี่ยวกับภาระงานที่สำ�คัญของกิจกรรมนั้นๆ
ตัวอย่างผลการทำ�กิจกรรม
เป็นการนำ�เสนอตัวอย่างของผลการทำ�กิจกรรม
เพื่อให้ครูเห็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ครูไม่ควรบอกผลการจัดกิจกรรมให้นักเรียนทราบ
ควรเน้นให้นักเรียนค้นหาความรู้ด้วยตนเองจากการ
ทำ�กิจกรรม ผลที่ได้รับอาจไม่ตรงกับตัวอย่างที่ให้ไว้
หรืออาจไม่ถูกต้อง แต่ควรเน้นให้นักเรียนหาเหตุผลมา
อภิปราย หรือหาข้อผิดพลาดจากการทำ�กิจกรรมนั้นๆ
เพื่อหาแนวทางปรับปรุงหรือแก้ไขต่อไป
6 ก
คู่มือครูหน้า 26
คู่มือครูหน้า 21
คู่มือครูหน้า 32
อภิปรายหลังทำ�กิจกรรม
นำ�เสนอตัวอย่างการอภิปรายผลที่ได้จากการ
ทำ�กิจกรรม และตัวอย่างการนำ�ผลที่ได้จากการทำ�
กิจกรรมมาสรุปเป็นองค์ความรู้ใหม่อย่างเป็นลำ�ดับ
ขั้นตอนทางการคิดวิเคราะห์ โดยใช้แนวคำ�ถามท้าย
กิจกรรมเป็นแนวทาง
คำ�ถามหลังการทดลองหรือหลังการทำ�กิจกรรม
เป็นคำ�ถามนำ�เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิด
วิเคราะห์ นำ�ไปสู่การอภิปรายและลงข้อสรุปเป็น
องค์ความรู้ใหม่ตามแนวความคิดหลักที่นำ�เสนอไว้
ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู
ในส่วนนี้เป็นการนำ�เสนอความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับ
ครู นอกเหนือจากหนังสือเรียนเพื่อให้ครูมีความรู้ความ
เข้าใจและทบทวนในเนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาสาระ
ส่วนนี้ครูไม่ควรนำ�ไปประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน
เฉลยคำ�ถามในหนังสือเรียน
นำ�เสนอแนวทางการตอบคำ�ถามที่มีอยู่ในหนังสือ
เรียนในหัวข้อนั้นๆ
7 ก
เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้
กับกระบวนการ มีทักษะสำ�คัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และ
การแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทำ�กิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริง
อย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้กำ�หนดสาระสำ�คัญไว้ ดังนี้
	 •	 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำ�รงชีวิต สิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและหน้าที่ของระบบ
ต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต และกระบวนการดำ�รงชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การทำ�งานของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และเทคโนโลยี
ชีวภาพ
	 •	 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ความ
สัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ ความสำ�คัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้และจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก ปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตในสภาพ
แวดล้อมต่างๆ
	 •	 สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การเปลี่ยนสถานะ
การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร
	 •	 แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์ การออกแรงกระทำ�
ต่อวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ในชีวิตประจำ�วัน
	 •	 พลังงาน พลังงานกับการดำ�รงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์ของแสง เสียง
และวงจรไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสาร
และพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
	 •	 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ทรัพยากรทางธรณี สมบัติ
ทางกายภาพของดิน หิน น้ำ� อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของ
เปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ
	 •	 ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพันธ์และผลต่อสิ่งมีชีวิต
บนโลก ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ความสำ�คัญของเทคโนโลยีอวกาศ
	 •	 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้
การแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์
8 ก
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำ�รงชีวิต
	 มาตรฐาน ว 1.1 	 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบ
