SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การสืบค้นข้อมูลวงศ์พืช Araliaceae
งานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งชองรายวิชาชีววิทยา 6
รหัสวิชา ว30246 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
นำเสนอ
อาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์
จัดทำโดย
 น.ส. กุลนันท์ พรพรรณรัตน์ เลขที่ 2 ห้อง 144
 น.ส. ณิชำกำนต์ ดีประเสริฐ เลขที่ 8 ห้อง 144
 น.ส. นภัสกร นำควิจิตร เลขที่ 11 ห้อง 144
 น.ส. รัสรินทร์ เจริญไกรธนำกำนต์ เลขที่ 19 ห้อง 144
คำนำ
รายงานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 6 (ว30246) โดยมี
จุดประสงค์เพื่อการสืบค้นข้อมูลของพืชในวงศ์ Araliaceae ซึ่งประกอบไปด้วย
หัวข้อย่อยๆ ดังนี้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อพื้นเมือง ลักษณะทางพันธุศาสตร์ และ
สรรพคุณของพืช
ทางผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานนาเสนอนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่
ได้รับชม หากมีข้อผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
สำรบัญ
 หนุมานประสานกาย 6
 โสมอเมริกา 7
 ต้างหลวง 8
 พระเจ้าร้อยท่า 9
 โสมซานซี 10
 หญ้าเกล็ดหอยเทศ 1 11
 นิ้วมือพระนารายณ์ 12
 ผักแปม 13
 เล็บครุฑ 14
 เล็บครุฑหลวง 15
 ผักหนอก 16
 เล็บครุฑใบฝอย 17
 แหล่งอ้างอิง 18
หนุมานประสานกาย
 ชื่อสามัญ - Edible-stemed Vine
 ชื่อวิทยาศาสตร์ - Schefflera leucantha R.Vig
 ชื่อท้องถิ่น - ว่านอ้อยช้าง (เลย), ชิดฮะลั้ง กุชิดฮะลั้ง (จีน)
 ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - จัดเป็นพรรณไม้พุ่ม ที่มีลาต้นสูงประมาณ 1-4 เมตร ผิวของลา
ต้นค่อนข้างเรียบเกลี้ยง ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง และปักชา เจริญเติบโต
ได้ดีในดินทุกประเภท ต้องการน้าและความชื้นปานกลาง และเป็นพรรณไม้กลางแจ้ง
 สรรพคุณ
 ทั้งต้นมีรสหอมเผ็ดปร่า ขมฝาดเล็กน้อย มีสรรพคุณช่วยทาให้เลือดลมเดินสะดวก
 ใบมีรสหอมเผ็ดปร่า ขมฝาดเล็กน้อย มีสรรพคุณช่วยรักษาโรคหอบหืด แพ้อากาศ เป็นภูมิแพ้
ด้วยการใช้ใบสดเล็ก ๆ 9 ใบ นามาต้มกับน้า 3 ถ้วยแก้ว แล้วเคี่ยวจนเหลือ 1 ถ้วยแก้ว ใช้
รับประทานก่อนอาหารวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น เป็นเวลา 7 สัปดาห์ โรคหืดจะหาย
โสมอเมริกา
 ชื่อสามัญ - American gingseng, Asiatic gingseng
 ชื่อวิทยาศาสตร์ - Schefflera leucantha R.Vig
 ชื่อท้องถิ่น - โสมห้ำนิ้ว, โสมห้ำใบ
 ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุกที่มีอำยุเกินกว่ำ 2 ปี ต้นมีควำมสูง
ได้ประมำณ 2-3 ฟุต แตกกิ่งก้ำนสำขำออกรอบลำต้น ขยำยพันธุ์โดยใช้เมล็ด ต้นโสมเป็น
พืชที่ต้องกำรกำรดูแลเอำใจใส่เป็นอย่ำงดี โดยจะต้องควบคุมในเรื่องของอุณหภูมิ
แสงแดด และควำมชื้นอย่ำงเหมำะสม
 สรรพคุณ
 รำกมีสรรพคุณช่วยทำให้ทำงเดินโลหิตดีขึ้น
 ช่วยบรรเทำอำกำรไข้หวัด
 ใช้เป็นยำบำรุงปอดสำหรับผู้ที่มีไอแห้ง อันเนื่องมำจำกควันพิษของบุหรี่
 ช่วยบรรเทำอำกำรคลื่นไส้อำเจียน
ต้างหลวง
 ชื่อวิทยาศาสตร์ - Trevesia palmata (Roxb. ex Lindl.) Vis.
