SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 86
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ศักดา สรรพปัญญาวงศ์ CFP®
www.a-academy.net
02/10/2016 1
202/10/2016
แนะนาวิทยากร
เอ ศักดา สรรพปัญญาวงศ์ CFP®
 ผู้ก่อตั้ง เว็บไซต์ A-Academy : A Free Lifelong Learning Academy
เว็บไซต์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning)
โดยเฉพาะเรื่อง “ความรู้ทางการเงินภาคปฏิบัติ”
 วิทยากร สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (AIMC)
หลักสูตร CFP®, Asset Allocation, Investment Planning
และ Refresher Course อื่นๆ
 ผู้แต่ง หนังสือ “คนไทยฉลาดการเงิน”
และ “จัดทัพลงทุน ตอน รวยแบบอัตโนมัติ”
 นักวางแผนการเงินคุณวุฒิวิชาชีพ CFP®
(Certified Financial PlannerTM)
302/10/2016
ต้องมีเท่าไร
แก่ไป... ถึงไม่ลาบาก ?
402/10/2016
ลองคานวณ... แบบง่ายๆ
20,000
บาท/เดือน
12
เดือน
20
ปีx x
502/10/2016
อัตราเงินเฟ้อ! ในชีวิตประจาวัน
ที่มา : สานักดัชนีเศรษฐกิจการค้า สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงพาณิชย์
สินค้า
ราคาต่อหน่วยบริโภค ราคาเพิ่มขึ้น
(ใน 12 ปี)
อัตราเงินเฟ้อ
(% ต่อปี)ธ.ค. 45 ธ.ค. 57
บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป รสหมูสับ
บรรจุซอง 60 กรัม (ตรามาม่า)
4.82 5.92 23% 1.7%
เนื้อสุกร สันใน 96.00 152.87 59% 4.0%
ข้าวสารเจ้า ข้าวหอมมะลิ 100%
บรรจุถุง 5 กก. (ตรามาบุญครอง)
112.00 211.77 89% 5.5%
น้ามันดีเซล ชนิดหมุนเร็ว
(ตรา ปตท.)
13.86 27.60 99% 5.9%
ค่าห้องพักคนไข้ โรงพยาบาลเอกชน
ห้องพิเศษเดี่ยวปรับอากาศ
1,561.25 3,433.33 120% 6.8%
602/10/2016
เงินเฟ้อ! = ภัยซ่อนเร้น… ศัตรูตัวจริงของทุกคน
0 5 10 15 20 25 30 35
สมมติฐาน : อัตราเงินเฟ้อระยะยาว = 3.0% ต่อปี
1.3
1.8
2.4
4.8 ล้านบาท
6.2 ล้านบาท
8.6ล้านบาท
11.5 ล้านบาท
1.0
1. ประเมินค่าใช้จ่ายวัยเกษียณ (ด้วยราคาสินค้า ณ ปัจจุบัน)
702/10/2016
300 x 30 = 9,000
700 x 4 = 2,800
3,000
1,000
2,000
24,000/12 = 2,000
-
60,000/12 = 5,000
2,000
26,800
802/10/2016
26,800 2.1 56,280
2. ปรับให้เป็นค่าเงินในอนาคตด้วยตัวคูณเงินเฟ้อ
902/10/2016
3. คานวณทุนเกษียณอายุที่เหมาะสม
56,280 20 13,507,200
ไม่ควรประเมินน้อยเกินไป
อย่างน้อยควรเผื่ออายุขัย
ถึงประมาณ 80 ปี
เป็นเป้าหมายขั้นต้น
หากลงทุนหลังเกษียณ
ได้ผลตอบแทนมากขึ้น
อาจเตรียมเงินน้อยกว่านี้ได้
หมายเหตุ การคานวณทุนเกษียณวิธีนี้ มีสมมติฐานว่าเมื่อเกษียณอายุแล้ว จะต้องสามารถนาทุนเกษียณนี้ไปลงทุน
ให้ได้ผลตอบแทนในอัตรา เท่ากับ อัตราเงินเฟ้อช่วงหลังเกษียณอายุ
1002/10/2016
เรื่องสาคัญแต่ไม่เร่งด่วน...
สุดท้ายจะกลายเป็นเรื่องเร่งด่วนที่แก้ไขไม่ทัน!
1102/10/2016
ดอกเบี้ยทบต้น เป็นพลังที่
ทรงอานุภาพที่สุด ในจักรวาล
The most powerful force in the universe is compound interest
ดอกเบี้ยทบต้น สิ่งมหัศจรรย์ที่ทุกคนเข้าถึงได้!
1202/10/2016
กฎ 72 อธิบายพลังของการทบต้น
ระยะเวลาที่ทาให้เงินโตขึ้น 1 เท่าตัว (ปี) =
72
ผลตอบแทนต่อปี
หากฝากเงินได้ ดอกเบี้ย 2% ต่อปี
ต้องใช้เวลาเท่าไร เงินลงทุนจึงจะเติบโตเป็นเท่าตัว ? 36 ปี
หากลงทุนเป็นระยะเวลาที่เท่ากัน
แต่ได้ ผลตอบแทน 12% ต่อปี เงินจะเติบโตเป็นกี่เท่า ? 64 เท่า
1302/10/2016
ดาวโหลด App เครื่องคิดเลขการเงิน
ระบบปฏิบัติการ iOS
(Apple iPhone, iPad, iPod Touch)
เข้า App Store ติดตั้ง App ชื่อ
EZ Financial Calculators
ระบบปฏิบัติการ Android
(Samsung, HTC, LG, Lenovo, Oppo, ฯลฯ)
เข้า Play Store ติดตั้ง App ชื่อ
Financial Calculators
ดาวโหลดได้ฟรี
1402/10/2016
เงินลงทุนที่มี/ต้องใช้ ณ ปัจจุบัน
เงินที่ต้องลงทุนเพิ่มในแต่ละปี
มูลค่าเงินลงทุนเป้าหมายในอนาคต
อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยต่อปี
จานวนปีที่ลงทุน
เลือกเป็น Annually (รายปี)
ลงทุนทุกสิ้นปี หรือ ทุกต้นปี
TVM Calculator คานวณเกี่ยวกับดอกเบี้ยทบต้น
ตั้งค่าการคานวณ
เป็นรายปีก่อน
1502/10/2016
1. ลงทุนเงินก้อนเท่านี้ เงินจะเติบโตเป็นเท่าไร ?
มูลค่าเงินลงทุนเป้าหมายในอนาคต
เงินลงทุนที่มีอยู่แล้ว (ใส่เป็นค่าติดลบ)
อัตราผลตอบแทนเฉลี่ย (% ต่อปี)
เลือกความถี่การทบต้นเป็น Annually
จานวนปี
5,234,820
10
30
-300,000
มีเงินลงทุนทั้งสิ้น 300,000 บาท หากสามารถลงทุนได้ผลตอบแทนเฉลี่ย 10% ต่อปี
โดยลงทุนเป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 30 ปี อยากทราบว่าเงินลงทุนจะเติบโตเป็นเท่าใด ?

เงินที่จะลงทุนเพิ่มรายปี (ใส่เป็นค่าติดลบ) 0
1602/10/2016
2. ลงทุนเงินรายเดือนเท่านี้ เงินจะเติบโตเป็นเท่าไร ?
มูลค่าเงินลงทุนเป้าหมายในอนาคต
เงินลงทุนที่มีอยู่แล้ว (ใส่เป็นค่าติดลบ)
อัตราผลตอบแทนเฉลี่ย (% ต่อปี)
เลือกความถี่การทบต้นเป็น Annually
จานวนปี
9,756,877
10
35
0
วางแผนลงทุนเป็นประจาเดือนละ 3,000 บาท (ปีละ 36,000 บาท)
หากสามารถลงทุนได้ผลตอบแทนเฉลี่ย 10% ต่อปี
โดยลงทุนเป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 35 ปี อยากทราบว่าเงินลงทุนจะเติบโตเป็นเท่าใด ?