ต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำ�งานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสาร
สิ่งที่เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ในการดำ�รงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
	 มาตรฐาน ว 1.2 	 เข้าใจกระบวนการและความสำ�คัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
ที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยา
ศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
	 มาตรฐาน ว 2.1 	 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้
และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
	 มาตรฐาน ว 2.2 	 เข้าใจความสำ�คัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น
ประเทศ และโลก นำ�ความรู้ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
	 มาตรฐาน ว 3.1 	 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
	 มาตรฐาน ว 3.2 	 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย
การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้ และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
	 มาตรฐาน ว 4.1 	 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้อง
และมีคุณธรรม
	 มาตรฐาน ว 4.2	 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะ
หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
9 ก
สาระที่ 5 พลังงาน
	 มาตรฐาน ว 5.1 	 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำ�รงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
	 มาตรฐาน ว 6.1 	 เข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ
กระบวนการต่างๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของ
โลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ�
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
	 มาตรฐาน ว 7.1 	 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ
และผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
	 มาตรฐาน ว 7.2 	 เข้าใจความสำ�คัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นำ�มาใช้ในการสำ�รวจอวกาศและ
ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้
และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรม
ต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
	 มาตรฐาน ว 8.1 	 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้
การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน
สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ
เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
10 ก
คุณภาพของผู้เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
	 •	 เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สำ�คัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทำ�งานของระบบต่างๆ
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมและ
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม
	 •	 เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบริสุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการ
เปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
	 •	 เข้าใจแรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ในชีวิตประจำ�วัน กฎการอนุรักษ์พลังงาน
การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเหและความเข้มของแสง
	 •	 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางไฟฟ้า หลักการต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน พลังงานไฟฟ้าและ
หลักการเบื้องต้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส์
	 •	 เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่งทรัพยากรธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ของบรรยากาศ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลที่มีต่อสิ่งต่างๆ บนโลก ความสำ�คัญ
ของเทคโนโลยีอวกาศ
	 •	 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี การพัฒนาและผลของการพัฒนาเทคโนโลยี
ต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
