SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory)
เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้ ได้มีการเปลี่ยนจากเดิมที่เน้นการศึกษา
ปัจจัยภายนอกมาเป็น สิ่งเร้าภายใน ซึ่งได้แก่ ความรู้ความเข้าใจ หรือ
กระบวนการรู้คิด กระบวนการคิด(Cognitive processes) ที่ช่วยส่งเสริมการ
เรียนรู้ จากผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยภายในมีส่วนช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้อย่างมี
ความหมาย และความรู้เดิมมีส่วนเกี่ยวข้องและเสริมสร้างความเข้าใจของผู้เรียน
จากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับคอนสตรัคติวิสซึมสรุปเป็นสาระสาคัญ
ได้ดังนี้
1. ความรู้ของบุคคลใด คือ โครงสร้างทางปัญญาของบุคคลนั้นที่สร้างขึ้นจาก
ประสบการณ์ในการคลี่คลายสถานการณ์ที่เป็นปัญหาและสามารถนาไปใช้เป็น
ฐานในการแก้ปัญหาหรืออธิบายสถานการณ์อื่น ๆได้
2. นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยวิธีการที่ต่าง ๆ กัน โดยอาศัยประสบการณ์
และโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิม ความสนใจและแรงจูงใจภายในตนเองเป็น
จุดเริ่มต้น
3. ครูมีหน้าที่จัดการให้นักเรียนได้ปรับขยายโครงสร้างทางปัญญาของนักเรียน
เอง
จากแนวคิดข้างต้นนี้กระบวนการเรียนการสอนในแนวคอนสตรัคติวิสซึม
จึงมักเป็นไปในแบบที่ให้นักเรียนสร้างความรู้จากการช่วยกันแก้ปัญหา
(Cooperative problem solving) กระบวนการเรียนการสอนจะเริ่มต้นด้วยปัญหา
ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา (Cognitive conflict) นั่นคือประสบการณ์
และโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิม ไม่สามารถจัดการแก้ปัญหานั้นได้ลงตัว
พอดีเหมือนปัญหาที่เคยแก้มาแล้ว ต้องมีการคิดค้นเพิ่มเติมที่เรียกว่า “การปรับ
โครงสร้าง” หรือ “การสร้างโครงสร้างใหม่” ทางปัญญา (Cognitive
restructuring) โดยการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ถกเถียงปัญหา ซักค้านจนกระทั่ง
หาเหตุผล
แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึม
1. Cognitive Constructivism มีพื้นฐานมาจากแนวคิดของ Piaget แนวคิด
ของทฤษฎีนี้ เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ โดยเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการลงมือ
กระทา Piaget เชื่อว่าถ้าผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญหาที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง
ปัญญา (Cognitive conflict) หรือเรียกว่าเกิดการเสียสมดุลย์ทางปัญญา
(Disequilibrium) ผู้เรียนต้องพยายามปรับโครงสร้างทางปัญญา (Cognitive
structuring)ให้เข้าสู่ภาวะสมดุลย์(Equilibrium) โดยวิธีการดูดซึม (Assimilation)
ได้แก่ การรับข้อมูลใหม่จากสิ่งแวดล้อมเข้าไปไว้ในโครงสร้างทางปัญญา และ
การปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญา(Accomodation) คือ การเชื่อมโยง
โครงสร้างทางปัญญาเดิม หรือความรู้เดิมที่มีมาก่อนกับข้อมูลข่าวสารใหม่
จนกระทั่งผู้เรียนสามารถปรับโครงสร้างทางปัญญาเข้าสู่สภาพสมดุลย์ หรือ
สามารถที่จะสร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ หรือเกิดการเรียนรู้นั่นเอง
2. Social Constructivism เป็นทฤษฎีที่มีรากฐานมาจาก Vygotsky ซึ่งมี
แนวคิดที่สาคัญที่ว่า "ปฏิสัมพัธ์ทางสังคม มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาด้าน
พุทธิปัญญา"รวมทั้งแนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญาที่อาจ
มีข้อจากัดเกี่ยวกับช่วงของการพัฒนาที่รียกว่า Zone of Proximal Development
ถ้าผู้เรียนอยู่ต่ากว่า Zone of Proximal Development จาเป็นที่จะต้องได้รับการ
ช่วยเหลือในการเรียนรู้ ที่เรียกว่า Scaffolding และVygotskyเชื่อว่าผู้เรียนสร้าง
ความรู้โดยผ่านทางการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น ได้แก่ เด็ก กับ ผู้ใหญ่ พ่อ
แม่ ครูและเพื่อน ในขณะที่เด็กอยู่ในบริบทของสังคมและวัฒนธรรม
(Sociocultural context )
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิซึม
- ผู้เรียนลงมือกระทาด้วยตนเอง (Learning are active)
- การเรียนรู้ควรสนับสนุนการร่วมมือกันไม่ใช่การแข่งขัน (Learning should
support collaboration , not competition)
- ให้ความสาคัญกับการควบคุมตนเองตามระดับของผู้เรียน (Focuses control
at the leaner level)
- นาเสนอประสบการณ์การเรียนรู้ที่ตรงกับสภาพที่เป็นจริงหรือ
ประสบการณ์การเรียนรู้ในชีวิตจริง (Provides authentic,real-world learning
experiences)
การออกแบบการสอนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
หลักการสาคัญมีอยู่ 5 ข้อ
1. Problem Base สถานการณ์ปัญหา
2. Data-bank แหล่งข้อมูล
3. Scaffolding ฐานความช่วยเหลือ
4. Coaching ผู้ฝึกสอน
5. Collaboration การร่วมมือกันในการแก้ปัญหา
การออกแบบการสอนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ข้อตกลงเบื้องต้นของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม
(Constructivism) ได้ให้ข้อตกลงไว้ดังนี้
1. การสร้างการเรียนรู้ (Learning Constructed) ความรู้จะถูกสร้างจากการ
เรียนรู้เป็นกระบวนการสร้าง สิ่งขึ้นแทนความรู้(Representation)ในสมองที่ผู้เรียน
เป็นผู้สร้างขึ้น
2. การแปลความหมายของแต่ละคน (Interpretation personal) การเรียนรู้เป็น
การแปลความหมายตามสภาพจริง (Real world) ของแต่ละคน" การเรียนรู้เป็นผล
จากการแปลความหมายตามประสบการณ์ของแต่ละคน