 ชื่อท้องถิ่น – ต้างผา ต้างป่า
 ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - ไม้ต้นขนำดเล็ก สูงถึง 8 เมตร ลำต้นมีหนำม ใบ เดี่ยวจัก
แผ่กว้ำง เรียงสลับแน่นใกล้ปลำยยอด ขนำด 30-70 ซม. แผ่นใบหยักเว้ำลึกเป็นพู 5-9 พู
ขอบใบของแต่ละพูจักลึกไม่เป็น ระเบียบ ผิวใบมีขนละเอียดสีน้ำตำล ดอก สีนวลแกม
เขียวเป็น
 สรรพคุณ
 เป็นไม้ประดับรูปทรงสวยงำม ดอกอ่อน รับประทำนได้เป็นยำเจริญอำหำร
พระเจ้าร้อยท่า
 ชื่อวิทยาศาสตร์ - Heteropanax fragrans
(Roxb. ex DC.) Seem.
 ชื่อท้องถิ่น - ชะระกออำย่อ ตู๊เจ้ำร้อยท่ำ พำเค อ้อยช้ำง
 ลักษณะทางพันธุศาสตร์
ไม้ต้นไม่ผลัดใบ สูงถึง 8 ม. กลุ่มใบกระจุก ที่ปลายยอด ลาต้นเปลาตรง เปลือก
นอกเรียบ สีน้าตาล เปลือกในสีเหลืองอ่อน ใบ ประกอบแบบขนนก 2-4 ชั้น เรียงสลับ
แผ่นใบย่อยรูปไข่หรือรูปขอบขนาน ขนาด 3-5 x 4-13 ซม. ปลายแหลม โคนสอบ ขอบ
เรียบ ใบอ่อนมีขนรูปดาว ใบแก่เกลี้ยง ไม่มีหนาม ดอก ออกเป็นช่อซี่ร่มเชิงซ้อน ออก
ดอก ขณะทิ้งใบ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีน้าตาล กลีบดอก 5 กลีบ เนื้อบาง สีขาว เกสรเพศผู้
5 อัน ก้านเกสรเพศเมีย 2 อัน
 สรรพคุณ
ใบและกิ่งก้ำน ต้มน้ำดื่มหรืออำบ สำหรับเด็กทำรกที่เกิด มำไม่สมบูรณ์ หัวโตผิดปกติ หรือคนที่มีอำกำร
แพ้ท้อง อำกำรแพ้จำกกำรกินอำหำรแสลง อำหำรเป็นพิษ
โสมซานซี
 ชื่อสามัญ - Sanchi Ginseng
 ชื่อวิทยาศาสตร์ - Panax notoginseng (Burkill) F.H.Chen
 ชื่อท้องถิ่น - โสมจีน ชั่งชิก
 ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - ต้นโสมซานซี จะมีกิ่ง 3 กิ่ง และในแต่ละกิ่งจะมีใบ 7 ใบ จึง
ถูกเรียกรวมกันว่า “ซานชี” ซึ่งหมายถึงต้นไม้ที่มีกิ่ง 3 กิ่ง และในแต่ละกิ่งจะมีใบ 7 ใบ
โดยต้นโสมซานชีนั้นจัดเป็นพืชยืนต้น ที่มีความสูงของต้นประมาณ 1.2 เมตร มีอัตราการ
เจริญเติบโตช้า
 สรรพคุณ
 เป็นอาหารที่กินแล้วจะช่วยทาให้ร่างกายแข็งแรง ชาวจีนจึงนิยมนามาปรุงอาหารกิน
เช่น นามาตุ๋นหรือต้มกับเนื้อสัตว์
 มีสารซาโปนินซึ่งเป็นสารที่มีฟองคล้ายสบู่ มีคุณสมบัติช่วยละลายไขมันที่เกาะอยู่ตาม
หลอดเลือด ช่วยป้องกันการเกาะตัวของไขมันในผนังหลอดเลือด
หญ้าเกล็ดหอยเทศ
 ชื่อวิทยาศาสตร์ – Hydrocotyle sibthorpioides Lam
 ชื่อท้องถิ่น - หญ้าเกล็ด
 ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - ต้นหญ้าเกล็ดหอย จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุกขนาดเล็ก
ลาต้นมีลักษณะเป็นเส้นเล็กยาวแผ่สาขา เลื้อยไปตามหน้าดิน ปกคลุมดินเป็นแผ่น
ยาวประมาณ 10-50 เซนติเมตร ลาต้นเป็นข้อ ๆ ตามลาต้นมีข้อจะแตกรากฝอย
ยึดดิน
 สรรพคุณ
 ทั้งต้นมีรสขมฝาด เผ็ดเล็กน้อย มีกลิ่นหอม เป็นยาเย็นออกฤทธิ์ต่อตับ ไต และ
ม้าม ใช้เป็นยาดับพิษร้อนถอนพิษไข้ ช่วยแก้อาการร้อนใน
 ช่วยแก้อาการไอ ไอกรน (ลาต้น, ทั้งต้น)
 ช่วยขับเสมหะ
นิ้วมือพระนารายณ์
 ชื่อวิทยาศาสตร์ - Schefflera elliptica (Blume) Harms
 ชื่อท้องถิ่น - มือพระนารายณ์ (ตราด, จันทบุรี),
อ้อยช้าง (อุตรดิตถ์), เล็บมือนาง (ภาคกลาง)
 ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกเรียงสลับ มีใบย่อย
ประมาณ 5-7 ใบ ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปรีแกมขอบขนาน ปลายใบแหลม โคนใบสอบ
แผ่นใบค่อนข้างหนาและเกลี้ยง ผิวใบด้านบนเป็นสีเขียวเข้ม ก้านใบร่วมยาว ออกดอกเป็น
ช่อขนาดใหญ่ที่ปลายยอด ดอกเป็นสีเหลืองขนาดเล็ก ไม่บาน ก้านช่อดอกเป็นสีน้าตาล
แดง ลักษณะของผลเป็นรูปไข่ขนาดเล็ก ผลสุกเป็นสีเหลืองถึงสีส้มอมแดง
 สรรพคุณ
 แก่นใช้ฝนกับน้ำกินเป็นยำแก้ท้องร่วง
ผักแปม
 ชื่อวิทยาศาสตร์ - Acanthopanax trifoliatus Merr.
 ชื่อท้องถิ่น - โสมจีน ชั่งชิก
 ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - ลาต้น สูงประมาณ 1 – 2 เมตร กิ่งก้านอ่อนมีสีเขียว มีหนาม
กระจายอยู่ทุกส่วนของลาต้น ใบ มีลักษณะยาวรี รูปไข่ ขอบใบมีลักษณะหยักคล้ายกับฟัน
เลื่อย ปลายใบแหลม มีเส้นใบเห็นชัดทั้งด้านบนและด้านล่างของใบ ก้านใบยาว 5 – 6
เซ็นติเมตร แต่ละก้านใบมีใบย่อยแยกออกเป็น 5 ใบ ใบที่อยู่ตรงกลางจะมีขนาดใหญ่สุด
ขนาดของใบกว้างประมาณ 2 – 3 เซ็นติเมตร ยาว 4 – 7 เซ็นติเมตร
 สรรพคุณ
 ใช้ใบอ่อนและยอดของผักแปมรับประทำน บำรุงร่ำงกำย แก้อำกำรอ่อนเพลีย รักษำเลือดคั่ง
ในแผลฟกช้ำ รำกและเปลือกลำต้นใช้บำรุงร่ำงกำย รักษำเบำหวำน
 ประชำชนทำงภำคเหนือนิยมรับประทำนใบอ่อนและยอด เป็นผักสดแกล้มกับลำบ จิ้มน้ำพริก
ทำเป็นแกงอ่อม ทำให้มีรสกลมกล่อมฝำดขมเล็กน้อย
เล็บครุฑ
 ชื่อสามัญ - Sanchi Ginseng