	 •	 ตั้งคำ�ถามที่มีการกำ�หนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำ�ตอบหลายแนวทาง วางแผนและลงมือ
สำ�รวจตรวจสอบ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล และสร้างองค์ความรู้
	 •	 สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสำ�รวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรือใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
	 •	 ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำ�รงชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม
ทำ�โครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
	 •	 แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้โดยใช้เครื่องมือ
และวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้
	 •	 ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันและการประกอบอาชีพ
แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น
	 •	 แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า มีส่วนร่วมในการพิทักษ์ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
	 •	 ทำ�งานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
11 ก
โครงสร้างหลักสูตร
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
.............................................................................................
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รวม 360 ชั่วโมง จำ�นวน 9 หน่วยกิต จัดเป็นรายปี ดังนี้
1.	สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
		 ภาคเรียนที่ 1 วิทยาศาสตร์ 1 รวม 60 ชั่วโมง จำ�นวน 1.5 หน่วยกิต (3 ชั่วโมง/สัปดาห์)
		 ภาคเรียนที่ 2 วิทยาศาสตร์ 2 รวม 60 ชั่วโมง จำ�นวน 1.5 หน่วยกิต (3 ชั่วโมง/สัปดาห์)
2.	สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
		 ภาคเรียนที่ 1 วิทยาศาสตร์ 3 รวม 60 ชั่วโมง จำ�นวน 1.5 หน่วยกิต (3 ชั่วโมง/สัปดาห์)
		 ภาคเรียนที่ 2 วิทยาศาสตร์ 4 รวม 60 ชั่วโมง จำ�นวน 1.5 หน่วยกิต (3 ชั่วโมง/สัปดาห์)
3.	สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
		 ภาคเรียนที่ 1 วิทยาศาสตร์ 5 รวม 60 ชั่วโมง จำ�นวน 1.5 หน่วยกิต (3 ชั่วโมง/สัปดาห์)
		 ภาคเรียนที่ 2 วิทยาศาสตร์ 6 รวม 60 ชั่วโมง จำ�นวน 1.5 หน่วยกิต (3 ชั่วโมง/สัปดาห์)
12 ก
คำ�อธิบายรายวิชา วิทยาศาสตร์ ๖
รายวิชาพื้นฐาน  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ 			 เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------
	ศึกษา วิเคราะห์ ระบบสุริยะ ความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
กลุ่มดาวฤกษ์ กาแล็กซีและเอกภพ เทคโนโลยีอวกาศ กล้องโทรทรรศน์ ดาวเทียม ยานอวกาศ ลักษณะของ
โครโมโซม ความสำ�คัญของสารพันธุกรรม กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โรคทางพันธุกรรม การใช้
ประโยชน์จากความรู้ด้านพันธุศาสตร์ องค์ประกอบของระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิต สมดุลของ
ระบบนิเวศ วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ ประชากร ความหลากหลายทางชีวภาพ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย
ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำ�รวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำ�ความรู้ไป
ใช้ในชีวิตประจำ�วัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
รหัสตัวชี้วัด
ว ๑.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ว ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔
ว ๒.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ว ๗.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓
ว ๗.๒ ม.๓/๑
รวมทั้งหมด...๒๗... ตัวชี้วัด
13 ก
หน่วยการเรียนรู้
รายวิชา วิทยาศาสตร์ 6 							 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ : 6 หน่วย 							 เวลา 60 ชั่วโมง
หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง)
1
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
- ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกหมุนรอบตัวเอง
- ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
- ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในระบบโลก ดวงจันทร์และ
ดวงอาทิตย์
- ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
- พัฒนาการของแบบจำ�ลองระบบสุริยะ
10 ชั่วโมง
2
ดวงดาวบนท้องฟ้า
- การบอกตำ�แหน่งของวัตถุท้องฟ้า
- กลุ่มดาว
6 ชั่วโมง
3
เทคโนโลยีอวกาศ
- กล้องโทรทรรศน์
- ดาวเทียมและยานอวกาศ
- การใช้ชีวิตในอวกาศ
4 ชั่วโมง
4
ระบบนิเวศ
- ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
- การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
- ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
- วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
- ความหลากหลายทางชีวภาพ
- ประชากร
14 ชั่วโมง
14 ก
หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง)
5
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
- ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
- การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
8 ชั่วโมง
6
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
- ลักษณะทางพันธุกรรม
- โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน
- กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
- ความผิดปกติทางพันธุกรรม
- การใช้ประโยชน์จากความรู้ด้านพันธุศาสตร์
18 ชั่วโมง
15 ก
ตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้และแนวความคิดต่อเนื่อง
หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์6ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3เล่ม2
บทเรื่องตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้แกนกลางแนวความคิดต่อเนื่อง
1.ปฏิสัมพันธ์
ในระบบสุริยะ
1.1ปรากฏการณ์
ที่เกิดจากโลก
หมุนรอบ
ตัวเอง
1.2ปรากฏการณ์
ที่เกิดจากโลก
โคจรรอบ
ดวงอาทิตย์
1.3ปรากฏการณ์
ที่เกิดขึ้นในระบบ
โลก
ดวงจันทร์และ
ดวงอาทิตย์
1.4ดาวเคราะห์
ในระบบสุริยะ
1.5พัฒนาการ
ของแบบจำ�ลอง
ระบบสุริยะ
-สืบค้นและอธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่าง
ดวงอาทิตย์โลก
ดวงจันทร์และดาวเคราะห์
อื่นๆและผลที่เกิดขึ้นต่อ
สิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิต
บนโลก
-ดวงอาทิตย์โลกและดวงจันทร์อยู่เป็นระบบ
ได้ภายใต้แรงโน้มถ่วง
-แรงโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ท�ำให้
ดวงจันทร์โคจรรอบโลกแรงโน้มถ่วงระหว่าง
ดวงอาทิตย์กับบริวารท�ำให้บริวารเคลื่อนรอบ
ดวงอาทิตย์กลายเป็นระบบสุริยะ
-แรงโน้มถ่วงที่ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์กระท�ำ
ต่อโลกท�ำให้เกิดปรากฏการณ์น�้ำขึ้นน�้ำลง
ซึ่งส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลก
1.โลกหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก
ท�ำให้คนบนโลกสังเกตเห็นดวงอาทิตย์และดวงดาว
ต่างๆเคลื่อนที่ปรากฏจากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก
2.การที่โลกหมุนรอบตัวเองท�ำให้เกิดทิศกลางวัน
และกลางคืน
3.เมื่อเราขยายขอบเขตของโลกไปในอวกาศจะได้
ทรงกลมสมมติครอบโลกอยู่เรียกว่าทรงกลมฟ้า
4.โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์จากทิศตะวันตกไปทิศตะวัน
ออกโดยโคจรในลักษณะแกนโลกเอียงท�ำมุมประมาณ
23.5องศาจากแนวตั้งฉากกับระนาบที่โลกโคจรรอบ
ดวงอาทิตย์
5.การที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ท�ำให้เกิดฤดูการ
เปลี่ยนต�ำแหน่งขึ้นตกของดวงอาทิตย์ในรอบปี
6.ปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
ท�ำให้เกิดข้างขึ้นข้างแรมน�้ำขึ้นน�้ำลงอุปราคา
7.ข้างขึ้นข้างแรมเป็นปรากฏการณ์ที่เห็นดวงจันทร์มี
เสี้ยวสว่างแตกต่างกันไปในแต่ละคืน
8.น�้ำขึ้นน�้ำลงเป็นผลมาจากแรงน�้ำขึ้นน�้ำลงหรือ
แรงไทดัล
9.วันที่น�้ำทะเลมีการขึ้นและลงสูงสุดเรียกว่าวันน�้ำเกิด
ส่วนวันที่ระดับน�้ำทะเลมีการขึ้นและลงน้อยเรียกว่าวัน
น�้ำตาย
16 ก
บทเรื่องตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้แกนกลางแนวความคิดต่อเนื่อง
10.อุปราคาเกิดจากการที่โลกดวงจันทร์ดวงอาทิตย์
โคจรอยู่ในแนวเดียวกัน
11.ระนาบการโคจรของดวงจันทร์รอบโลกและระนาบ
ที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์เอียงทำ�มุมกันประมาณ
