SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 115
Physical Assessment for Pharmacist
: The Introduction
นพ.สิริชัย นามทรรศนีย์
วว.เวชศาสตร์ครอบครัว
รพ.สมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์
Essential Tools for Pharmaceutical Care
23 กุมภาพันธ์ 2558
โรงแรมนารายณ์
ทำไมเภสัชกรควรจะ
ตรวจร่ำงกำย
ได้รับการรักษาตรวจพบโรค
อาการป่วย ผลของการรักษา
ติดตามการรักษา
-ดูแลยา-
ได้รับการรักษาตรวจพบโรค
อาการป่วย ผลของการรักษา
ติดตามการรักษา
-ดูแลคน-
การติดตามการใช้ยา
แผนการรักษา ยาและผลิตภัณฑ์ สภาพผู้ป่ วยครอบครัว
Polypharmacy Packaging Self-care
Route and Administration Size & Dosage form caregiver
ประเมิน
ค้นหาปัญหา
จากยา
ปรับแผนการรักษา
ออกแบบอุปกรณ์ยา
และทดลองใช้
ติดตาม ปรับแก้ไข
ประเมินผล
DRS & Potential Drug Related Problem
Unnecessary Drug Therapy Dosage to low Dosage to high
Averse Drug Reaction Non Compliance Ineffective drug
Need additional drug therapy
Treatment plan
เปลี่ยนชนิดยา เปลี่ยนรูปแบบยา ลดจานวนชนิดยา
ลดจานวนครั้งการใช้ยา(การรวบยา)
Design & implement
Absorption checker Drug interaction checker
ทำไมต้องตรวจร่ำงกำย
• บทบาทของเภสัชกรเปลี่ยนจาก distributive roles เป็น
pharmaceutical care
• การตรวจร่างกายมีความจาเป็นเพื่อประเมิน disease progression,
drug efficacy, and drug safety
• เพื่อสอบทานความถูกต้องของข้อมูล Subjective และ ข้อมูล
Objective
• เป็นข้อมูลที่จาเป็นต้องทาให้ตรงกันเพื่อการปรึกษาระหว่าง
วิชาชีพ
Clinical Skill
ประวัติ
Symptoms
ตรวจร่างกาย
Signs
ความรู้เรื่องโรค
ที่ละเอียดขึ้น
การแปลผลตรวจ
ที่ชัดเจนขึ้น
การตรวจร่างกายและการซักประวัติแยกจากกันไม่ได้
การดาเนินโรค กับ การตรวจร่างกาย
Symptom
• เหนื่อยง่าย
• กินอาหารไม่ได ้
Early sings
• น้าหนักเพิ่ม
• ขาบวมเล็กน้อย
Late signs
• บวมทั้งตัว
• PND
• Orthopnea
Sign/Symptom and Clinical Significant
Clinical
significant
abnormal
signs &
Symptoms
อาการ กับ ความเร่งด่วน
Elective
“OPD”
Urgency
“ER”
Emergency
“EMS”
รอยช้าสีม่วง
Bruise ?
Abnormal ?
Significant ?
ผป.สูงอายุ กินยา ASA
รอยช้าสีม่วง
Bruise ?
Abnormal ?
Significant ?
ผป.กินยา warfarin
Senile Purpura
ecchymosis
14
เป้ ำหมำย
• รู้จักวิธีกำรตรวจร่ำงกำยที่สำคัญ
• เข้ำใจคำศัพท์ที่ใช้บรรยำยกำรตรวจร่ำงกำย
• นำควำมรู้ไปติดตำมประเมินปัญหำในผู้ป่ วยได้
TEST
เป็นอะไร ทำอย่ำงไร
บหญิงตั้งครรภ์อายุ24ปี no U/D มาด้วยมีผื่นตุ่มคันบริเวรหน้าอก มีอาการคันและแสบ
เล็กน้อย สงสัยแพ้สบู่ ซื้อ ta creamมาทาไม่หาย ผื่นลามมากขึ้น เป็นมา 3 wk ใช่
folliculitis มั้ยครับ ตอนนี้ผมให้ dicloxacillin ไปทานก่อนแล้วนัด f/u ดูอาการอีกศุกร์นี้
ท่ำนจะทำอย่ำงไร
1. ให้ยาแก้แพ้ชนิดกินเพิ่ม
2. เปลี่ยนให้ steroid cream ที่แรงขึ้น
3. ให้ทายาเดิม และรอดูผลหลังกิน ATB
4. ให้ antibiotic ชนิดทาเพิ่ม
5. ไม่ทาซักข้อ
Steroid Acne
• Steroid acne ครับ ผื่นจะเป็น erythematous papule
หน้าตาเหมือนๆกัน มีประวัติทา steroid แล้วผื่นแย่ลง มักไม่ค่อยมี
อาการ หรือาจคันเล็กน้อย อันนี้ก็โรคหมอทาหรือเภสัชทาอีกอันนะครับ
เพราะด้วยความไม่รู้ วิธีรักษาก็ หยุดsteroid ซะ แล้วใช้ acne
