SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 21
 
ชื่อพื้นเมือง ไผ่รวก ภาคเหนือเรียก   ไม้ฮวก ชื่อวิทยาศาสตร์ Thyrsostachys  slamensis Gamble ชื่อวงศ์ GRAMINEAE การปลูก ไผ่รวกเป็นไผ่ลำเล็ก ขึ้นชิดแน่นทึบ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ  9.5  ซม . สูง  5-10  เมตร ไม่มีหนาม หน้าใบมีขนเล็กๆ กาบหุ้ม  กาบหน่อ สีขาว ลำปล้อง  แต่ละปล้อง ยาว  7-23  ซม . ลักษณะทางพฤกษศาสตร์   มักขึ้นเองตามป่าราบและบนเขาสูงๆ  แพร่พันธุ์ด้วยหน่อ ซึ่งแทงออกมาจากโคนต้น
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ลำต้นมีลักษณะเป็นปล้อง   ความยาวของปล้องในส่วนโคนลำต้นจะมีช่วงสั้น  และจะยาวขึ้นในช่วงกลางลำต้น  ความยาวของปล้อง  ตั้งแต่  2 – 30  เซนติเมตร  จำนวนปล้อง 12 – 23  ปล้อง   จำนวนลำต้น  ในแต่ละกอ    6 – 32  ลำต้น ดังใบงานเรื่อง  ความหนาแน่นของลำต้นไผ่รวก  ความสูงของลำต้นไผ่รวก  ขนาดลำต้นของไผ่รวก  การวัดเส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้นไผ่รวก  และจำนวนปล้องของลำต้นไผ่รวก
ใบ   ลักษณะของใบ  ใบเดี่ยวสีเขียว เรียวแหลมยาว ด้านหลังใบ  มีขนอ่อน  เมื่อสัมผัสแล้วรู้สึกนิ่ม ส่วนท้องใบจะสาก ระคายมือ  ก้านใบสั้น  ครีบใบเล็ก  ขอบใบ มีหนามเล็ก ๆ และคม รู้สึกได้เมื่อสัมผัส และเมื่อส่องผ่านกล้องจุลทรรศน์ จะเห็นมี  เส้นใบ   4-6  เส้น
ใบแก่จะมีสีเหลือง  และในฤดูแล้ง  จะร่วงจนหมดต้น ใบมีความหนา  0.055 – 0.13  มิลลิเมตร  ความกว้างของใบ  0.5 –1.5  เซนติเมตร   ความยาว  5 – 15  เซนติเมตร  ใบไผ่รวกที่แตกออกมาก่อน  จะมี  ขนาดใหญ่ที่สุด  และใบที่แตกออกมาทีหลังจะมีขนาดเล็กลงไปเรื่อย ๆ
ราก มีสีขาวแกมเหลืองรากของไผ่รวกมี  2  ชนิดคือ  รากฝอย  และ  รากแขนง รากฝอยมีขนาดเล็กมาก  เป็นฝอย  เรียวยาว แบ่งเป็น รากฝอยที่อยู่เหนือดิน  และ  รากฝอยที่อยู่ใต้ดิน รากฝอยที่อยู่เหนือดิน   พบมากตามข้อ  มีรากสั้น พบระหว่างข้อที่  1 – 3
รากฝอยที่อยู่ใต้ดิน   ยาวกว่ารากฝอยที่อยู่เหนือดิน  ทำหน้าที่  ดูดน้ำและแร่ธาตุต่าง ๆ ในดิน  มีลักษณะเป็นเส้นใยเกาะตัวหนากว่ารากฝอยที่อยู่เหนือดิน รากแขนง แตกออกจากรากฝอย  มีเส้นผ่าศูนย์กลาง  0.05 – 0.15  เซนติเมตร  ลักษณะเรียวยาว