เงินที่จะลงทุนเพิ่มรายปี (ใส่เป็นค่าติดลบ) -36,000
1702/10/2016
3. ลงทุนเงินก้อน + เงินรายเดือน เงินจะเติบโตเป็นเท่าไร ?
มูลค่าเงินลงทุนเป้าหมายในอนาคต
เงินลงทุนที่มีอยู่แล้ว (ใส่เป็นค่าติดลบ)
อัตราผลตอบแทนเฉลี่ย (% ต่อปี)
เลือกความถี่การทบต้นเป็น Annually
จานวนปี
7,821,914
8
20
-500,000
ลงทุนทันที 500,000 บาท และ ลงทุนเพิ่มเดือนละ 10,000 บาท (ปีละ 120,000 บาท)
หากสามารถลงทุนได้ผลตอบแทนเฉลี่ย 8% ต่อปี
โดยลงทุนเป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 20 ปี อยากทราบว่าเงินลงทุนจะเติบโตเป็นเท่าใด ?

เงินที่จะลงทุนเพิ่มรายปี (ใส่เป็นค่าติดลบ) -120,000
จะหาผลตอบแทนดีๆ ได้ที่ไหน ?
1802/10/2016
1902/10/2016
สินทรัพย์เพื่อการลงทุน (Investment Assets)
ทางเลือก
เงินฝาก
ตราสารหนี้ระยะสั้น
ตราสารหนี้ระยะยาว
อสังหาริมทรัพย์
หุ้น
ทองคา , น้ามัน , ค่าเงิน
เจ้าของ
เจ้าหนี้
มั่นคงปลอดภัย
ผลตอบแทนแน่นอน
จากดอกเบี้ยรับ
แต่อาจแพ้เงินเฟ้อ
ผลตอบแทน
ชนะเงินเฟ้อ
แต่มีความไม่แน่นอน
คาดการณ์ยาก
ใช้กระจายความเสี่ยง
สินทรัพย์ลงทุนพื้นฐาน สาหรับนักลงทุนไทย
2002/10/2016
ปี เงินฝาก
ประจา 1 ปี
ตราสารหนี้
(ระยะสั้น)
ตราสารหนี้
(ระยะยาว)
ผสม
(หุ้น 15%)
ผสม
(หุ้น 30%)
ผสม
(หุ้น 60%)
หุ้นไทย
(รวมปันผล)
1999 6.00% 6.88% 7.75% 11.29% 15.70% 24.51% 36.27%
2000 4.08% 7.77% 14.29% 0.13% (7.51%) (22.78%) (43.15%)
2001 3.50% 4.33% 8.33% 5.96% 7.59% 10.85% 15.20%
2002 2.75% 4.41% 10.18% 6.83% 9.24% 14.07% 20.51%
2003 2.00% 2.57% (2.49%) 20.29% 38.00% 73.44% 120.68%
2004 1.00% 0.58% 2.87% (1.17%) (2.92%) (6.43%) (11.10%)
2005 1.00% 0.42% (0.23%) 1.92% 3.43% 6.43% 10.44%
2006 2.88% 5.30% 5.48% 4.40% 3.50% 1.69% (0.71%)
2007 4.46% 6.11% 7.63% 9.75% 13.40% 20.68% 30.40%
2008 2.33% 7.84% 18.78% 0.05% (7.75%) (23.34%) (44.12%)
2009 1.75% 1.78% (4.18%) 11.89% 22.01% 42.23% 69.20%
2010 0.68% 1.78% 5.76% 8.22% 14.66% 27.54% 44.71%
2011 1.63% 2.96% 5.61% 2.96% 2.96% 2.97% 2.97%
2012 3.00% 4.02% 3.30% 9.39% 14.75% 25.49% 39.80%
2013 2.50% 3.42% 2.14% 2.36% 1.29% (0.83%) (3.67%)
2014 2.25% 3.97% 9.37% 6.18% 8.39% 12.81% 18.71%
2015 1.72% 3.14% 5.09% 0.95% (1.24%) (5.63%) (11.47%)
ค่าเฉลี่ย 2.55% 3.93% 5.72% 5.83% 7.43% 9.79% 11.13%
สินทรัพย์ลงทุนพื้นฐาน สาหรับนักลงทุนสหรัฐฯ
2102/10/2016
Ibbotson® SBBI®
Stocks, Bonds, Bills and Inflation 1926-2014
ที่มา : Ibbotson, Morningstar
ตราสารหนี้ระยะสั้น
อัตราเงินเฟ้อ
ตราสารหนี้ระยะยาว
หุ้นขนาดใหญ่
หุ้นขนาดเล็ก
2202/10/2016
กองทุนหุ้นที่ได้ผลตอบแทนย้อนหลัง 10 ปีสูงที่สุด
ที่มา : WealthMagik ณ วันที่ 30 มิ.ย. 59
อันดับ บลจ
ผลตอบแทนย้อนหลัง (% ต่อปี)
3 ปี 5 ปี 7 ปี 10 ปี
BTP BBLAM 4.21 16.90 19.77 15.09
RPF2 MFC 4.06 12.02 19.48 14.22
BBASIC BBLAM 4.00 14.44 18.46 14.04
KTSE KTAM 2.93 10.81 17.47 14.00
TNP MFC 4.51 11.86 18.52 13.97
STD2 MFC 4.32 11.57 18.95 13.96
BKA BBLAM 3.03 13.64 18.04 13.93
SF7 MFC 4.33 11.98 18.37 13.89
STD MFC 3.91 11.40 18.87 13.89
SCIF MFC 3.90 11.69 19.02 13.83
เรียกว่า “ค่าเฉลี่ย” แต่แทบไม่มีปีไหนได้ตามค่าเฉลี่ย
2302/10/2016
3
0
1
2
3
4
5
6
7
จานวนครั้ง(ปี)
ผลตอบแทนรายปีของหุ้นไทย (SET Total Return Index)
มีเพียง 3 ปี จาก 41 ปี (โอกาส 7.3%)
ที่หุ้นไทยมีผลตอบแทนใกล้เคียงค่าเฉลี่ย
ที่ประมาณ 10% ต่อปี
ทาความเข้าใจ
ความเสี่ยง
ช่วงนี้ให้ได้
2402/10/2016
ระยะสั้นหุ้นสามารถขึ้นลงด้วยปัจจัยใดก็ได้
แต่ระยะยาวหุ้นขึ้นลงตามผลประกอบการของบริษัท (1)
BDMS : บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จากัด (มหาชน)
2502/10/2016
ระยะสั้นหุ้นสามารถขึ้นลงด้วยปัจจัยใดก็ได้
แต่ระยะยาวหุ้นขึ้นลงตามผลประกอบการของบริษัท (2)
CENTEL : บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จากัด (มหาชน)
กองทุน
ผลตอบแทน (%) ผลตอบแทนเฉลี่ย (% ต่อปี)
3 เดือน 6 เดือน 1 ปี 3 ปี 5 ปี 10 ปี
CIMB-PRINCIPAL iPROP-A 3.98 15.10 13.80 9.03 - -
LHTPROP 3.01 20.14 27.53 - - -
LHPROP-I 2.43 17.75 - - - -
M-PROPERTY 4.37 17.76 24.78 10.23 14.49 -
M-PROP DIV 4.09 18.48 25.35 - - -
ONE-PROP 3.11 15.92 21.59 8.60 12.38 -
ONEPROP-D 2.67 13.49 16.35 6.04 - -
PHATRA PROP 3.65 16.64 21.83 9.80 - -
PHATRA PROP-D 4.23 15.21 18.50 - - -
T-PROPERTY 2.54 20.04 28.53 - - -
T-PropInfraFlex 5.14 - - - - -
TMBPIPF 5.40 13.85 8.89 - - -
ผลตอบแทนในอดีตของ Fund of Property Funds
ที่กระจายการลงทุนในกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ต่างๆ
2602/10/2016
ที่มา : WealthMagik - เมนู Fund Screener ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิ.ย. 59
2702/10/2016
อย่าเพิ่งคิดว่าง่าย เครื่องมือดี ต้องใช้ให้เป็นด้วย!
สถิติผลตอบแทนดีๆ มีให้เห็นอยู่
แต่เอาเข้าจริง น้อยคนที่ได้รับผลตอบแทนนั้น
2802/10/2016
สินทรัพย์ลงทุนพื้นฐาน สาหรับนักลงทุนสหรัฐฯ
2902/10/2016
Ibbotson® SBBI®
Stocks, Bonds, Bills and Inflation 1926-2014
ที่มา : Ibbotson, Morningstar
3002/10/2016
ระยะเวลาบรรลุเป้าหมาย
มูลค่าเป้าหมาย
เวลา
มูลค่าพอร์ต
กลยุทธ์การลงทุนช่วงเริ่มต้น
KISS : Keep It Simple and Stupid