3. การเรียนรู้เกิดจาการลงมือกระทา (Learning active) การเรียนรู้เป็นการที่
ผู้เรียนได้ลงมือกระทาซึ่งเป็นการสร้าง ความหมายที่พัฒนาโดยอาศัยพื้นฐานของ
ประสบการณ์
4. การเรียนรู้ที่เกิดจากการร่วมมือ (Learning Collaborative) การพัฒนา
ความคิดรวบยอดของตนเอง ได้มาจากการร่วมแบ่งปัน แนวคิดที่หลากหลายในกลุ่ม
และในขณะเดียวกันก็ปรับเปลี่ยนการสร้างสิ่งที่แทนความรู้ในสมองที่สนองตอบต่อ
แนวคิดที่หลากหลายนั้น หรืออาจกล่าวได้ว่า ในขณะที่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดย
การอภิปรายเสนอความคิดเห็นที่หลากหลายของแต่ละคน ผู้เรียนจะมีการ
ปรับเปลี่ยนโครงสร้างความรู้ของตนด้วยและสร้างความหมายของตนเองขึ้นมาใหม่
5. การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Learning Situated)ควรเกิดขึ้นในสภาพชั้นเรียนจริง
6. การทดสอบเชิงการบูรณาการ (Testing Integrated) การทดสอบควรจะเป็น
การบูรณาการเข้ากับภารกิจการเรียน (Task) ไม่ควรเป็นกิจกรรมที่แยกออกจาก
บริบท การเรียนรู้
หลักการจัดการเรียนการสอน แบบ Brain Based Learning
Brain Based Learning คือการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการของ
สมองแต่ละช่วงวัย เป็นการนาองค์ความรู้เรื่องสมองมาใช้เป็นฐานในการ
ออกแบบกระบวนการเรียนรู้
การนาทฤษฏีพหุปัญามาใช้กับการเรียนการสอนแบบ
Brain Based Learning ศาสตราจารย์โฮวาร์ด การ์ดเนอร์ (Howard Gardner)
นักจิตวิทยา มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด ได้เสนอแนวคิดว่า ในปัจจุบันมีปัญญาอยู่
อย่างน้อย 8 ด้าน ดังนี้
1. ปัญญาด้านภาษา (Linguistic Intelligence)
2. ปัญญาด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ (Logical-Mathematical Intelligence)
3. ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ (Visual-Spatial Intelligence)
4. ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว (Bodily Kinesthetic Intelligence)
5. ปัญญาด้านดนตรี (Musical Intelligence)
6. ปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ (Interpersonal Intelligence)
7. ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence)
8. ปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา (Naturalist Intelligence)
หลักการจัดการเรียนการสอน แบบ Brain Based Learning
Regate และ Geoffrey Caine นักวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้โดยใช้ความรู้
เกี่ยวกับสมองเป็นหลัก ได้เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน 12 ข้อ
ดังต่อไปนี้
1)สมองเป็นกระบวนการคู่ขนาน
2)สมองกับการเรียนรู้
3)การเรียนรู้มีมาแต่กาเนิด
4)รูปแบบการเรียนรู้ของบุคคล
5) ความสนใจมีความสาคัญต่อการเรียนรู้
6)สมองมีหน้าที่สร้างกระบวนการเรียนรู้
7)การเรียนรู้ในสิ่งที่สนใจสามารถรับรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8)การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทั้งแบบที่มีจุดมุ่งหมายและไม่ได้ตั้งใจ
9)การเรียนรู้ที่เกิดจากกระบวนการสร้างความเข้าใจ
10)การเรียนรู้เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
11)ส่งเสริมให้ผู้เรียนเผชิญกับสถานการณ์ที่กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้
12)สมองของบุคคลมีความเท่าเทียมกัน
4.3 ฝึกการนาเสนอ
4.4 ฝึกการฟัง
4 .5 ฝึกการอ่าน
4.6 ฝึกการตั้งคาถาม
4.7 ฝึกการเชื่อมโยงทางความคิด
4.8 ฝึกการเขียนและเรียบเรียงความคิดเป็นตัวหนังสือ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1Sivagon Soontong
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วยkaimmikar123
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1Prachyanun Nilsook
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLEmmy Nichanan
 

Was ist angesagt? (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
บุคคลแห่งการเรียนรู้#1
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
 

Ähnlich wie รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์

นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมNaracha Nong
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Natcha Wannakot
 
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ นะนาท นะคะ
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciencesKruBeeKa
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนO-mu Aomaam
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด ThanatchaphornMusika
 

Ähnlich wie รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (20)

นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอน
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
 

Mehr von Mod DW

สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
เทศกาลของจีน
เทศกาลของจีนเทศกาลของจีน
เทศกาลของจีนMod DW
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningMod DW
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4Mod DW
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Mod DW
 

Mehr von Mod DW (6)

สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
เทศกาลของจีน
เทศกาลของจีนเทศกาลของจีน
เทศกาลของจีน
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for Learning
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 

รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์