5องศาจึงไม่เกิดอุปราคาทุกเดือน
2.ดวงดาว
บนท้องฟ้า
2.1การบอก
ตำ�แหน่งของ
วัตถุท้องฟ้า
2.2กลุ่มดาว
-ระบุตำ�แหน่งของกลุ่ม
ดาวและนำ�ความรู้ไปใช้
ประโยชน์
-สืบค้นและอธิบาย
องค์ประกอบของเอกภพ
กาแล็กซีและระบบ
สุริยะ
-เอกภพประกอบด้วยกาแล็กซีมากมายนับ
แสนล้านแห่งแต่ละกาแล็กซีประกอบด้วย
ดาวฤกษ์จำ�นวนมากที่อยู่เป็นระบบด้วยแรง
โน้มถ่วงกาแล็กซีทางช้างเผือกมีระบบสุริยะ
อยู่ที่แขนของกาแล็กซีด้านกลุ่มดาวนายพราน
-กลุ่มดาวฤกษ์ประกอบด้วยดาวฤกษ์หลาย
ดวงที่ปรากฏอยู่ในขอบเขตแคบๆและเรียง
เป็นรูปต่างๆกันบนทรงกลมฟ้าโดยดาวฤกษ์
ที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันไม่จำ�เป็นต้องอยู่ใกล้กัน
อย่างที่ตาเห็นแต่มีตำ�แหน่งที่แน่นอนบนทรง
กลมฟ้าจึงใช้บอกทิศและเวลาได้
1.การบอกต�ำแหน่งของวัตถุท้องฟ้าสามารถบอก
ได้โดยใช้มุมห่างระยะเชิงมุมมุมทิศและมุมเงย
2.ระยะเชิงมุมระหว่างดาวสองดวงคือมุมระหว่างรัศมี
ที่วัดจากจุดศูนย์กลางของโลกไปยังดวงดาวทั้งสอง
3.ระยะเชิงมุมระหว่างดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์
เรียกว่ามุมห่าง
4.แผนที่ดาวใช้บอกต�ำแหน่งของดวงดาวบนท้องฟ้า
ในช่วงเวลาที่สนใจ
5.การศึกษากลุ่มดาวซึ่งมีต�ำแหน่งที่แน่นอนบนทรง
กลมฟ้ามีประโยชน์ในการบอกทิศเวลาและฤดู
6.กลุ่มดาวจระเข้กลุ่มดาวค้างคาวและกลุ่มดาว
นายพรานสามารถบอกทิศได้
7.กลุ่มดาวจักรราศีเป็นกลุ่มดาวที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่
ปรากฏผ่านในรอบ1ปีมีทั้งสิ้น12กลุ่มและใช้กลุ่ม
ดาวดังกล่าวเป็นตัวก�ำหนดเดือน
8.แนวที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ปรากฏผ่านกลุ่มดาวต่างๆ
เรียกว่าสุริยวิถี
9.ดาวที่สังเกตเห็นได้ส่วนใหญ่บนท้องฟ้ายามค�่ำคืน
เป็นดาวที่อยู่ในกาแล็กซีทางช้างเผือกซึ่งนับเป็นส่วน
น้อยของดาวทั้งหมด
17 ก
บทเรื่องตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้แกนกลางแนวความคิดต่อเนื่อง
10.ระบบสุริยะอยู่ในกาแล็กซีทางช้างเผือก
11.กาแล็กซีของเราคือกาแล็กซีทางช้างเผือกเป็น
กาแล็กซีหนึ่งในเอกภพที่มีดาวฤกษ์อยู่เป็นจ�ำนวนมาก
นับแสนล้านดวง
12.เอกภพคือองค์ประกอบรวมของสรรพสิ่งที่เกิดขึ้น
นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันขอบเขตของเอกภพเท่าที่
มนุษย์สามารถวัดได้ในปัจจุบันถูกก�ำหนดด้วยอัตราเร็วแสง
3.เทคโนโลยี
อวกาศ
3.1กล้อง
โทรทรรศน์
3.2ดาวเทียม
และยานอวกาศ
3.3การใช้ชีวิต
ในอวกาศ
-สืบค้นและอภิปราย
ความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีอวกาศที่
ใช้สำ�รวจอวกาศวัตถุ
ท้องฟ้าสภาวะอากาศ
ทรัพยากรธรรมชาติ
การเกษตรและ
การสื่อสาร
-มนุษย์ใช้กล้องโทรทรรศน์จรวดดาวเทียม
ยานอวกาศสำ�รวจอวกาศวัตถุท้องฟ้าสภาวะ
อากาศทรัพยากรธรรมชาติการเกษตรและ
ใช้ในการสื่อสาร
1.กล้องโทรทรรศน์มีทั้งประเภทรวมแสงโดยใช้
เลนส์นูนรับแสงและประเภทสะท้อนแสงโดยใช้
กระจกเว้ารับแสง
2.เทคโนโลยีชั้นสูงในปัจจุบันท�ำให้นักวิทยาศาสตร์
สร้างกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้สังเกตการณ์ในช่วงคลื่นอื่น
ได้แก่กล้องโทรทรรศน์วิทยุกล้องโทรทรรศน์
รังสีเอกซ์รังสีแกมมารังสีอินฟราเรด
3.บรรยากาศของโลกมีผลต่อการสังเกตการณ์ทาง
ดาราศาสตร์
4.มนุษย์ได้ส่งอุปกรณ์และพาหนะขึ้นไปในอวกาศ
เพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ
5.จรวดเป็นอุปกรณ์บังคับเพื่อส่งดาวเทียมหรือ
ยานอวกาศสู่อวกาศ
6.ดาวเทียมเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เคลื่อนที่ใน
วงโคจรเพื่อรับหรือส่งข้อมูลหรือท�ำภารกิจอื่นๆ
ตามวัตถุประสงค์การใช้งาน
7.ยานอวกาศเป็นพาหนะส�ำหรับติดตั้งเครื่องมือ
ส�ำรวจอาจมีมนุษย์อวกาศควบคุมหรือไม่ก็ได้
18 ก
บทเรื่องตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้แกนกลางแนวความคิดต่อเนื่อง
8.สถานีอวกาศคือสิ่งปลูกสร้างขนาดใหญ่ในอวกาศ
ใช้เป็นที่ทดลองและเป็นที่พักอาศัยระหว่างที่ใช้ชีวิต
ในอวกาศ
9.ดาวเทียมใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆเช่นส�ำรวจ
สภาวะอากาศทรัพยากรธรรมชาติการเกษตรและ
ใช้ในการสื่อสาร
10.การส่งและการขับเคลื่อนดาวเทียมและ
ยานอวกาศใช้จรวดในการส่งโดยอาศัยหลักการของ
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