 แบ่งเงินเป็นสัดส่วนชัดเจน
ลงทุนอย่างมีเป้าหมาย
 ทาความเข้าใจธรรมชาติ
ของสินทรัพย์เพื่อการลงทุน
ว่ามีผลตอบแทน และ
ความเสี่ยงเป็นอย่างไร
 เลือกเครื่องมือที่ง่าย
เหมาะกับระยะเวลาลงทุน
และเพียงพอให้บรรลุเป้าหมาย
 เน้นการทยอยลงทุนด้วยวิธี
Dollar-Cost Averaging (DCA)
เพื่อสร้างฐานะอย่างต่อเนื่อง
3102/10/2016
ไม่เก็ง เน้นสะสม
 รู้ข้อจากัดตัวเอง ว่าคาดการณ์ตลาดไม่ถูก
มือใหม่ ประสบการณ์ก็ยังน้อย มือเก๋าก็ยังผิด
 เชื่อว่าสินทรัพย์ลงทุนให้ผลตอบแทนดีในระยะยาว
ลาพังเท่านี้ ก็ใช้เปลี่ยนแปลงชีวิต ยกระดับฐานะได้
 รอได้ เงินเย็น มีระยะเวลาลงทุน
เวลาจะช่วยจัดการกับความผันผวน
 ยอมรับว่าอาจแพ้บางศึก แต่ชนะสงคราม
ใช้วินัยและความต่อเนื่องเป็นอาวุธ
เริ่มต้นลงทุนผ่าน “กองทุนรวม”
3202/10/2016
เครื่องมือที่เรียบง่าย ใช้เงินลงทุนเริ่มต้นน้อย
3302/10/2016
สินทรัพย์ที่ต้องการลงทุน ประเภทกองทุนรวม
เงินฝาก ตั๋วเงินคลัง
ตราสารหนี้ระยะสั้น
พันธบัตร หุ้นกู้
ตราสารหนี้
หุ้นไทย
หุ้นต่างประเทศ
อสังหาริมทรัพย์
โครงสร้างพื้นฐาน
ทองคา
กองทุนหุ้น / ตราสารทุน
(Equity Fund)
กองทุนรวมทองคา
(Gold Fund)
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์
(Property Fund / REITs)
กองทุนรวมตลาดเงิน
(Money Market Fund)
กองทุนรวมตราสารหนี้
(Fixed Income Fund)
ต้องการผลตอบแทนจากสินทรัพย์ไหน เลือกกองทุนประเภทนั้น
ปลูกพืชให้ถูกพันธุ์... เพื่อให้ทันเก็บกิน
3402/10/2016
1%
2%
3%
4%
5%
6%
7%
8%
9%
10%
11%
12%
1 ปี 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี 6 ปี 7 ปี
ผลตอบแทนที่คาดหวัง
กองทุน
ตราสารหนี้
กองทุนผสม
(หุ้น 30-40%)
หรือ กองทุนอสังหาฯ
กองทุนผสม
(หุ้น 15-20%)
กองทุนผสม
(หุ้น 60-70%)
กองทุน
หุ้น
ระยะเวลาการลงทุนขั้นต่าที่แนะนา
กองทุน
ตลาดเงิน
กองทุนรวมหุ้นระยะยาว (LTF)
กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF)
สถิติผลตอบแทนและความเสี่ยงในอดีตของสินทรัพย์พื้นฐาน
3502/10/2016
ปี ตราสารหนี้ ผสมแบบระมัดระวัง
(หุ้น 15%)
ผสมเสี่ยงปานกลาง
(หุ้น 30%)
ผสมเชิงรุก
(หุ้น 60%) หุ้นไทย
1999 6.88% 11.29% 15.70% 24.51% 36.27%
2000 7.77% 0.13% (7.51%) (22.78%) (43.15%)
2001 4.33% 5.96% 7.59% 10.85% 15.20%
2002 4.41% 6.83% 9.24% 14.07% 20.51%
2003 2.57% 20.29% 38.00% 73.44% 120.68%
2004 0.58% (1.17%) (2.92%) (6.43%) (11.10%)
2005 0.42% 1.92% 3.43% 6.43% 10.44%
2006 5.30% 4.40% 3.50% 1.69% (0.71%)
2007 6.11% 9.75% 13.40% 20.68% 30.40%
2008 7.84% 0.05% (7.75%) (23.34%) (44.12%)
2009 1.78% 11.89% 22.01% 42.23% 69.20%
2010 1.78% 8.22% 14.66% 27.54% 44.71%
2011 2.96% 2.96% 2.96% 2.97% 2.97%
2012 4.02% 9.39% 14.75% 25.49% 39.80%
2013 3.42% 2.36% 1.29% (0.83%) (3.67%)
2014 3.97% 6.18% 8.39% 12.81% 18.71%
2015 3.14% 0.95% (1.24%) (5.63%) (11.47%)
ค่าเฉลี่ย 3.93% 5.83% 7.43% 9.79% 11.13%
หมายเหตุ การวางแผนไปในอนาคตสามารถปรับลดอัตราผลตอบแทนในอดีตลงประมาณ 1-2% หากต้องการเพิ่มความระมัดระวัง
3602/10/2016
แนวทางคัดเลือกกองทุนอย่างง่าย
Percentile Ranking
3702/10/2016
เว็บไซต์สมาคมบริษัทจัดการลงทุน : www.aimc.or.th
ผลการดาเนินงาน กองทุนหุ้นไทยทั้งอุตสาหกรรม
3802/10/2016
ที่มา : สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (AIMC) ณ 30 มิ.ย. 59
ใส่ใจเลือกสักนิด ผลตอบแทนระยะยาวแตกต่างกันมาก
3902/10/2016
ที่มา : สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (AIMC) ณ 30 มิ.ย. 59
1.00 3.26
10 ปี
1.00 2.58
1.00 2.76
1.00 3.69
10 ปี
1.00 2.11
1.00 2.94
ตัวอย่าง ประเมิน KFSDIV ด้วย Percentile Ranking
4002/10/2016
ที่มา : สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (AIMC) และ บลจ. กรุงศรี ณ 30 มิ.ย. 59
ตัวอย่าง ประเมิน BBASIC ด้วย Percentile Ranking
4102/10/2016
ที่มา : สมาคมบริษัทจัดการลงทุน (AIMC) และ บลจ. บัวหลวง ณ 30 มิ.ย. 59
ทางเลือกของการจัดสรรสินทรัพย์เพื่อการลงทุน
4202/10/2016
Thai
Bond
Thai
Stock
Thai
Bond
Foreign
Bond
Thai
Stock
Foreign
Stock
Thai
Bond
Foreign
Bond
Property
/REITs
Thai
Stock
Foreign
Stock
Thai
Bond
Foreign
Bond
Property
/REITs
Thai
Stock
Foreign
Stock
AI
สินทรัพย์การเงิน
ในประเทศ
สินทรัพย์การเงิน
ทั่วโลก
สินทรัพย์การเงิน
+ อสังหาริมทรัพย์
ทั่วโลก
สินทรัพย์การเงิน
+ อสังหาริมทรัพย์
+ สินทรัพย์ทางเลือก
ทั่วโลก
สร้างฐานะด้วย “วินัย”
4302/10/2016
“ผมจะปลูกต้นไม้ไปจนกว่าผมจะตาย”
ร.ต.ต. วิชัย สุริยุทธ
ผู้ปลูกต้นไม้กว่า 3 ล้านต้น
ในพื้นที่รกร่างทิ้งว่าง อ.ปรางค์กู่ จ.ศรีสะเกษ
ออมแบบไหน... ง่ายกว่ากัน ?
4402/10/2016
เมื่อจ่ายให้กับสิ่งที่ “สาคัญ” และ “จาเป็น” ครบถ้วนแล้ว ก็สามารถใช้จ่ายเงินที่เหลือ
ได้อย่าง อิสระ โดย ไม่ต้องกังวล และ อาจไม่ต้องทาบัญชีรับจ่ายเพิ่มเติม
1) รับเงินเดือน 20,000 บาท เพื่อใช้จ่ายอย่างประหยัด
พยายามเหลือเงินไว้ 2,000 บาท เพื่อนาไปลงทุนสิ้นเดือน
2) หักเงินไปลงทุนก่อน 2,000 บาท และใช้จ่ายอย่าง
ไม่ต้องกังวล จากเงิน 18,000 บาท ส่วนที่เหลืออยู่
เก็บออมและลงทุนให้เป็น อัตโนมัติ!
4502/10/2016
ทาเองทุกๆ เดือน
(เหนื่อยหน่อย ลืมได้ โอกาสพลาดสูง)
ทาให้เป็นอัตโนมัติ
(วินัยสูงสุด สะดวก และไม่เหนื่อย)
VS
ได้ประโยชน์จากวิธี Dollar-Cost Averaging (DCA)
4602/10/2016
ขึ้นได้รักษาวินัย!