กิ่ง   การแตกกิ่งมีลักษณะแบบผสมเหนือแนว ข้อในกาบหุ้มลำตั้งแต่ปล้องที่  6  จากโคนต้น  สูงจากพื้นอย่างต่ำ  50  เซนติเมตร  จำนวนกิ่งจะมีตั้งแต่  1 – 21  กิ่ง  การแตกกิ่งจะเริ่มจากโคนของลำต้นจนถึงยอดกิ่ง มี  2  ลักษณะ คือ  กิ่งแขนง และกิ่งย่อย   ซึ่งแตกออกจากตา มีลักษณะเป็นข้อปล้อง มีกาบหุ้ม เช่นเดียวกับลำต้น  กิ่งอ่อนมีสีเขียวสดและเมื่อกิ่งแก่สีจะเข้มขึ้นจนเป็นสีเขียวเข้ม มีแถบสีเหลืองแกมเขียวตามปล้อง  ในกิ่งย่อยจะมีจำนวนใบเฉลี่ย  3 – 9  ใบ
กาบหุ้มลำ มีลักษณะหนา  แข็ง  สีของกาบปล้องล่างพบว่ามีสีน้ำตาลเข้ม  ส่วนบนมีสีน้ำตาลอ่อน  ปลายกาบมีกระจังสูง  1 – 1.5  เซนติเมตร  ฐานกาบ กว้าง  5 – 13  เซนติเมตร  ยาว  10 – 14  เซนติเมตร  กาบจะหลุดร่วงเมื่อลำเจริญเติบโต เต็มที่  หลุดร่วงค่อนข้างยาก  โดยจะหลุดออกจากข้อล่าง ขึ้นข้อบน กาบลำ
หน่อ มีลักษณะยาวเรียว มีกาบสีเขียวหุ้ม  แต่ละหน่อมีปล้อง โดยเฉลี่ย  20  ปล้อง  ความยาวปล้อง  0.3 – 4  เซนติเมตร แตกหน่อเมื่อเริ่มเข้าสู่ฤดูฝน  มีขนาดเล็ก  เรียวยาว รสหวานกรอบ
วงชีวิตของไผ่รวก จากการศึกษาการขยายพันธุ์โดยใช้ตอหรือเหง้า พบว่า  เหง้าที่นำมาขยายพันธุ์ มีดินติดอยู่หรือไม่ก็ตามจะสามารถขยายพันธุ์ได้ และแตกหน่อใหม่ได้ในเวลาประมาณ  20  วัน   รูปแสดงเหง้าของต้นไผ่รวก ที่นำมาขยายพันธุ์ หากต้องการให้ไผ่รวกแตกหน่อนอกฤดูกาลก็สามารถทำได้โดย  ให้ความชุ่มชื้นแก่ดิน รูปแสดงหน่อไผ่รวกที่ออกหน่อนอกฤดูกาล  ( ฤดูฝน ) ส่วนการขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดของไผ่รวกนั้นไม่ได้ทำการศึกษา  เพราะไผ่รวกบริเวณที่ศึกษาไม่มีดอก
ความสัมพันธ์ระหว่างไผ่รวกกับสัตว์   สัตว์ที่พบบริเวณที่ทำการศึกษาส่วนมากพบสัตว์จำพวกแมงและแมลงต่างๆ  เช่น  แมลงทับ  หนอน  แมงมุม  ผีเสื้อ  เพลี้ย  ปลวก  ซึ่งสัตว์พวกนี้ใช้ประโยชน์จากไผ่ทั้งเป็นที่อยู่อาศัยและอาหาร
ความสัมพันธ์ระหว่างไผ่รวกกับพืช   ไผ่รวกเป็นพืชที่ขึ้นบริเวณกลางแจ้ง  อากาศค่อนข้าง  แห้งแล้ง  ดังนั้นพืชที่พบส่วนมากเป็นพืชที่สามารถทนสภาพที่ค่อนข้างแห้งแล้งได้ดี  เช่น  ส้มเกลี้ยง  ยอป่า  กัญชาป่า  สนวน  สุพรรณิการ์  แจง  มะขาม  หญ้าสาปเสือ  ฟ้าทะลายโจร  ต้นพวยงู  เป็นต้น  และพืชพวกนี้ใช้ประโยชน์จากดินขุยไผ่  นอกจากนี้ยังพบเห็ดไผ่ขึ้นอยู่บริเวณโคนของไผ่บางกอ  ขนาดของเห็ดมีเส้นผ่าศูนย์กลาง  3 - 4  เซนติเมตร  สูง  4 - 5  เซนติเมตร  มีลักษณะคล้ายร่มรูปพัด  มีสีน้ำตาลอ่อนสัมผัสแล้วรู้สึกลื่น  ในหนึ่งกอไผ่พบ  4 - 8  ดอก ดังรูป