 ชื่อวิทยาศาสตร์ - Polyscias fruticosa (L.) Harms
 ชื่อท้องถิ่น - ครุฑเท้าเต่, ครุฑทอดมัน, ครุฑใบเทศ, ครุฑผักชี
 ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงราว 2 เมตร ลักษณะต้นเป็นข้อ ลาต้น
อ่อนมีสีเขียวอ่อนแกมน้าตาลอ่อน เมื่อลาต้นแก่เต็มที่ก็จะเปลี่ยนกลายเป็นสีน้าตาลอ่อน
ลาต้นจะมีรอยแผลของกาบใบ ใบเล็บครุฑ เป็นใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยมี
รูปร่างและขนาดแตกต่างกัน ขอบใบหยักย่อยละเอียด ปลายใบเรียวแหลมผลเล็บครุฑ ผล
รูปเกือบกลม มีเนื้อผล
 สรรพคุณ
 ใบ รสหอมร้อน ตาพอกแก้ปวดบวมอักเสบ
 ทั้งต้น รสฝาดหอม สมานแผล แก้ไข้
 ราก รสร้อนหอม ต้มดื่ม ขับปัสสาวะ ระงับประสาท แก้ปวดข้อ
เล็บครุฑหลวง
 ชื่อสามัญ - Variegated Rose – leaf Panax
 ชื่อวิทยาศาสตร์ - Polyscias paniculata Baker
 ชื่อท้องถิ่น - เล็บครุฑใบกุหลาบ
 ลักษณะทางพันธุศาสตร์ –
ต้น ไม้พุ่มขนาดเล็กลาต้นอ่อน ส่วนยอดมีสีเขียวลายสีน้าตาลอ่อนและเข้ม ลาต้นเมื่อแก่จะ
เปลี่ยนเป็น สีน้าตาลอ่อน ลาต้นเป็นข้อ
ใบคล้ายใบกุหลาบ ส่วนโคนใบสอบเข้า ปลายใบยาวเรียวแหลม ขอบริมใบหยักย่อยละเอียด พื้นผิว
ของใบสีเขียวเข้มเป็นด่างสีขาวครีม ก้านใบส่วนบนเป็นกาบ ก้านใบสีเขียวอ่อนมีลายสีน้าตาลไหม้
 สรรพคุณ
 นายอดและใบอ่อนมาจิ้มน้าพริก
ผักหนอก
 ชื่อวิทยาศาสตร์ - Hydrocotyle javanica Thunb
 ชื่อท้องถิ่น - บัวบกเขา (นครศรีธรรมราช), ผักแว่นเขา (ตราด), ผักหนอกช้าง
(ภาคเหนือ), ผักหนอก (ภาคใต้)
 ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุก มีอายุได้หลายปี มีความสูงได้ประมาณ
15-40 เซนติเมตร กิ่งก้านชูตั้งขึ้น ส่วนลาต้นมีลักษณะฉ่าน้า เกลี้ยงหรือมีขนเล็กน้อย
ทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง พบได้ในเอเชียเขตร้อน จีน ญี่ปุ่น
จนถึงออสเตรเลีย ส่วนในประเทศไทยพบได้ทุกภาค มักขึ้นตามที่ชื้นแฉะ และตามชายป่า
จนถึงระดับความสูงประมาณ 2,000 เมตร จากระดับน้าทะเล
 สรรพคุณ
 ทั้งต้นใช้ผสมกับเปลือกต้นมะกอก หูเสือทั้งต้น สะระแหน่ทั้งต้น ฮางคาวทั้งต้น ราก
หญ้าคา และตาอ้อยดา นามาแช่กับน้าหรือต้มกับน้าดื่มเป็นยาเย็น แก้ไข้ชักในเด็ก
 ใบใช้ตาประคบแก้ไข้
เล็บครุฑใบฝอย
 ชื่อสามัญ - Ming aralia
 ชื่อวิทยาศาสตร์ - Polyscias fruticosa Harms.