ลงทุนต่อเนื่องไม่พลาดการเติบโต
ลงได้ต้นทุนที่ดี!
ต่าวันนี้ สูงวันหน้า
DCA หุ้นไทย ระยะเวลา 10 ปี (2006-2015)
4702/10/2016
0
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
1,200,000
1,400,000
0
20
40
60
80
100
120
140
160
Jan-06
Aug-06
Mar-07
Oct-07
May-08
Dec-08
Jul-09
Feb-10
Sep-10
Apr-11
Nov-11
Jun-12
Jan-13
Aug-13
Mar-14
Oct-14
May-15
Dec-15
จานวนหน่วยสะสม ต้นทุนสะสม มูลค่าพอร์ต
หน่วย บาทลงทุนเดือนละ 5,000 บาท IRR = 10.8% ต่อปี
4802/10/2016
ผลลัพธ์การลงทุน DCA หุ้นไทย ช่วง วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์
Date
ดัชนี้หุ้นไทย
(SET Index)
ต้นทุน หน่วยที่ได้
มูลค่า
ณ ธ.ค. 2009
% กาไร หน่วยสะสม ต้นทุนสะสม
มูลค่าสะสม
ณ ธ.ค. 2009
% กาไรสะสม
Dec-07 858.10 5,000 5.8268 4,280 -14.40% 5.8268 5,000 4,280 -14.40%
Jan-08 784.23 5,000 6.3757 4,683 -6.34% 12.2025 10,000 8,963 -10.37%
Feb-08 845.76 5,000 5.9118 4,342 -13.15% 18.1143 15,000 13,306 -11.30%
Mar-08 817.03 5,000 6.1197 4,495 -10.10% 24.2341 20,000 17,801 -11.00%
Apr-08 832.45 5,000 6.0064 4,412 -11.76% 30.2404 25,000 22,213 -11.15%
May-08 833.65 5,000 5.9977 4,406 -11.89% 36.2382 30,000 26,618 -11.27%
Jun-08 768.59 5,000 6.5054 4,778 -4.43% 42.7436 35,000 31,397 -10.29%
Jul-08 676.32 5,000 7.3930 5,430 8.61% 50.1365 40,000 36,827 -7.93%
Aug-08 684.44 5,000 7.3052 5,366 7.32% 57.4418 45,000 42,193 -6.24%
Sep-08 596.54 5,000 8.3817 6,157 23.13% 65.8234 50,000 48,350 -3.30%
Oct-08 416.53 5,000 12.0039 8,817 76.35% 77.8274 55,000 57,167 3.94%
Nov-08 401.84 5,000 12.4428 9,140 82.79% 90.2701 60,000 66,307 10.51%
Dec-08 449.96 5,000 11.1121 8,162 63.25% 101.3822 65,000 74,469 14.57%
Jan-09 437.69 5,000 11.4236 8,391 67.82% 112.8059 70,000 82,860 18.37%
Feb-09 431.52 5,000 11.5869 8,511 70.22% 124.3928 75,000 91,371 21.83%
Mar-09 431.50 5,000 11.5875 8,511 70.23% 135.9803 80,000 99,883 24.85%
Apr-09 491.69 5,000 10.1690 7,470 49.39% 146.1493 85,000 107,353 26.30%
May-09 560.41 5,000 8.9220 6,554 31.07% 155.0713 90,000 113,906 26.56%
Jun-09 597.48 5,000 8.3685 6,147 22.94% 163.4398 95,000 120,053 26.37%
Jul-09 624.00 5,000 8.0128 5,886 17.71% 171.4526 100,000 125,939 25.94%
Aug-09 653.25 5,000 7.6540 5,622 12.44% 179.1067 105,000 131,561 25.30%
Sep-09 717.07 5,000 6.9728 5,122 2.44% 186.0795 110,000 136,683 24.26%
Oct-09 685.24 5,000 7.2967 5,360 7.19% 193.3762 115,000 142,043 23.52%
Nov-09 689.07 5,000 7.2562 5,330 6.60% 200.6324 120,000 147,372 22.81%
Dec-09 734.54
ราคายังไม่ฟื้นตัว
ยังขาดทุน -14.4%
4902/10/2016
เตรียม เกษียณ อย่างไร แก่ไป... ไม่ลาบาก
แหล่งเงินทุนเพื่อเกษียณอายุ : ภาคเอกชน
5002/10/2016
4
3
2
1แหล่งเงินทุน
ขั้นพื้นฐาน
เงินชดเชยตามกฎหมาย
บานาญ ประกันสังคม
กองทุนสารองเลี้ยงชีพ
ออม/ลงทุนเพิ่มด้วยตัวเอง
เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน
5102/10/2016
ระยะเวลาในการทางาน อัตราเงินชดเชย
ตั้งแต่ 120 วัน แต่ไม่ถึง 1 ปี 30 วัน
ตั้งแต่ 1 ปี แต่ไม่ถึง 3 ปี 90 วัน
ตั้งแต่ 3 ปี แต่ไม่ถึง 6 ปี 180 วัน
ตั้งแต่ 6 ปี แต่ไม่ถึง 10 ปี 240 วัน
ตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป 300 วัน
บานาญชราภาพ กองทุนประกันสังคม
5202/10/2016
ระยะเวลาที่
จ่ายเงินสมทบ (ปี)
ร้อยละของเงินเดือน
เฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย*
เงินบานาญ
(บาท/เดือน)
15 20.0% 3,000
16 21.5% 3,225
17 23.0% 3,450
18 24.5% 3,675
19 26.0% 3,900
20 27.5% 4,125
25 35.0% 5,250
30 42.5% 6,375
31 44.0% 6,600
32 45.5% 6,825
33 47.0% 7,050
34 48.5% 7,275
35 50.0% 7,500
36 51.5% 7,725
37 53.0% 7,950
38 54.5% 8,175 * สูงสุดอัตรา 15,000 บาท/เดือน
5302/10/2016
3
2
1แหล่งเงินทุน
ขั้นพื้นฐาน
เงินบานาญ
กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ
ออม/ลงทุนเพิ่มด้วยตัวเอง
แหล่งเงินทุนเพื่อเกษียณอายุ : ข้าราชการ
เงินบานาญ
5402/10/2016
เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ
กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข.
50
เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x เวลาราชการ
กรณีเป็นสมาชิก กบข.
50
* แต่ไม่เกินร้อยละ 70 ของอัตราเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย
เงินบานาญ =
เงินบานาญ* =
ตัวอย่าง เงินบานาญ (สูตรสมาชิก กบข.)
5502/10/2016
เงินเดือนเฉลี่ย
(60 เดือนสุดท้าย)
เวลาราชการ (ปี)
30 ปี 35 ปี 40 ปี
30,000 18,000 21,000 21,000
40,000 24,000 28,000 28,000
50,000 30,000 35,000 35,000
60,000 36,000 42,000 42,000
70,000 42,000 49,000 49,000
80,000 48,000 56,000 56,000
90,000 54,000 63,000 63,000
100,000 60,000 70,000 70,000
* สูงสุดไม่เกินร้อยละ 70 ของอัตราเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย
กองทุนสารองเลี้ยงชีพ (Provident Fund)
5602/10/2016
สมมติฐานการคานวณ : เริ่มเป็นสมาชิกฯ เมื่ออายุ 22 ปี, เงินเดือนเริ่มต้น 15,000 บาท จากนั้นเพิ่มขึ้นปีละ 5% ทุกปี
อัตราเงินสะสม = 5% และ อัตราเงินสมทบ = 5%
1,026,855