ความสัมพันธ์ระหว่างไผ่รวกกับจุลินทรีย์   จุลินทรีย์ที่พบในบริเวณที่ศึกษา  ได้แก่  จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายซากพืช ซากสัตว์ โดยเฉพาะ จุลินทรีย์ที่ย่อยซากใบไผ่  หลังจากกระบวนการย่อยสลายเสร็จสิ้นลง  ทำให้ดินบริเวณนั้นมีความอุดมสมบูรณ์มาก  เรียกว่า  ดินขุยไผ่   ซึ่งสามารถนำไปใช้ปลูกพืชต่าง ๆ ได้ จุลินทรีย์ที่พบอีกชนิดหนึ่ง คือ  ไลเคนส์   พบติดอยู่กับต้นไม้  บริเวณใกล้เคียงกับกอไผ่ในฤดูฝนที่มีความชื้นสูง  ดังรูป
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องของประโยชน์ ไผ่ … ต้นไม้สารพัดประโยชน์ ต้นไผ่มีความผูกพันกับคนไทยมาช้านาน  และในปัจจุบันไผ่ก็ยังทรงคุณค่าประโยชน์นานับประการ  ไผ่มีประโยชน์ตั้งแต่ใช้สร้างที่อยู่อาศัย  ทำเครื่องมือเครื่องใช้ในครัวเรือน  เครื่องดนตรี  ของเล่น  ภาชนะเครื่องใช้  และหน่อไม้ก็ใช้ประโยชน์ต่อการบริโภคและขายเป็นอาชีพได้ ,[object Object],[object Object],1.  ใช้เป็นยารักษาโรค 1.1  ใบ   ขับและฟอกโลหิต  ขับระดูขาว  แก้มดลูกอักเสบ   1.2  ตา   แก้ร้อนในกระหายน้ำ  แก้พิษไข้  ไข้กาฬ 1.3  ราก   ขับปัสสาวะแก้ไตพิการ  ขับนิ่ว  แก้หนอง 1.4  หน่อ   แก้ตับหย่อน  ม้ามหย่อน  เลือดเป็นก้อน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
3.3  อาหารว่าง -  ขนมก๋วยท้อ -  ขนมแคะ -  ซาลาเปาไส้หน่อไม้ -  ปอเปี๊ยะทอด -  ก๋วยเตี๋ยวหลอดไส้หน่อไม้ -  ขนมกุยช่ายไส้หน่อไม้ -  ขนมจีบ 3.2  อาหารหวาน -  ขนมหน่อไม้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การศึกษาเรื่องไผ่รวก ของโรงเรียนอุทัยวิทยาคม บริเวณเขาสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี  ในเขตพื้นที่  126  ตารางเมตร  จำนวน  45  กอ  โดยมี วัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์ไม้ไผ่รวกเขาสะแกกรัง อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี ได้นำมา บูรณาการในการเรียนการสอน  ให้นักเรียนได้ใกล้ชิด กับธรรมชาติ และตระหนักในคุณค่าของไผ่รวกเขาสะแกกรัง  ศึกษาถึง  ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้ประโยชน์จากไผ่รวก เพื่อสร้างความสัมพันธ์  อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน และดำเนินการศึกษา  ด้านพฤกษศาสตร์  ชีววิทยา นิเวศวิทยา การใช้ประโยชน์ และภูมิปัญญาท้องถื่น สรุปผลการศึกษา