lotion หรือ acne cream รักษาคล้ายสิวที่ตัวครับ
กำรตรวจร่ำงกำย
• ดู (inspection) คือการสังเกตอย่างใกล้ชิดด้วยตาเปล่า
• คลา (Palpation) คือการสัมผัส หรือการกดในบริเวณที่
สนใจ
• เคาะ (Percussion) คือการเคาะหรือทุบบริเวณผิวหนังของ
ร่างกาย
• ฟัง (auscultation) คือการตรวจสอบความผิดปกติโดย
การฟังเสียง ใช้ stethoscope ช่วย
Vital Signs
- วัด Temperature
- นับ Pulse rate อย่ำงน้อย 30 วินำที
(ถ้ำผิดปกติต้องนับเต็มนำที)
- นับRespiratory rate อย่ำงน้อย 30 วินำที
(ถ้ำผิดปกติต้องนับเต็มนำที)
- วัด Blood pressure
(ถ้ำผิดปกติต้องวัดทั้งสองข้ำง)
Test : ผิดตรงไหน
Test : ผิดตรงไหน
Test : ผิดตรงไหน
ยังใช้กันไปได้
Blood Pressure
26
• ผป.ควรได้นั่งพัก 5-10 นาที
ก่อน
• ดูให้แน่ใจว่าปรอทอยู่ที่ขีด 0
• แขนต้องมีที่รองรับ และจัดให้
อยู่ในระดับเดียวกับหัวใจ
• ขนาดของ Cuff ต้องมากกว่า
80% ของต้นแขน
• ต้องจัดไม่ให้ cuff ทับแขนเสื้อ
• ควรวัดทั้งสองข้างเสมอ หาก
ผิดปกติ (first visit)
White Coat Hypertension (WCH)
• ภาวะที่วัดความดันที่โรงพยาบาล ได้สูงกว่าการวัดความดันที่บ้าน พบ
ได้บ่อยในผู้สูงอายุ
• ความดันที่บ้านสัมพันธ์กับการเกิดภาวะแทรกซ้อนมากกว่า จึงควรใช้ค่า
ความดันที่บ้านมากกว่าความดันที่โรงพยาบาล
• WCH ทาให้ผู้สูงอายุได้ยามากกว่าที่จาเป็น ก่อให้เกิดความเสี่ยงจาก
hypotension ได้
• ความดันผู้สูงอายุแปรปรวนได้มาก ระหว่างวันอาจต่างกันถึงร้อยละ
50 รวมทั้งอาจมีภาวะ postpandrial hypotension
ด้วย
ที่มา ซืท แนวทางรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป โดย สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย
Orthostatic Hypotension
• Suddenly fall in blood pressure within 3
minutes of standing compare to sitting or
supine position.
– systolic BP of at least 20 mm Hg
– diastolic BP of at least 10 mm Hg
• Often associated increase in the heart rate
• “Head-Up Tilt-Table Test” is confirmation
test
• ผู้สูงอายุที่มีภาวะนี้มีอัตราตายเพิ่มขึ้นร้อยละ 64 เทียบกลุ่มอายุ
เดียวกัน Source : American Academy of Neurology
Head-Up Tilt-Table Test
ทำไม postural hypotension จึงสำคัญ
Postural
hypotension
Vertigo,
dizziness
Falling Fracture
ควำมแปรปรวนของควำมดันระหว่ำงวัน
120/80
160/100
90/60
การลดความดันโลหิตในผู้สูงอายุ 80 ปีขึ้นไป ควรตั้งเป้ าไว้ที่น้อยกว่า 150/80 ก็เพียงพ
Hypertensive Urgency
• BP > 180/110
• no associated organ damage.
• may or may not experience one or more of these symptoms:
– Severe headache
– Shortness of breath
– Nosebleeds
– Severe anxiety
Management
• immediate evaluation
• readjustment and/or additional dosing of oral medications
• not necessitate hospitalization for rapid BP reduction.
Source : American Heart Association Website
Hypertensive Emergency
• BP > 180 systolic OR 120 diastolic
• Have associated organ damage.
– chest pain
– shortness of breath
– severe back pain
– numbness/weakness
– change in vision
– difficulty speaking
• Management
– Hospitalization
– Rapid BP reduction
Source : American Heart Association Website