3,183,952
4,482,605
6,561,062
12,398,410
0
2,000,000
4,000,000
6,000,000
8,000,000
10,000,000
12,000,000
14,000,000
22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60
มูลค่าเงินกองทุนสารองเลี้ยงชีพของมนุษย์เงินเดือนทั่วไป
เมื่อสามารถลงทุนได้ผลตอบแทนระดับต่างๆ
ประเมินเงินกองทุนสารองเลี้ยงชีพ (PVD)
5702/10/2016
เข้าเมนู Retirement/401k Calculator กด 401k Contribution Calculator
ยอดเงินรวมใน PVD ณ ปัจจุบัน
เงินเดือนปัจจุบัน
คาดการณ์อัตราการขึ้นของเงินเดือน
อัตราเงินสะสม (ส่วนของเรา)
อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ
อัตราเงินสมทบ (ส่วนของนายจ้าง)
จานวนปีจากปัจจุบันถึงอายุเกษียณ
ยอดเงิน PVD ณ วันเกษียณอายุ
ประเมินเงินกองทุนสารองเลี้ยงชีพ (PVD)
5802/10/2016
เข้าเมนู Retirement/401k Calculator กด 401k Contribution Calculator
ยอดเงินรวมใน PVD ณ ปัจจุบัน
เงินเดือนปัจจุบัน
คาดการณ์อัตราการขึ้นของเงินเดือน
อัตราเงินสะสม (ส่วนของเรา)
อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ
อัตราเงินสมทบ (ส่วนของนายจ้าง)
จานวนปีจากปัจจุบันถึงอายุเกษียณ
ยอดเงิน PVD ณ วันเกษียณอายุ
กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ (กบข.)
5902/10/2016
 ได้เลือกแผนการลงทุนให้สอดคล้องกับระยะเวลาการลงทุน
และวัตถุประสงค์การลงทุนแล้วหรือไม่ ?
 ใช้สิทธิ์ “ออมเพิ่ม” แล้วหรือยัง ?
(ออมเพิ่มได้อีก 1–12% ของเงินเดือน รวมสูงสุด 15%)
แผนการลงทุน 4 แผนดั้งเดิม
6002/10/2016
แผนตั้งต้น
ของสมาชิก กบข.
ทุกราย
แผนการลงทุน แผนสมดุลตามอายุ
6102/10/2016
6202/10/2016
เข้าเมนู Retirement/401k Calculator กด 401k Contribution Calculator
ยอดเงินรวมใน กบข. ณ ปัจจุบัน
เงินเดือนปัจจุบัน
คาดการณ์อัตราการขึ้นของเงินเดือน
อัตราเงินสะสม (ของข้าราชการ)
อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ
อัตราเงินสมทบ (ของรัฐฯ)
จานวนปีจากปัจจุบันถึงอายุเกษียณ
ยอดเงิน กบข. ณ วันเกษียณอายุ
ประเมิน กบข. ณ วันเกษียณอายุ : กรณีปกติ
6302/10/2016
เข้าเมนู Retirement/401k Calculator กด 401k Contribution Calculator
ยอดเงินรวมใน กบข. ณ ปัจจุบัน
เงินเดือนปัจจุบัน
คาดการณ์อัตราการขึ้นของเงินเดือน
อัตราเงินสะสม (ของข้าราชการ)
อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ
อัตราเงินสมทบ (ของรัฐฯ)
จานวนปีจากปัจจุบันถึงอายุเกษียณ
ยอดเงิน กบข. ณ วันเกษียณอายุ
ประเมิน กบข. ณ วันเกษียณอายุ : กรณีเปลี่ยนแผนการลงทุน
6402/10/2016
ออมเพิ่มเต็มสิทธิ์ 15%
ลงทุนได้ผลตอบแทนเฉลี่ย 6%
ออมเพิ่มเต็มสิทธิ์ 15%
ลงทุนได้ผลตอบแทนเฉลี่ย 8%
ประเมิน กบข. ณ วันเกษียณอายุ : กรณีออมเพิ่ม & เปลี่ยนแผน
6502/10/2016
เก็บออม และ ลงทุนเพิ่ม ด้วยตนเอง
6602/10/2016
ตัวอย่าง #1 กรณีเริ่มต้นเร็ว และไม่มีเงินลงทุนตั้งต้น
ไม่มี เงินลงทุนเริ่มต้น
เงินที่ต้องลงทุนเพิ่มในแต่ละปี
เป้าหมาย = 10 ล้านบาท
ผลตอบแทนเฉลี่ย = 10% ต่อปี
ระยะเวลาการลงทุน = 30 ปี
หรือ เดือนละ
5,000
หรือ เดือนละ 3,000
และโบนัส 24,000
6702/10/2016
ตัวอย่าง #2 กรณีเริ่มต้นช้า แต่มีเงินลงทุนตั้งต้น
มีเงินลงทุนเริ่มต้น = 5 แสนบาท
เงินที่ต้องลงทุนเพิ่มในแต่ละปี
เป้าหมาย = 10 ล้านบาท
ผลตอบแทนเฉลี่ย = 10% ต่อปี
ระยะเวลาการลงทุน = 20 ปี
แผนลงทุนมนุษย์เงินเดือน 10/1
6802/10/2016
เงินเดือนขึ้น ลงทุนรายเดือน ลงทุนโบนัส ผลตอบแทน
5.0% 10.0% 1.0 10.0%
รายได้
เงินเดือน รายเดือน โบนัส ต้นงวด ลงทุนเพิ่ม ผลตอบแทน ปลายงวด
1 31 25,000 2,500 25,000 0 55,000 0 55,000
2 32 26,250 2,625 26,250 55,000 57,750 5,500 118,250
3 33 27,563 2,756 27,563 118,250 60,638 11,825 190,713
5 35 30,388 3,039 30,388 273,453 66,853 27,345 367,651
10 40 38,783 3,878 38,783 887,281 85,323 88,728 1,061,333
15 45 49,498 4,950 49,498 1,999,323 108,896 199,932 2,308,152
20 50 63,174 6,317 63,174 3,947,855 138,982 394,785 4,481,622
25 55 80,627 8,063 80,627 7,287,096 177,380 728,710 8,193,186
26 56 84,659 8,466 84,659 8,193,186 186,250 819,319 9,198,754
27 57 88,892 8,889 88,892 9,198,754 195,562 919,875 10,314,192
28 58 93,336 9,334 93,336 10,314,192 205,340 1,031,419 11,550,951
29 59 98,003 9,800 98,003 11,550,951 215,607 1,155,095 12,921,653
30 60 102,903 10,290 102,903 12,921,653 226,387 1,292,165 14,440,206
อายุปีที่
เงินลงทุน มูลค่าเงินลงทุน
แผนลงทุนมนุษย์เงินเดือน 20/3
6902/10/2016
เงินเดือนขึ้น ลงทุนรายเดือน ลงทุนโบนัส ผลตอบแทน
7.0% 20.0% 3.0 10.0%
รายได้
เงินเดือน รายเดือน โบนัส ต้นงวด ลงทุนเพิ่ม ผลตอบแทน ปลายงวด
1 31 30,000 6,000 90,000 0 162,000 0 162,000
2 32 32,100 6,420 96,300 162,000 173,340 16,200 351,540
3 33 34,347 6,869 103,041 351,540 185,474 35,154 572,168
5 35 39,324 7,865 117,972 827,842 212,349 82,784 1,122,975
10 40 55,154 11,031 165,461 2,805,238 297,830 280,524 3,383,592
15 45 77,356 15,471 232,068 6,582,407 417,723 658,241 7,658,370
20 50 108,496 21,699 325,487 13,496,660 585,877 1,349,666 15,432,204
25 55 152,171 30,434 456,513 25,797,775 821,723 2,579,777 29,199,276
26 56 162,823 32,565 488,469 29,199,276 879,244 2,919,928 32,998,448
27 57 174,221 34,844 522,662 32,998,448 940,791 3,299,845 37,239,083