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชBeam Bame
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์Yuporn Tugsila
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตKan Pan
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราsujitrapa
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 

Was ist angesagt? (20)

Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
wan
wanwan
wan
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
New species
New speciesNew species
New species
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
Plant oui
Plant ouiPlant oui
Plant oui
 

Andere mochten auch

Olga fiorini corso dsa
Olga fiorini corso dsaOlga fiorini corso dsa
Olga fiorini corso dsaattilio milo
 
Grunnleggende kurs i styring av oppmerksomhet kurs ii
Grunnleggende kurs i styring av oppmerksomhet kurs iiGrunnleggende kurs i styring av oppmerksomhet kurs ii
Grunnleggende kurs i styring av oppmerksomhet kurs iiGamnes farm
 

Andere mochten auch (7)

corso RHO
corso RHOcorso RHO
corso RHO
 
Ctrh strumenti
Ctrh strumentiCtrh strumenti
Ctrh strumenti
 
Botany
BotanyBotany
Botany
 
Pavia milo 4_3_11
Pavia milo 4_3_11Pavia milo 4_3_11
Pavia milo 4_3_11
 
Olga fiorini corso dsa
Olga fiorini corso dsaOlga fiorini corso dsa
Olga fiorini corso dsa
 
Iulm mat sup
Iulm mat supIulm mat sup
Iulm mat sup
 
Grunnleggende kurs i styring av oppmerksomhet kurs ii
Grunnleggende kurs i styring av oppmerksomhet kurs iiGrunnleggende kurs i styring av oppmerksomhet kurs ii
Grunnleggende kurs i styring av oppmerksomhet kurs ii
 

Ähnlich wie Raitai

Ähnlich wie Raitai (20)

Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Ita
ItaIta
Ita
 
Ita
ItaIta
Ita
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
Pakleang Resize
Pakleang ResizePakleang Resize
Pakleang Resize
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
01092008 Akey
01092008 Akey01092008 Akey
01092008 Akey
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
LA445 02
LA445 02LA445 02
LA445 02
 
Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 

Raitai

  • 1.  
  • 2. ชื่อพื้นเมือง ไผ่รวก ภาคเหนือเรียก ไม้ฮวก ชื่อวิทยาศาสตร์ Thyrsostachys slamensis Gamble ชื่อวงศ์ GRAMINEAE การปลูก ไผ่รวกเป็นไผ่ลำเล็ก ขึ้นชิดแน่นทึบ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 9.5 ซม . สูง 5-10 เมตร ไม่มีหนาม หน้าใบมีขนเล็กๆ กาบหุ้ม กาบหน่อ สีขาว ลำปล้อง แต่ละปล้อง ยาว 7-23 ซม . ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ มักขึ้นเองตามป่าราบและบนเขาสูงๆ แพร่พันธุ์ด้วยหน่อ ซึ่งแทงออกมาจากโคนต้น
  • 3.
  • 4. ลำต้นมีลักษณะเป็นปล้อง ความยาวของปล้องในส่วนโคนลำต้นจะมีช่วงสั้น และจะยาวขึ้นในช่วงกลางลำต้น ความยาวของปล้อง ตั้งแต่ 2 – 30 เซนติเมตร จำนวนปล้อง 12 – 23 ปล้อง จำนวนลำต้น ในแต่ละกอ 6 – 32 ลำต้น ดังใบงานเรื่อง ความหนาแน่นของลำต้นไผ่รวก ความสูงของลำต้นไผ่รวก ขนาดลำต้นของไผ่รวก การวัดเส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้นไผ่รวก และจำนวนปล้องของลำต้นไผ่รวก
  • 5. ใบ ลักษณะของใบ ใบเดี่ยวสีเขียว เรียวแหลมยาว ด้านหลังใบ มีขนอ่อน เมื่อสัมผัสแล้วรู้สึกนิ่ม ส่วนท้องใบจะสาก ระคายมือ ก้านใบสั้น ครีบใบเล็ก ขอบใบ มีหนามเล็ก ๆ และคม รู้สึกได้เมื่อสัมผัส และเมื่อส่องผ่านกล้องจุลทรรศน์ จะเห็นมี เส้นใบ 4-6 เส้น
  • 6. ใบแก่จะมีสีเหลือง และในฤดูแล้ง จะร่วงจนหมดต้น ใบมีความหนา 0.055 – 0.13 มิลลิเมตร ความกว้างของใบ 0.5 –1.5 เซนติเมตร ความยาว 5 – 15 เซนติเมตร ใบไผ่รวกที่แตกออกมาก่อน จะมี ขนาดใหญ่ที่สุด และใบที่แตกออกมาทีหลังจะมีขนาดเล็กลงไปเรื่อย ๆ
  • 7. ราก มีสีขาวแกมเหลืองรากของไผ่รวกมี 2 ชนิดคือ รากฝอย และ รากแขนง รากฝอยมีขนาดเล็กมาก เป็นฝอย เรียวยาว แบ่งเป็น รากฝอยที่อยู่เหนือดิน และ รากฝอยที่อยู่ใต้ดิน รากฝอยที่อยู่เหนือดิน พบมากตามข้อ มีรากสั้น พบระหว่างข้อที่ 1 – 3
  • 8. รากฝอยที่อยู่ใต้ดิน ยาวกว่ารากฝอยที่อยู่เหนือดิน ทำหน้าที่ ดูดน้ำและแร่ธาตุต่าง ๆ ในดิน มีลักษณะเป็นเส้นใยเกาะตัวหนากว่ารากฝอยที่อยู่เหนือดิน รากแขนง แตกออกจากรากฝอย มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.05 – 0.15 เซนติเมตร ลักษณะเรียวยาว
  • 9. กิ่ง การแตกกิ่งมีลักษณะแบบผสมเหนือแนว ข้อในกาบหุ้มลำตั้งแต่ปล้องที่ 6 จากโคนต้น สูงจากพื้นอย่างต่ำ 50 เซนติเมตร จำนวนกิ่งจะมีตั้งแต่ 1 – 21 กิ่ง การแตกกิ่งจะเริ่มจากโคนของลำต้นจนถึงยอดกิ่ง มี 2 ลักษณะ คือ กิ่งแขนง และกิ่งย่อย ซึ่งแตกออกจากตา มีลักษณะเป็นข้อปล้อง มีกาบหุ้ม เช่นเดียวกับลำต้น กิ่งอ่อนมีสีเขียวสดและเมื่อกิ่งแก่สีจะเข้มขึ้นจนเป็นสีเขียวเข้ม มีแถบสีเหลืองแกมเขียวตามปล้อง ในกิ่งย่อยจะมีจำนวนใบเฉลี่ย 3 – 9 ใบ
  • 10. กาบหุ้มลำ มีลักษณะหนา แข็ง สีของกาบปล้องล่างพบว่ามีสีน้ำตาลเข้ม ส่วนบนมีสีน้ำตาลอ่อน ปลายกาบมีกระจังสูง 1 – 1.5 เซนติเมตร ฐานกาบ กว้าง 5 – 13 เซนติเมตร ยาว 10 – 14 เซนติเมตร กาบจะหลุดร่วงเมื่อลำเจริญเติบโต เต็มที่ หลุดร่วงค่อนข้างยาก โดยจะหลุดออกจากข้อล่าง ขึ้นข้อบน กาบลำ