11.ดาวเทียมที่โคจรรอบโลกณระดับความสูงต่างๆ
นั้นต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่มีค่าเฉพาะในแต่ละ
ระดับความสูง
12.นักบินอวกาศต้องฝึกปฏิบัติให้เคยชินกับสภาวะ
แรงโน้มถ่วงมากขณะขึ้นจากโลกและสภาพไร้น�้ำหนัก
ขณะปฏิบัติงานในอวกาศ
4.ระบบ
นิเวศ
4.1ความ
สัมพันธ์ของ
สิ่งมีชีวิตกับสิ่ง
แวดล้อม
4.2การ
ถ่ายทอด
พลังงานใน
ระบบนิเวศ
-สำ�รวจระบบนิเวศ
ต่างๆในท้องถิ่นและ
อธิบายความสัมพันธ์
ขององค์ประกอบภายใน
ระบบนิเวศ
-วิเคราะห์และอธิบาย
ความสัมพันธ์ของการ
ถ่ายทอดพลังงานของ
สิ่งมีชีวิตในรูปของโซ่
อาหารและสายใยอาหาร
-ระบบนิเวศในแต่ละท้องถิ่นประกอบด้วย
องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตและองค์ประกอบที่มี
ชีวิตเฉพาะถิ่นซึ่งมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
-สิ่งมีชีวิตมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันโดยมี
การถ่ายทอดพลังงานในรูปของโซ่อาหารและ
สายใยอาหาร
-น้ำ�และคาร์บอนเป็นองค์ประกอบในสิ่งมีชีวิต
และสิ่งไม่มีชีวิต
-น้ำ�และคาร์บอนจะมีการหมุนเวียนเป็น
วัฏจักรในระบบนิเวศทำ�ให้สิ่งมีชีวิตใน
1.ในแต่ละท้องถิ่นมีสภาพทางธรรมชาติที่แตกต่างกัน
มีทั้งภูเขาทะเลที่ราบซึ่งที่เป็นที่อยู่อาศัยของ
สิ่งมีชีวิต
2.สิ่งมีชีวิตหลายๆชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกันและมี
ความสัมพันธ์กันเรียกว่ากลุ่มสิ่งมีชีวิตกลุ่มสิ่งมีชีวิต
เหล่านี้จะอาศัยอยู่ในแหล่งที่อยู่ต่างๆ
3.ระบบนิเวศประกอบด้วยกลุ่มสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มี
ชีวิตที่มีความสัมพันธ์กัน
4.องค์ประกอบที่มีชีวิตและองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตใน
ระบบนิเวศจะต้องมีความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม
19 ก
บทเรื่องตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้แกนกลางแนวความคิดต่อเนื่อง
4.3ความ
สัมพันธ์
ระหว่างสิ่งมีชีวิต
ในระบบนิเวศ
4.4วัฏจักรของ
สารในระบบ
นิเวศ
4.5ความ
หลากหลายทาง
ชีวภาพ
4.6ประชากร
-อธิบายวัฏจักรน�้ำ
วัฏจักรคาร์บอนและ
ความส�ำคัญที่มีต่อ
ระบบนิเวศ
-อธิบายแนวทางการ
รักษาสมดุลของระบบ
นิเวศ
-ส�ำรวจและอธิบาย
ความหลากหลายทาง
ชีวภาพในท้องถิ่นที่
ท�ำให้สิ่งมีชีวิตด�ำรงชีวิต
อยู่ได้อย่างสมดุล
-อธิบายผลของความ
หลากหลายทางชีวภาพ
ที่มีต่อมนุษย์สัตว์พืช
และสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศน�ำไปใช้ประโยชน์ได้
-ระบบนิเวศจะสมดุลได้จะต้องมีการควบคุม
จ�ำนวนผู้ผลิตผู้บริโภคผู้ย่อยสลายสาร
อินทรีย์ให้มีปริมาณสัดส่วนและการกระจาย
ที่เหมาะสม
-ความหลากหลายทางชีวภาพที่ท�ำให้
สิ่งมีชีวิตอยู่อย่างสมดุลขึ้นอยู่กับความหลาก
หลายของระบบนิเวศความหลากหลาย
ของชนิดสิ่งมีชีวิตและความหลากหลายทาง
พันธุกรรม
-การตัดไม้ท�ำลายป่าเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้
เกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
ซึ่งส่งผลกระทบต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์
สัตว์พืชและสิ่งแวดล้อม
-การใช้สารเคมีในการก�ำจัดศัตรูพืชและสัตว์
ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตทั้งมนุษย์สัตว์และ
พืชท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความ
หลากหลายทางชีวภาพและส่งผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม
-อัตราการเกิดอัตราการตายอัตราการ
อพยพเข้าและอัตราการอพยพออกของ
สิ่งมีชีวิตมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาด
ของประชากรในระบบนิเวศ
ระบบนิเวศจึงสามารถคงอยู่ได้
5.องค์ประกอบที่มีชีวิตมีบทบาทและหน้าที่แตกต่าง
กันบางชนิดเป็นผู้ผลิตบางชนิดเป็นผู้บริโภคและ
บางชนิดเป็นผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์
6.สิ่งมีชีวิตสามารถเปลี่ยนวัตถุดิบเช่นน�้ำแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นพลังงานสะสมอยู่ในรูป
อาหารโดยใช้พลังงานแสงเรียกว่าผู้ผลิต
7.สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสังเคราะห์พลังงานได้เอง
ต้องได้รับพลังงานจากอาหารที่กินเข้าไปเรียกว่า
ผู้บริโภค
8.สัตว์ทุกชนิดมีบทบาทเป็นผู้บริโภคแบ่งเป็นสิ่งมี