28 58 186,416 37,283 559,248 37,239,083 1,006,647 3,723,908 41,969,638
29 59 199,465 39,893 598,395 41,969,638 1,077,112 4,196,964 47,243,714
30 60 213,428 42,686 640,283 47,243,714 1,152,510 4,724,371 53,120,595
อายุปีที่
เงินลงทุน มูลค่าเงินลงทุน
เมื่อไร ? ควรให้ความสาคัญกับการจับจังหวะ (Timing)
7002/10/2016
 ผ่านการฝึกฝนและมีทักษะในการคาดการณ์ภาวะตลาด
 ขนาดพอร์ตมีมูลค่ามาก เมื่อเทียบกับขนาดเป้าหมาย
 ระยะเวลาการลงทุนเหลือสั้น
 หากเกิดวิกฤติ ทนรับผลขาดทุนหนักๆ
เช่นเดียวกับที่เคยเกิดขึ้นอดีต เช่น ในปี 2551/2008 ไม่ไหว
“ตอบถูกข้อใดข้อหนึ่ง ก็ต้องให้ความสาคัญกับ Timing แล้ว”
7102/10/2016
เวลา
มูลค่าพอร์ต
กลยุทธ์การลงทุน ช่วงใกล้เป้าหมาย
ระยะเวลาบรรลุเป้าหมาย
มูลค่าเป้าหมาย
Key Actions
 ปรับลดความเสี่ยง
ของพอร์ตการลงทุน
เมื่อระยะเวลาการลงทุนสั้นลง
 กาหนดมูลค่าต่าสุดของพอร์ต
ที่จะพักหรือหยุดการลงทุน
กรณีเกิดวิกฤติช่วงใกล้เกษียณ
 ทบทวนมูลค่าพอร์ต
เปรียบเทียบกับเป้าหมาย
และพิจารณาเพิ่มเงินลงทุน
กรณีที่แผนการลงทุนปัจจุบัน
ไม่สามารถบรรลุเป้าหมาย
7202/10/2016
ระยะเวลาการลงทุนสั้นลงเรื่อยๆ
ตัวอย่าง การปรับลดความเสี่ยงของ กบข.
7302/10/2016
เราคงไม่อยากให้ความเสียหายเกิดขึ้นในช่วงใกล้เกษียณ ?
7402/10/2016
ปี ตราสารหนี้ ผสมแบบระมัดระวัง
(หุ้น 15%)
ผสมเสี่ยงปานกลาง
(หุ้น 30%)
ผสมเชิงรุก
(หุ้น 60%) หุ้นไทย
1999 6.88% 11.29% 15.70% 24.51% 36.27%
2000 7.77% 0.13% (7.51%) (22.78%) (43.15%)
2001 4.33% 5.96% 7.59% 10.85% 15.20%
2002 4.41% 6.83% 9.24% 14.07% 20.51%
2003 2.57% 20.29% 38.00% 73.44% 120.68%
2004 0.58% (1.17%) (2.92%) (6.43%) (11.10%)
2005 0.42% 1.92% 3.43% 6.43% 10.44%
2006 5.30% 4.40% 3.50% 1.69% (0.71%)
2007 6.11% 9.75% 13.40% 20.68% 30.40%
2008 7.84% 0.05% (7.75%) (23.34%) (44.12%)
2009 1.78% 11.89% 22.01% 42.23% 69.20%
2010 1.78% 8.22% 14.66% 27.54% 44.71%
2011 2.96% 2.96% 2.96% 2.97% 2.97%
2012 4.02% 9.39% 14.75% 25.49% 39.80%
2013 3.42% 2.36% 1.29% (0.83%) (3.67%)
2014 3.97% 6.18% 8.39% 12.81% 18.71%
2015 3.14% 0.95% (1.24%) (5.63%) (11.47%)
ค่าเฉลี่ย 3.93% 5.83% 7.43% 9.79% 11.13%
0.0
1.0
2.0
3.0
4.0
5.0
6.0
7.0
8.0
9.0
10.0
11.0
12.0
13.0
14.0
15.0
16.0
35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55
แผนการลงทุน ต้นทุนสะสม
ออกแบบเส้นทางการลงทุน
7502/10/2016
วินัย
ทักษะ
เวลา
ต้นงวด ลงทุนเพิ่ม ปลายงวด
1 36 1,000,000 10.0% 100,000 200,000 1,300,000
2 37 1,300,000 10.0% 130,000 200,000 1,630,000
3 38 1,630,000 10.0% 163,000 200,000 1,993,000
4 39 1,993,000 10.0% 199,300 200,000 2,392,300
5 40 2,392,300 10.0% 239,230 200,000 2,831,530
6 41 2,831,530 10.0% 283,153 250,000 3,364,683
7 42 3,364,683 10.0% 336,468 250,000 3,951,151
8 43 3,951,151 10.0% 395,115 250,000 4,596,266
9 44 4,596,266 10.0% 459,627 250,000 5,305,893
10 45 5,305,893 10.0% 530,589 250,000 6,086,482
11 46 6,086,482 8.0% 486,919 300,000 6,873,401
12 47 6,873,401 8.0% 549,872 300,000 7,723,273
13 48 7,723,273 8.0% 617,862 300,000 8,641,135
14 49 8,641,135 8.0% 691,291 300,000 9,632,426
15 50 9,632,426 8.0% 770,594 300,000 10,703,020
16 51 10,703,020 8.0% 856,242 300,000 11,859,261
17 52 11,859,261 4.0% 474,370 300,000 12,633,632
18 53 12,633,632 4.0% 505,345 300,000 13,438,977
19 54 13,438,977 4.0% 537,559 300,000 14,276,536
20 55 14,276,536 4.0% 571,061 300,000 15,147,598
ปีที่ อายุ
มูลค่าเงินลงทุน
ผลตอบแทน
0.0
2.0
4.0
6.0
8.0
10.0
12.0
14.0
16.0
35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55
ผลลัพธ์จริง แผนการลงทุน ต้นทุนสะสม
ต้นงวด ลงทุนเพิ่ม ปลายงวด
1 36 1,000,000 -2.4% -24,000 200,000 1,176,000
2 37 1,176,000 -15.0% -176,400 200,000 1,199,600
3 38 1,199,600 34.7% 416,261 200,000 1,815,861
4 39 1,815,861 42.1% 764,478 200,000 2,780,339
5 40 2,780,339 -5.0% -139,017 200,000 2,841,322
6 41 2,841,322 7.5% 213,099 250,000 3,304,421
7 42 3,304,421 2.1% 69,393 250,000 3,623,814
8 43 3,623,814 57.0% 2,065,574 250,000 5,939,388
9 44 5,939,388 -14.0% -831,514 250,000 5,357,873
10 45 5,357,873 24.2% 1,296,605 250,000 6,904,479
11 46 6,904,479 3.6% 248,561 300,000 7,453,040
12 47 7,453,040 7.8% 581,337 300,000 8,334,377
13 48 8,334,377 -5.0% -416,719 300,000 8,217,658
14 49 8,217,658 17.0% 1,397,002 300,000 9,914,660
15 50 9,914,660 6.1% 604,794 300,000 10,819,454
16 51 10,819,454 7.2% 779,001 300,000 11,898,455
17 52 11,898,455 5.0% 594,923 300,000 12,793,378
18 53 12,793,378 -3.0% -383,801 300,000 12,709,577
19 54 12,709,577 11.4% 1,448,892 300,000 14,458,468
20 55 14,458,468 2.8% 404,837 300,000 15,163,305
ปีที่ อายุ
มูลค่าเงินลงทุน
ผลตอบแทน
ผลลัพธ์การลงทุนจริง
7602/10/2016
วินัย
ทักษะ
เวลา
ใส่เงินลงทุนเพิ่ม
ได้ตามแผนหรือไม่
สร้างผลตอบแทน
ได้ตามแผนหรือไม่
วางแผน & จัดพอร์ตลงทุน เพื่อเป้าหมายอื่นๆ ในชีวิต
7702/10/2016
ที่มา : Goals-based Investing: Integrating Traditional and Behavioral Finance โดย Dan Nevins