 ลักษณะทางพันธุศาสตร์
ลาต้น: สีน้าตาลแดงเข้ม มีจุดประสีขาวนวล
ใบ: ประกอบแบบขนนกสองชั้น มี 9-12 ใบย่อย แต่ละใบหยักเว้าลึกเป็นแฉกตามแนวเส้น
ใบ ใบย่อยรูปแถบถึงรูปหอก ปลายใบเรียวแหลม โคนใบสอบ ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่และมี
หนามเล็ก ๆ สีน้าตาล แผ่นใบอ่อนโค้งงอลง ก้านใบและก้านใบย่อยสีน้าตาลเข้ม มีจุดประ
สีขาวนวล
 สรรพคุณ
 นิยมปลูกเป็นไม้ประดับรั้ว หรือไม้กระถำง ยอดอ่อนกินเป็นผักสดกับน้ำพริก ลำบ ยำ
ขนมจีนน้ำยำ อำหำรรสจัดต่ำง ๆ หรือซอยใส่ในทอดมัน นำมำชุบแป้งทอดก็อร่อย
 ชำวใต้นิยมใส่ในแกงคั่ว รสมัน มีกลิ่นหอม หรือนำใบตำกแห้งชงเป็นชำดื่ม เก็บกินได้ตลอด
ปี ช่วยบำรุงร่ำงกำย ทำให้สดชื่น
แหล่งอ้ำงอิง
 https://medthai.com
 https://www.samunpri.com
 http://area-based.lpru.ac.th/veg/www/Native_veg/v382.htm
 https://www.ginsengbox.com/content/8-ginseng-wellbing
 http://book.baanlaesuan.com/plant-library/ming-aralia/

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt? (20)

Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 

Ähnlich wie Plant ser 144_60_1

Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.nrraachadan
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)MetawadeeNongsana
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงVaree Supa
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 lookpedkeele
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931SasipaChaya
 

Ähnlich wie Plant ser 144_60_1 (20)

Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดง
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 

Mehr von Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Mehr von Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 144_60_1

  • 3. จัดทำโดย  น.ส. กุลนันท์ พรพรรณรัตน์ เลขที่ 2 ห้อง 144  น.ส. ณิชำกำนต์ ดีประเสริฐ เลขที่ 8 ห้อง 144  น.ส. นภัสกร นำควิจิตร เลขที่ 11 ห้อง 144  น.ส. รัสรินทร์ เจริญไกรธนำกำนต์ เลขที่ 19 ห้อง 144
  • 4. คำนำ รายงานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 6 (ว30246) โดยมี จุดประสงค์เพื่อการสืบค้นข้อมูลของพืชในวงศ์ Araliaceae ซึ่งประกอบไปด้วย หัวข้อย่อยๆ ดังนี้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อพื้นเมือง ลักษณะทางพันธุศาสตร์ และ สรรพคุณของพืช ทางผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานนาเสนอนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ ได้รับชม หากมีข้อผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 5. สำรบัญ  หนุมานประสานกาย 6  โสมอเมริกา 7  ต้างหลวง 8  พระเจ้าร้อยท่า 9  โสมซานซี 10  หญ้าเกล็ดหอยเทศ 1 11  นิ้วมือพระนารายณ์ 12  ผักแปม 13  เล็บครุฑ 14  เล็บครุฑหลวง 15  ผักหนอก 16  เล็บครุฑใบฝอย 17  แหล่งอ้างอิง 18