“General Appearance”
เปลือกตำสีแดงปกติ เปลือกตำสีขำวซีด
การซักประวัติเพิ่มเติม : เลือดออกจากที่ต่างๆ
เลือดกาเดา, เลือดออกตามไรฟัน, อาเจียนเป็นเลือด, ถ่ายดา, ถ่ายเป็นเลือดสด,
ริดสีดวงทวาร, ประจาเดือนออกมาก/นาน, ปัสสาะเป็นสีน้าล้างเนื้อ
คาถามที่ 1 : เหลืองหรือไม่ ?
คาถามที่ 2 : เป็น Jaundice หรือไม่
เหลือง แต่ไม่ใช่ Jaundice
เหลือง : Jaundice / Icteric sclera
Jaundice = ตัวเหลือง + ตาเหลือง
Carotenemia = ตัวเหลือง + ตาไม่เหลือง
Anemia = ตัวเหลืองซีด + ตาขาวซีด
Dirty sclera = เหลืองเฉพาะตาส่วนที่สัมผัสอากาศ
Dirty Sclera
เขียว : Cyanosis
Clubbing of finger
Edema
Pitting
edema
Generalize
edema
Heart
: CHF
Liver
: Cirrhosis
Kidney
: NS, CRF
Localize
edema
Non-pitting
edema
Lymphedema Myxedema
Deep vein
thrombosis
Cellulitis
จะเห็นได้ว่ำระดับของกำรกดบุ๋มจะไม่เกี่ยวกับควำมสูงต่ำของระดับกำรบวมที่ขำแต่
ประเมินโดยควำมลึกที่เกิดจำกกำรกด
Pitting edema มี 4 ระดับคือ
1+ กดบุ๋มลงไป 2 มม. มองไม่เห็นชัดเจน รอยบุ๋ม
หำยไปเร็ว
2+ กดบุ๋มลงไป 4 มม. สังเกตได้ยำก หำยไปใน 15
วินำที
3+ กดบุ๋มลงไป 6 มม. สังเกตได้ชัด คงอยู่นำนหลำย
นำที
4+ กดบุ๋มลงไป 8 มม. รอยบุ๋มลึกชัดเจน อยู่นำน
ประมำณ 2-5 นำที
Grading of Edema
จะเห็นได้ว่ำระดับของกำรกดบุ๋มจะไม่เกี่ยวกับควำมสูงต่ำของระดับกำรบวมที่ขำแต่
ประเมินโดยควำมลึกที่เกิดจำกกำรกด
Non-pitting edema
Myxedema : hyperthyroid Lymphedema
Cirrhosis
มักมีท้องมำนน้ำร่วมกับขำและอัณฑะบวม
Nephrotic syndrome
บวมทั้งตัวโดยเฉพำะที่หน้ำและขำ
Congestive Heart Failure
บวมทั้งตัวร่วมกับอำกำรเหนื่อยหอบมำก
Pedal edema = Amlodipine, Postural edema
“HEENT”
Eyes – Conjunctival injection
- unilateral redeye
- hazy cornea.
- mid sized pupil
- nonreactive to light
Subconjunctival hemorrhage
Hyphema
Pingueculua (ต้อลม) &
Pterygium (ต้อเนื้อ)
57
Pinguecula
Pterygium
Viral conjunctivitisAnterior uveitis
Mouth - Lips - Pharynx
- สังเกต lips, buccal mucosa, teeth, gums and tongue
- สังเกต uvula, tonsil, pharynx
Exudate on tonsils
TEST
หากพบภาวะนี้
ท่านจะทาอย่างไร
ก) ส่งพบทันตะแพทย์
ข) ส่งพบอายุแพทย์
ค) ส่งพบ ENT
ง) ไม่รู้จะทาอะไร
หญิงอายุ 30 ปี คลาได้ก้อน
ที่เพดานปาก 1 สัปดาห์ ไม่
ปวด มีกลิ่นเหม็นเป็นบางครั้ง
Torus Palatinus
ผป.อายุ 30 ปี มี
อาการเจ็บคอปานกลาง
ไม่มีไข้ ไอเล็กน้อย อ้า
ปากดูพบตุ่มที่ลิ้น ไม่
เคยเห็นตุ่มดังกล่าวมา
ก่อนหากพบภาวะนี้
ท่านจะทาอย่างไร
ก) ส่งพบทันตะ
แพทย์
ข) ส่งพบอายุแพทย์
ค) ส่งพบ ENT
Normal taste bud
Oral hairy
leukoplakia
=
AIDS
Oral
Candidiasis
Oral candidiasis
• โรคที่ทาให้ภูมิต้านทานต่า : AIDS, ไตวาย, เบาหวาน
• โรคที่ได้รับยากดภูมิต้านทาน : เปลี่ยนไต
• โรคที่ได้รับ topical steroid : asthma, COPD
• โรคที่ได้รับ systemic steroid : SLE, nephrotic
syndrome
Oral Lichen
Planus
Geographic Tongue
Black hairy tongue, also known as lingua villosa nigra, is a painless, benign disorder
caused by defective desquamation and reactive hypertrophy of the filiform papillae of
the tongue. The hairy appearance is due to elongation of keratinized filiform papillae,