7802/10/2016
ฝันที่สวยงามของครอบครัวนี้... จะเป็นจริงได้หรือไม่ ?
อายุ 35 ปี, สามี-ภรรยามีรายได้ 60,000 บาท/เดือน, มีเงินลงทุนเริ่มต้น 500,000 บาท
สรุปเป้าหมาย : อะไร ? เท่าไร ? เมื่อไร ?
7902/10/2016
เป้าหมาย
ระยะเวลา
บรรลุเป้าหมาย
มูลค่าเป้าหมาย
1. ท่องเที่ยว 3 ปี 200,000 บาท
2. ดาวน์รถใหม่ 5 ปี 300,000 บาท
3. เงินทุนเพื่อการศึกษาบุตร 15 ปี 2,000,000 บาท
4. เงินทุนเพื่อเกษียณอายุ 25 ปี 10,000,000 บาท
วางแผนเงินลงทุน
8002/10/2016
เป้าหมาย ท่องเที่ยว ดาวน์รถ การศึกษาบุตร ทุนเกษียณ รวม
ลาดับความสาคัญ 4 3 2 1
เงินลงทุนเริ่มต้น 50,000 100,000 100,000 250,000 500,000
เงินลงทุนเป้าหมาย 200,000 300,000 2,000,000 10,000,000 12,500,000
ระยะเวลาบรรลุเป้าหมาย
(ปี)
3 5 15 25
อัตราผลตอบแทน
ที่คาดหวัง (% ต่อปี)
3% 5% 8% 10%
เงินที่ต้องลงทุนต่อเดือน
(คานวณจาก App)
4,000 2,600 5,200 6,200 18,000
ตัวอย่าง เครื่องมือลงทุน
กองทุน
ตราสารหนี้
กองทุนผสม
(หุ้น 15%)
กองทุนผสม
(หุ้น 60%)
กองทุนหุ้น
(หุ้น 100%)
Saving Rate
30%
8102/10/2016
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2016
กระแสเงินสดรับ
เงินเดือน 60,000 60,000 60,000 60,000 60,000 60,000 61,200 61,200 61,200 61,200 61,200 61,200 727,200
คอมมิชชั่น/โบนัส 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
เงินปันผล 0 0 0 0 30,000 0 0 0 0 0 0 0 30,000
รายได้อื่นๆ : 0 0 20,000 0 0 0 0 0 20,000 0 0 0 40,000
รวมกระแสเงินสดรับ 60,000 60,000 80,000 60,000 90,000 60,000 61,200 61,200 81,200 61,200 61,200 61,200 797,200
กระแสเงินสดจ่าย
ออมและลงทุน 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 216,000
เพื่อ : ท่องเที่ยว 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 48,000
เพื่อ : ดาวน์รถ 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 31,200
เพื่อ : การศึกษาบุตร 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 5,200 62,400
เพื่อ : เกษียณอายุ 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 6,200 74,400
คงที่ 26,950 26,950 26,950 41,950 63,950 26,950 26,950 26,950 26,950 44,950 26,950 26,950 393,400
ภาษี 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 14,400
ประกันสังคม 750 750 750 750 750 750 750 750 750 750 750 750 9,000
กองทุนสารองเลี้ยงชีพ / กบข. 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 1,800 21,600
ค่างวดบ้าน / ค่าเช่าบ้าน 13,000 13,000 13,000 13,000 50,000 13,000 13,000 13,000 13,000 13,000 13,000 13,000 193,000
ค่างวดรถ 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 8,000 96,000
ค่างวด / เงินคืนหนี้อื่นๆ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
ค่าน้า ค่าไฟ 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 12,000
ค่าโทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต เคเบิ้ล 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 14,400
เบี้ยประกัน 0 0 0 15,000 0 0 0 0 0 18,000 0 0 33,000
ผันแปร 12,000 12,000 12,000 24,000 12,000 12,000 12,000 12,000 12,000 12,000 20,000 26,500 178,500
ค่าอาหาร 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 60,000
ค่าเดินทาง 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 36,000
ค่าใช้จ่ายสุขภาพ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 8,000 0 8,000
ค่าใช้จ่ายส่วนตัวอื่นๆ 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 18,000
ค่าสันทนาการ/บันเทิง 2,000 2,000 2,000 14,000 2,000 2,000 2,000 2,000 2,000 2,000 2,000 14,000 48,000
ค่าทาบุญ 500 500 500 500 500 500 500 500 500 500 500 3,000 8,500
ค่าใช้จ่ายผันแปรอื่นๆ : 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
รวมกระแสเงินสดจ่าย 56,950 56,950 56,950 83,950 93,950 56,950 56,950 56,950 56,950 74,950 64,950 71,450 787,900
กระแสเงินสดสุทธิ 3,050 3,050 23,050 -23,950 -3,950 3,050 4,250 4,250 24,250 -13,750 -3,750 -10,250 9,300
รวมแผนการลงทุนเข้าสู่แผนงบประมาณ (Budget)
8202/10/2016
ลงทุนให้เหมือนวิ่งมาราธอน!
8302/10/2016
1. Plan
2. Adjust
3. Invest
4. Monitor
คาดการณ์เงินทุนที่ต้องใช้เพื่อเกษียณอายุได้อย่างเป็นสุข
ออกแบบวิถีชีวิตในวัยเกษียณแบบที่เราต้องการ
ปรับแผนการลงทุนของเงินที่มีอยู่ ณ ปัจจุบันให้เหมาะสม
รวมทั้งกองทุนสารองเลี้ยงชีพ และ กบข.
ลงทุนเพิ่มในเครื่องมือที่เหมาะสม และทาให้เป็นอัตโนมัติ
อย่าลืม... ลงทุนเพิ่มขึ้นเมื่อมีรายได้เพิ่มขึ้น
ติดตามเป็นระยะ และปรับลดความเสี่ยงลงเมื่อใกล้ใช้เงิน
ให้โอกาสเงินได้ทางานเต็มที่ ขณะที่เราออกไปใช้ชีวิตให้มีคุณค่า
สรุปขั้นตอน การวางแผนเกษียณรวย
8402/10/2016
เวลาที่ดีที่สุดในการปลูกป่าคือ 20 ปีที่แล้ว
เวลาดีที่สุดรองลงมาคือ... ตอนนี้!
เริ่มวันนี้… วันที่เรายังมีเวลามากที่สุด!
8502/10/2016
เรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง ทุกที่ ทุกเวลา
ผ่านวีดีโอ Streaming บน .
เชิญศึกษาเพิ่มเติมได้ฟรีที่ www.a-academy.net เมนู Videos
ขอให้ประสบความสาเร็จ... ในทุกสิ่งที่มุ่งหวังนะครับ
8602/10/2016
กล้าที่จะฝัน
มีแผนรองรับ
ลงมือทา
ไม่ล้มเลิก