ชีวิตกินพืชสิ่งมีชีวิตกินสัตว์และสิ่งมีชีวิตกินพืชและ
สัตว์นอกจากนี้ยังมีสิ่งมีชีวิตที่กินซากพืชและสัตว์เป็น
อาหารเรียกสิ่งมีชีวิตพวกนี้ว่าสัตว์กินซาก
9.ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ย่อยซาก
สิ่งมีชีวิตโดยปล่อยเอนไซม์มาย่อยซากสิ่งมีชีวิตเหล่า
นั้นให้เป็นสารที่มีโมเลกุลเล็กเพื่อดูดซึมไปใช้ส่วนที่
เหลือจะปล่อยกลับคืนสู่สิ่งแวดล้อมซึ่งผู้ผลิตสามารถ
น�ำไปใช้ได้
10.สิ่งมีชีวิตภายในระบบนิเวศมีความสัมพันธ์กันใน
ลักษณะของการถ่ายทอดพลังงานผ่านการกินต่อกัน
เป็นขั้นๆเรียกว่าโซ่อาหารแต่ในธรรมชาติมีการกิน
กันอย่างซับซ้อนการถ่ายทอดพลังงานจึงมีความ
ซับซ้อนขึ้นเรียกว่าสายใยอาหาร
20 ก
บทเรื่องตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้แกนกลางแนวความคิดต่อเนื่อง
-อธิบายปัจจัยที่มีผล
ต่อการเปลี่ยนแปลง
ขนาดของประชากร
ในระบบนิเวศ
11.การเปลี่ยนแปลงจ�ำนวนสิ่งมีชีวิตหนึ่งในระบบ
นิเวศอาจส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอื่นในโซ่อาหาร
และสายใยอาหาร
12.สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันในรูปแบบ
ต่างๆทั้งความสัมพันธ์แบบภาวะอิงอาศัยภาวะพึ่งพา
กันภาวะปรสิตและการล่าเหยื่อ
13.น�้ำคาร์บอนเป็นองค์ประกอบในสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งไม่มีชีวิตซึ่งมีการหมุนเวียนกันเป็นวัฏจักร
14.กิจกรรมหลายอย่างของมนุษย์มีผลกระทบต่อ
วัฏจักรคาร์บอนเช่นการเผาไหม้เชื้อเพลิงท�ำให้
ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในวัฏจักรคาร์บอน
เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อน
15.ระบบนิเวศจะสมดุลได้จะต้องมีองค์ประกอบและ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตเป็นไป
อย่างเหมาะสม
16.สิ่งรบกวนต่างๆสามารถท�ำให้ปริมาณสัดส่วน
และการกระจายของผู้ผลิตผู้บริโภคและผู้ย่อยสลาย
สารอินทรีย์เปลี่ยนแปลงไปซึ่งจะมีผลกระทบต่อระบบ
นิเวศถ้าสิ่งรบกวนนั้นท�ำให้ปริมาณสัดส่วนและ
การกระจายของผู้ผลิตผู้บริโภคและผู้ย่อยสลายสาร
อินทรีย์เปลี่ยนแปลงไม่มากนักระบบนิเวศก็สามารถ
ปรับตัวเข้าสู่สมดุลได้ใหม่แต่ถ้าสิ่งมากระทบรุนแรง
เกินกว่าที่ระบบนิเวศจะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่ระบบ
นิเวศนั้นก็จะถูกท�ำลายลง
21 ก
บทเรื่องตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้แกนกลางแนวความคิดต่อเนื่อง
17.ความหลากหลายทางชีวภาพแบ่งเป็น3ระดับ
ได้แก่ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลาก
หลายของชนิดสิ่งมีชีวิตและความหลากหลายทาง
พันธุกรรมการเปลี่ยนแปลงที่ระดับใดระดับหนึ่งจะ
เป็นสาเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ระดับอื่นๆด้วย
18.มนุษย์ใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทาง
ชีวภาพเช่นด้านอาหารเครื่องนุ่งห่มยารักษาโรค
และที่อยู่อาศัย
19.การทำ�ลายระบบนิเวศเช่นการบุกรุกทำ�ลายป่า
เป็นสาเหตุสำ�คัญทำ�ให้ความหลากหลายทางชีวภาพ
ลดลงและระบบนิเวศเสียสมดุล
20.การใช้สารเคมีในการกำ�จัดศัตรูพืชทำ�ให้เกิด
ปัญหาสารเคมีตกค้างซึ่งมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต
ลำ�ดับต่างๆในโซ่อาหารส่งผลให้ความหลากหลาย
ทางชีวภาพลดลงนอกจากนี้ยังเป็นมลพิษต่อ
สิ่งแวดล้อม
21.ระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงจะ
รักษาสมดุลได้ดีดังนั้นเราจึงควรหลีกเลี่ยงการรบกวน
ระบบนิเวศซึ่งจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงจำ�นวนของ
สิ่งมีชีวิต
22.สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยู่ในที่เดียวกัน
ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งเรียกว่าประชากร
23.ขนาดของประชากรของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศมี
การเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอขึ้นอยู่กับอัตราการเกิดอัตรา
การตายอัตราการอพยพเข้าและอัตราการอพยพออก
22 ก
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...Prachoom Rangkasikorn
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxsathanpromda
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5Khunnawang Khunnawang
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 