which may have different colors, varying from white to yellowish brown to black
Gum hypertrophy
Drug induce Leukemia
Gingivitis Pregnancy
ตำแหน่งของต่อมน้ำเหลือง
กำรไหลเวียนของต่อมน้ำเหลือง
Rt. Supraclavicular LN.
= mediastinum, lungs, esophagus
Lt. Supraclavicular LN.
= GI tract
Bate’s Guide to Physical Examinationand HistoryTaking, P 163.
“Respiratory system”
Auscultation
• Breath sounds
• Voice sounds
• Adventitious (added) sounds
low pitch high pitch
ตำแหน่งสำหรับฟังเสียงหำยใจ
Major Fissure (1)
Intercostal retraction
Intercostal retraction
Stridor
Normal Breath Sound
Bronchial BS
Bronchovesicular BS
Vesicular
Adventitious (Added) Sounds
Musical, High-pitch and Continuous sound on Inspiration or Expiration เกิด
small air passage
DDx: asthma, COPD, CHF, foreign body impaction
Coarse, Low-pitched and continuous sound on Inspiration or Expiration (ถ้ำ
ไอเสียงอำจจะ Clear ขึ้น) เกิด large air passage
DDx: Pneumania
Crepitation, Rale Non-musical, bubble sound, เสียงสั้นๆ มีจังหวะหยุด (เสียง
เปรียะ เปรียะ) ได้ยินเมื่อหำยใจเข้ำ low-high pitch discontinuous sound on
inspiration DDx: Bronchiectasis
Stridor
high pitched sound resulting from turbulent gas flow in the upper airway
DDx: Croup
“Cardiovascular system”
Functional Classification (NYHA)
• Class I : ออกกำลังกำยหนักได้
• Class II : ทำกิจวัตรประจำวันได้
• Class III : ทำกิจวัตรได้ แต่เหนื่อยเร็ว
• Class IV : ลุกเดินไม่ได้เลย
87
88
Anatomy of CVS
89
Anatomy of Heart
90
ตาแหน่งที่สามารถจับชีพจรได้
Carotid artery
Brachial artery
Radial artery
Abdominal
aorta
Femoral artery
Popiteal artery
Dorsalis pedis
artery
CVS Symptoms Relate to Drug
Tachycardia
• HR> 100
• ใจสั่น เหนื่อยง่าย นอนไม่หลับ กระวนกระวาย
Bradycardia
• HR < 60
• หน้ามืด วูบ เหนื่อยง่าย
Arrythmia
• ชีพจรเต้นไม่สม่าเสมอ
• ใจสั่น วูบ เป็นลม
Heart Failure
• ชีพจรเต้นเบาลง
• เหนื่อยง่ายเวลาออกแรง บวม 91
92
Common Arrythmia
Premature beat โดยทั่วไปชีพจรสม่ำเสมอ แต่จะมีจังหวะ
ผิดปกติเป็นครั้งครำว มีช่วงชีพจรขำด
หำยไปนำน
Atrial fibrillation ชีพจรเต้นไม่สม่ำเสมอโดยตลอด จะมีบำง
จังหวะที่ฟังหัวใจได้ แต่จับชีพจรไม่ได้
Bradyarrythmia ชีพจรเต้นไม่สม่ำเสมอ และเต้นน้อยกว่ำ 60
ครั้ง/นำที
Tachyarrythmia ชีพจรเต้นไม่สม่ำเสมอ และเต้นมำกกว่ำ 100
ครั้ง/นำที
93
ตาแหน่งตรวจ heart sounds
Tachycardia
• (+) Sympathetic cardiac stimulation
• Sympathomimetics (pseudoephedrine)
• Anticholinergics
• ↓ Blood pressure reflex tachycardia
• โดยเฉพำะอย่ำงยงtิิ ขณะเรมtิิ ใชย้ำ
• Drug-induced tachycardia
• Alpha-blockers Dihydropyridine calcium channel blockers
• Vasodilators (nitrates, minoxidil)
• Phosphodiesterase-5 inhibitor (sildenafil)
• Excessive thyroxine replacement therapy
94
Bradycardia
95
• Beta-blockers
• • Verapamil, diltiazem
• • Opioid (overdose)
• • Lithium (overdose)
• ระวัง drug-drug interaction severe bradycardia