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Sudarat Makon
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
Ornkapat Bualom
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
แวมไพร์ แวมไพร์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
ทัศนะ แก้วช่วย
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
Tong Thitiphong
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power point
Thank Chiro
 
เกศสุดา2
เกศสุดา2เกศสุดา2
เกศสุดา2
Kat Suksrikong
 

Was ist angesagt? (20)

ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
 
พลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลพลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวล
 
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
มรนว ค่านิยม 12 ประการ
มรนว ค่านิยม 12 ประการมรนว ค่านิยม 12 ประการ
มรนว ค่านิยม 12 ประการ
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่ายแผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
 
หลักการแต่งไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.๙ โดย..เจ้าคุณอาจารย์พระธรรมวโรดม วัดเบญจมบพ...
หลักการแต่งไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.๙ โดย..เจ้าคุณอาจารย์พระธรรมวโรดม วัดเบญจมบพ...หลักการแต่งไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.๙ โดย..เจ้าคุณอาจารย์พระธรรมวโรดม วัดเบญจมบพ...
หลักการแต่งไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.๙ โดย..เจ้าคุณอาจารย์พระธรรมวโรดม วัดเบญจมบพ...
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power point
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
เกศสุดา2
เกศสุดา2เกศสุดา2
เกศสุดา2
 

Andere mochten auch

Pinkvertising Flipbook - FILM260
Pinkvertising Flipbook - FILM260Pinkvertising Flipbook - FILM260
Pinkvertising Flipbook - FILM260
Sofia Remtulla
 
How Far Is TOO Far?
How Far Is TOO Far? How Far Is TOO Far?
How Far Is TOO Far?
haileyoffman
 
Technology in-education--natalie-belciu
Technology in-education--natalie-belciu Technology in-education--natalie-belciu
Technology in-education--natalie-belciu
natalie_belciu
 
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศโครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
Tanong Sirisommai
 

Andere mochten auch (20)

เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 3เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 3
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
Themoneycoachshow_3_วางแผนการออมอัตโนมัติ
Themoneycoachshow_3_วางแผนการออมอัตโนมัติThemoneycoachshow_3_วางแผนการออมอัตโนมัติ
Themoneycoachshow_3_วางแผนการออมอัตโนมัติ
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
3. co2 measurement
3. co2 measurement3. co2 measurement
3. co2 measurement
 
Pinkvertising Flipbook - FILM260
Pinkvertising Flipbook - FILM260Pinkvertising Flipbook - FILM260
Pinkvertising Flipbook - FILM260
 
Orientation tae cte 2014v2
Orientation tae cte 2014v2Orientation tae cte 2014v2
Orientation tae cte 2014v2
 
Forges tazas
Forges   tazasForges   tazas
Forges tazas
 
How Far Is TOO Far?
How Far Is TOO Far? How Far Is TOO Far?
How Far Is TOO Far?
 
Technology in-education--natalie-belciu
Technology in-education--natalie-belciu Technology in-education--natalie-belciu
Technology in-education--natalie-belciu
 
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศโครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
 
How to Solve Your Money Problems? by Success Coach Nilesh
How to Solve Your Money Problems? by Success Coach NileshHow to Solve Your Money Problems? by Success Coach Nilesh
How to Solve Your Money Problems? by Success Coach Nilesh
 
03 spending v.3
03 spending v.303 spending v.3
03 spending v.3
 
01 dreams list
01 dreams list01 dreams list
01 dreams list
 
02 when i grow up v.2
02 when i grow up v.202 when i grow up v.2
02 when i grow up v.2
 

Ähnlich wie เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4

B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.
patmsy
 

Ähnlich wie เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4 (15)

B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.
 
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)
 
B11112008
B11112008B11112008
B11112008
 
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
 
SCG Financial Presentation
SCG Financial PresentationSCG Financial Presentation
SCG Financial Presentation
 
I S A Coop
I S A CoopI S A Coop
I S A Coop
 
ฉลาดใช้ฉลาดออม
ฉลาดใช้ฉลาดออมฉลาดใช้ฉลาดออม
ฉลาดใช้ฉลาดออม
 
Doc 1
Doc 1Doc 1
Doc 1
 
Project management ณรงค์ สัพโส
Project management ณรงค์ สัพโสProject management ณรงค์ สัพโส
Project management ณรงค์ สัพโส
 
Project management ณรงค์ สัพโส
Project management ณรงค์ สัพโสProject management ณรงค์ สัพโส
Project management ณรงค์ สัพโส
 
7.แผนรายได้
7.แผนรายได้7.แผนรายได้
7.แผนรายได้
 
สูตรลับการออมเพื่อวัยเกษียณสุข
สูตรลับการออมเพื่อวัยเกษียณสุขสูตรลับการออมเพื่อวัยเกษียณสุข
สูตรลับการออมเพื่อวัยเกษียณสุข
 
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...
 
The little book of valuation edit1
The little book of valuation edit1The little book of valuation edit1
The little book of valuation edit1
 
Nikkei International: Thai: การนำเสนอธุรกิจ
Nikkei International: Thai: การนำเสนอธุรกิจNikkei International: Thai: การนำเสนอธุรกิจ
Nikkei International: Thai: การนำเสนอธุรกิจ
 

เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4