Was ist angesagt? (20)

เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 

Andere mochten auch

คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1KruPa Jggdd
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)Panupong Sinthawee
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
การมีส่วนร่วมทางการเมืองการมีส่วนร่วมทางการเมือง
การมีส่วนร่วมทางการเมืองAkaraphon Kaewkhamthong
 
วิทย์ ม.ต้น พว21001
วิทย์ ม.ต้น พว21001วิทย์ ม.ต้น พว21001
วิทย์ ม.ต้น พว21001Thidarat Termphon
 
หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3
หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3
หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3KruPa Jggdd
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJiraporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ Jiraporn
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 

Andere mochten auch (20)

คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
การมีส่วนร่วมทางการเมืองการมีส่วนร่วมทางการเมือง
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
 
วิทย์ ม.ต้น พว21001
วิทย์ ม.ต้น พว21001วิทย์ ม.ต้น พว21001
วิทย์ ม.ต้น พว21001
 
หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3
หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3
หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 

Ähnlich wie คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2

วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61
 วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61 วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61คมสัน คงเอี่ยม
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3sompriaw aums
 
รายงานประจำปีของสถานศึกษา
รายงานประจำปีของสถานศึกษารายงานประจำปีของสถานศึกษา
รายงานประจำปีของสถานศึกษาKrupetch Songkwamjarearn
 
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีเผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีcomed
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์Krupol Phato
 
รายงานประจำปี54 คูซอดประชาสรรค์
รายงานประจำปี54 คูซอดประชาสรรค์รายงานประจำปี54 คูซอดประชาสรรค์
รายงานประจำปี54 คูซอดประชาสรรค์ภูเบศ เศรษฐบุตร
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra speerapit
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555supphawan
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6sompriaw aums
 
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdfหลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนChay Kung
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนBoonlert Sangdee
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...Wichai Likitponrak
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 

Ähnlich wie คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2 (20)

วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61
 วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61 วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 10/61
 
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
 
รายงานประจำปีของสถานศึกษา
รายงานประจำปีของสถานศึกษารายงานประจำปีของสถานศึกษา
รายงานประจำปีของสถานศึกษา
 
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีเผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
 
รายงานประจำปี54 คูซอดประชาสรรค์
รายงานประจำปี54 คูซอดประชาสรรค์รายงานประจำปี54 คูซอดประชาสรรค์
รายงานประจำปี54 คูซอดประชาสรรค์
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra s
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
 
1
1 1
1
 
Information kc school
Information kc schoolInformation kc school
Information kc school
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
 
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdfหลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
 
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 

Mehr von KruPa Jggdd

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2KruPa Jggdd
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ล.1 lnw tongphysics
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ล.1  lnw tongphysics(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ล.1  lnw tongphysics
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ล.1 lnw tongphysicsKruPa Jggdd
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 KruPa Jggdd
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 KruPa Jggdd
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1KruPa Jggdd
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเราKruPa Jggdd
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศKruPa Jggdd
 

Mehr von KruPa Jggdd (9)

Nan
NanNan
Nan
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ล.1 lnw tongphysics
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ล.1  lnw tongphysics(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ล.1  lnw tongphysics
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ล.1 lnw tongphysics
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
 
Onet science57
Onet science57Onet science57
Onet science57
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
 

คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2