• BBs + CCBs โดยเฉพำะในหญิงสูงอำยุ+ atrial fibrillation
• Verapamil/nifedipine + digoxin … ↓ digoxin clearance
• Digoxin
• Clonidine
Drug that may QT prolong
• Antiarrhythmics Antibiotics
– Amiodarone
– Dofetilide
– Ibutilide
– Procainamide
– Quinidine
– Sotalol
– Chloroquine
– Clarithromycin
– Erythromycin
– Pentamidine
96
• Antipsychotics
• Antiemetics
– Ondansetron
– Prochlorperazine
• Gastric promotility
– Cisapride
– Amitriptyline (overdose)
– Chlorpromazine
– Haloperidol
• Antihistamines
– Astemizole
– Terfenadine
Heart Failure
• Fluid Retention
– NSAIDs
– COX-2 inhibitors
– Corticosteroids
– Thiazolidinediones
– Drugs cause sodium and fluid
retention
– Sodium-containing
preparations
• Drugs cause negative
inotropic effect
– Calcium channel blocker
– ….. except amlodipine, felodipine
– Antiarrhythmics, particularly
class I and class III
– …. except amiodarone
• Drugs cause direct
myocardial toxicity
– Anthracyclines
(e.g.,doxorubicin,epirubicin)
– CyclophosphamideInfliximab
– Interferon alpha-2
– Interleukin-2
– Itraconazole
– Capecitabine
– Clozapine
– Etanercept
– Fluorouracil
– Mitoxantrone
– Trastuzumab
97
อาการใดต่อไปนี้กี่อาการที่ไม่ใช่อาการของ
congestive heart failure
• เหนื่อย อ่อนเพลีย
• น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
• เบื่ออำหำร
• ท้องมำน
• ขำบวม
• นอนไม่หลับ
• เดินแล้วเหนื่อยมำกขึ้น
• นอนรำบไม่ได้
• ไอเวลำนอน
• ใจสั่น
98
Right side
• เหนื่อย อ่อนเพลีย
• น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
• เบื่ออำหำร
• ท้องมำน
• ขำบวม
Left Side
• นอนไม่หลับ
• เดินแล้วเหนื่อยมำกขึ้น
• นอนรำบไม่ได้
• ไอเวลำนอน
• ใจสั่น
99
100
101
“Abdomen”
102
Abdominal Exam.
1 2 3
4 5 6
7 8 9
Rt.Hypochondriac Lt.Hypochondriac
Epigastric
Rt.Lumbar
Lt.Lumbar
Lt.IliacRt.Iliac
Suprapubic
Umbilical
Refer Pain ของ ระบบทางเดินอาหาร
RUQ และ Epigastrium
มักมำจำก ระบบน้ำดี และตับ
Epigastrium
มักมำจำก กระเพำะอำหำร
ลำไส้เล็ก และตับอ่อน
Periumbilical pain
มักมำจำก ลำไส้เล็ก ใส้ติ่ง
และลำไส้ใหญ่ส่วนต้น
Hypogastric pain
มักมำจำก ลำไส้ใหญ่ มดลูก
กระเพำะปัสสำวะ
Suprapubic
มักมำจำก rectum
Refer Pain ของ ระบบทางเดินปัสสาวะ
Inspection
• Skin : scar, striae, dilated vein, rash&lesion
• Umbilicus : contour& location, hernia
inflammation
• Contour of abdomen : flat, round,
protuberant, scaphoid, local bulge
• Symmetric ? : mass
• Pulsation
4
3
Abdominal Scar
107
4
3
Abdominal Scar
108
1. ผ่าตัดถุงน้าดี
2. ผ่าตัดกระเพาะทะลุ
3. ผ่าตัดคลอด (bikini)
4. ผ่าตัดคลอด (ทั่วไป)
5. ไส้ติ่ง
6. ทาหมัน
7. เจาะรูส่องกล้อง
8. ไส้เลื่อน
9. นิ่วไต
Spider nevi Umbilical hernia
Carput meducae Gynecomastia
Sign of Cirrhosis
Palpation - Percussion
Light Palpation Deep Palpation
“ Neurological System ”
111
Tremor
• Resting tremor
• Contraction tremor
• Posture Tremor
• Intention tremor / cerebellar tremor
112
113
“ Other Sign ”
114
tetany
hypocalcemia