  • 11. หน่อ มีลักษณะยาวเรียว มีกาบสีเขียวหุ้ม แต่ละหน่อมีปล้อง โดยเฉลี่ย 20 ปล้อง ความยาวปล้อง 0.3 – 4 เซนติเมตร แตกหน่อเมื่อเริ่มเข้าสู่ฤดูฝน มีขนาดเล็ก เรียวยาว รสหวานกรอบ
  • 12. วงชีวิตของไผ่รวก จากการศึกษาการขยายพันธุ์โดยใช้ตอหรือเหง้า พบว่า เหง้าที่นำมาขยายพันธุ์ มีดินติดอยู่หรือไม่ก็ตามจะสามารถขยายพันธุ์ได้ และแตกหน่อใหม่ได้ในเวลาประมาณ 20 วัน รูปแสดงเหง้าของต้นไผ่รวก ที่นำมาขยายพันธุ์ หากต้องการให้ไผ่รวกแตกหน่อนอกฤดูกาลก็สามารถทำได้โดย ให้ความชุ่มชื้นแก่ดิน รูปแสดงหน่อไผ่รวกที่ออกหน่อนอกฤดูกาล ( ฤดูฝน ) ส่วนการขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดของไผ่รวกนั้นไม่ได้ทำการศึกษา เพราะไผ่รวกบริเวณที่ศึกษาไม่มีดอก
  • 13. ความสัมพันธ์ระหว่างไผ่รวกกับสัตว์ สัตว์ที่พบบริเวณที่ทำการศึกษาส่วนมากพบสัตว์จำพวกแมงและแมลงต่างๆ เช่น แมลงทับ หนอน แมงมุม ผีเสื้อ เพลี้ย ปลวก ซึ่งสัตว์พวกนี้ใช้ประโยชน์จากไผ่ทั้งเป็นที่อยู่อาศัยและอาหาร
  • 14. ความสัมพันธ์ระหว่างไผ่รวกกับพืช ไผ่รวกเป็นพืชที่ขึ้นบริเวณกลางแจ้ง อากาศค่อนข้าง แห้งแล้ง ดังนั้นพืชที่พบส่วนมากเป็นพืชที่สามารถทนสภาพที่ค่อนข้างแห้งแล้งได้ดี เช่น ส้มเกลี้ยง ยอป่า กัญชาป่า สนวน สุพรรณิการ์ แจง มะขาม หญ้าสาปเสือ ฟ้าทะลายโจร ต้นพวยงู เป็นต้น และพืชพวกนี้ใช้ประโยชน์จากดินขุยไผ่ นอกจากนี้ยังพบเห็ดไผ่ขึ้นอยู่บริเวณโคนของไผ่บางกอ ขนาดของเห็ดมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 - 4 เซนติเมตร สูง 4 - 5 เซนติเมตร มีลักษณะคล้ายร่มรูปพัด มีสีน้ำตาลอ่อนสัมผัสแล้วรู้สึกลื่น ในหนึ่งกอไผ่พบ 4 - 8 ดอก ดังรูป
  • 15. ความสัมพันธ์ระหว่างไผ่รวกกับจุลินทรีย์ จุลินทรีย์ที่พบในบริเวณที่ศึกษา ได้แก่ จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายซากพืช ซากสัตว์ โดยเฉพาะ จุลินทรีย์ที่ย่อยซากใบไผ่ หลังจากกระบวนการย่อยสลายเสร็จสิ้นลง ทำให้ดินบริเวณนั้นมีความอุดมสมบูรณ์มาก เรียกว่า ดินขุยไผ่ ซึ่งสามารถนำไปใช้ปลูกพืชต่าง ๆ ได้ จุลินทรีย์ที่พบอีกชนิดหนึ่ง คือ ไลเคนส์ พบติดอยู่กับต้นไม้ บริเวณใกล้เคียงกับกอไผ่ในฤดูฝนที่มีความชื้นสูง ดังรูป
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19. 3.3 อาหารว่าง - ขนมก๋วยท้อ - ขนมแคะ - ซาลาเปาไส้หน่อไม้ - ปอเปี๊ยะทอด - ก๋วยเตี๋ยวหลอดไส้หน่อไม้ - ขนมกุยช่ายไส้หน่อไม้ - ขนมจีบ 3.2 อาหารหวาน - ขนมหน่อไม้
  • 20.
  • 21. การศึกษาเรื่องไผ่รวก ของโรงเรียนอุทัยวิทยาคม บริเวณเขาสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี ในเขตพื้นที่ 126 ตารางเมตร จำนวน 45 กอ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์ไม้ไผ่รวกเขาสะแกกรัง อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี ได้นำมา บูรณาการในการเรียนการสอน ให้นักเรียนได้ใกล้ชิด กับธรรมชาติ และตระหนักในคุณค่าของไผ่รวกเขาสะแกกรัง ศึกษาถึง ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้ประโยชน์จากไผ่รวก เพื่อสร้างความสัมพันธ์ อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน และดำเนินการศึกษา ด้านพฤกษศาสตร์ ชีววิทยา นิเวศวิทยา การใช้ประโยชน์ และภูมิปัญญาท้องถื่น สรุปผลการศึกษา