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesAphisit Aunbusdumberdor
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำPrathan Somrith
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 

Was ist angesagt? (20)

Nle step 2_2553
Nle step 2_2553Nle step 2_2553
Nle step 2_2553
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nurses
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 

Ähnlich wie Physical Assessment for Phamacist

ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่duangkaew
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Utai Sukviwatsirikul
 
Thai guideline on the hypertension 2015
Thai  guideline on the hypertension 2015Thai  guideline on the hypertension 2015
Thai guideline on the hypertension 2015Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558Utai Sukviwatsirikul
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Presedation assessment
Presedation assessmentPresedation assessment
Presedation assessmenttaem
 
Common nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsCommon nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsPitiphong Sangsomrit
 
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)taem
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงappcheeze
 

Ähnlich wie Physical Assessment for Phamacist (20)

ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
 
Thai guideline on the hypertension 2015
Thai  guideline on the hypertension 2015Thai  guideline on the hypertension 2015
Thai guideline on the hypertension 2015
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
 
Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011
 
ศรีธัญญา Serlin190858
ศรีธัญญา Serlin190858ศรีธัญญา Serlin190858
ศรีธัญญา Serlin190858
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Presedation assessment
Presedation assessmentPresedation assessment
Presedation assessment
 
Common nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsCommon nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatrics
 
Psychiatric Emergency
Psychiatric EmergencyPsychiatric Emergency
Psychiatric Emergency
 
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
 
Letov2.5 จุฬา300958
Letov2.5 จุฬา300958Letov2.5 จุฬา300958
Letov2.5 จุฬา300958
 
Symptoms management2
Symptoms management2Symptoms management2
Symptoms management2
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 

Physical Assessment for Phamacist

Hinweis der Redaktion

  1. Steroid acne ครับ ผื่นจะเป็น erythematous papule หน้าตาเหมือนๆกัน มีประวัติทา steroid แล้วผื่นแย่ลง มักไม่ค่อยมีอาการ หรือาจคันเล็กน้อย อันนี้ก็โรคหมอทำหรือเภสัชทำอีกอันนะครับ เพราะด้วยความไม่รู้ วิธีรักษาก็ หยุดsteroid ซะ แล้วใช้ acne lotion หรือ acne cream รักษาคล้ายสิวที่ตัวครับ
  2. Symptomp : chest pain, shortness of breath, back pain, numbness/weakness, change in vision, difficulty speaking)