  • 6. หนุมานประสานกาย  ชื่อสามัญ - Edible-stemed Vine  ชื่อวิทยาศาสตร์ - Schefflera leucantha R.Vig  ชื่อท้องถิ่น - ว่านอ้อยช้าง (เลย), ชิดฮะลั้ง กุชิดฮะลั้ง (จีน)  ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - จัดเป็นพรรณไม้พุ่ม ที่มีลาต้นสูงประมาณ 1-4 เมตร ผิวของลา ต้นค่อนข้างเรียบเกลี้ยง ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง และปักชา เจริญเติบโต ได้ดีในดินทุกประเภท ต้องการน้าและความชื้นปานกลาง และเป็นพรรณไม้กลางแจ้ง  สรรพคุณ  ทั้งต้นมีรสหอมเผ็ดปร่า ขมฝาดเล็กน้อย มีสรรพคุณช่วยทาให้เลือดลมเดินสะดวก  ใบมีรสหอมเผ็ดปร่า ขมฝาดเล็กน้อย มีสรรพคุณช่วยรักษาโรคหอบหืด แพ้อากาศ เป็นภูมิแพ้ ด้วยการใช้ใบสดเล็ก ๆ 9 ใบ นามาต้มกับน้า 3 ถ้วยแก้ว แล้วเคี่ยวจนเหลือ 1 ถ้วยแก้ว ใช้ รับประทานก่อนอาหารวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น เป็นเวลา 7 สัปดาห์ โรคหืดจะหาย
  • 7. โสมอเมริกา  ชื่อสามัญ - American gingseng, Asiatic gingseng  ชื่อวิทยาศาสตร์ - Schefflera leucantha R.Vig  ชื่อท้องถิ่น - โสมห้ำนิ้ว, โสมห้ำใบ  ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุกที่มีอำยุเกินกว่ำ 2 ปี ต้นมีควำมสูง ได้ประมำณ 2-3 ฟุต แตกกิ่งก้ำนสำขำออกรอบลำต้น ขยำยพันธุ์โดยใช้เมล็ด ต้นโสมเป็น พืชที่ต้องกำรกำรดูแลเอำใจใส่เป็นอย่ำงดี โดยจะต้องควบคุมในเรื่องของอุณหภูมิ แสงแดด และควำมชื้นอย่ำงเหมำะสม  สรรพคุณ  รำกมีสรรพคุณช่วยทำให้ทำงเดินโลหิตดีขึ้น  ช่วยบรรเทำอำกำรไข้หวัด  ใช้เป็นยำบำรุงปอดสำหรับผู้ที่มีไอแห้ง อันเนื่องมำจำกควันพิษของบุหรี่  ช่วยบรรเทำอำกำรคลื่นไส้อำเจียน
  • 8. ต้างหลวง  ชื่อวิทยาศาสตร์ - Trevesia palmata (Roxb. ex Lindl.) Vis.  ชื่อท้องถิ่น – ต้างผา ต้างป่า  ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - ไม้ต้นขนำดเล็ก สูงถึง 8 เมตร ลำต้นมีหนำม ใบ เดี่ยวจัก แผ่กว้ำง เรียงสลับแน่นใกล้ปลำยยอด ขนำด 30-70 ซม. แผ่นใบหยักเว้ำลึกเป็นพู 5-9 พู ขอบใบของแต่ละพูจักลึกไม่เป็น ระเบียบ ผิวใบมีขนละเอียดสีน้ำตำล ดอก สีนวลแกม เขียวเป็น  สรรพคุณ  เป็นไม้ประดับรูปทรงสวยงำม ดอกอ่อน รับประทำนได้เป็นยำเจริญอำหำร
  • 9. พระเจ้าร้อยท่า  ชื่อวิทยาศาสตร์ - Heteropanax fragrans (Roxb. ex DC.) Seem.  ชื่อท้องถิ่น - ชะระกออำย่อ ตู๊เจ้ำร้อยท่ำ พำเค อ้อยช้ำง  ลักษณะทางพันธุศาสตร์ ไม้ต้นไม่ผลัดใบ สูงถึง 8 ม. กลุ่มใบกระจุก ที่ปลายยอด ลาต้นเปลาตรง เปลือก นอกเรียบ สีน้าตาล เปลือกในสีเหลืองอ่อน ใบ ประกอบแบบขนนก 2-4 ชั้น เรียงสลับ แผ่นใบย่อยรูปไข่หรือรูปขอบขนาน ขนาด 3-5 x 4-13 ซม. ปลายแหลม โคนสอบ ขอบ เรียบ ใบอ่อนมีขนรูปดาว ใบแก่เกลี้ยง ไม่มีหนาม ดอก ออกเป็นช่อซี่ร่มเชิงซ้อน ออก ดอก ขณะทิ้งใบ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีน้าตาล กลีบดอก 5 กลีบ เนื้อบาง สีขาว เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านเกสรเพศเมีย 2 อัน  สรรพคุณ ใบและกิ่งก้ำน ต้มน้ำดื่มหรืออำบ สำหรับเด็กทำรกที่เกิด มำไม่สมบูรณ์ หัวโตผิดปกติ หรือคนที่มีอำกำร แพ้ท้อง อำกำรแพ้จำกกำรกินอำหำรแสลง อำหำรเป็นพิษ
  • 10. โสมซานซี  ชื่อสามัญ - Sanchi Ginseng  ชื่อวิทยาศาสตร์ - Panax notoginseng (Burkill) F.H.Chen  ชื่อท้องถิ่น - โสมจีน ชั่งชิก  ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - ต้นโสมซานซี จะมีกิ่ง 3 กิ่ง และในแต่ละกิ่งจะมีใบ 7 ใบ จึง ถูกเรียกรวมกันว่า “ซานชี” ซึ่งหมายถึงต้นไม้ที่มีกิ่ง 3 กิ่ง และในแต่ละกิ่งจะมีใบ 7 ใบ โดยต้นโสมซานชีนั้นจัดเป็นพืชยืนต้น ที่มีความสูงของต้นประมาณ 1.2 เมตร มีอัตราการ เจริญเติบโตช้า  สรรพคุณ  เป็นอาหารที่กินแล้วจะช่วยทาให้ร่างกายแข็งแรง ชาวจีนจึงนิยมนามาปรุงอาหารกิน เช่น นามาตุ๋นหรือต้มกับเนื้อสัตว์  มีสารซาโปนินซึ่งเป็นสารที่มีฟองคล้ายสบู่ มีคุณสมบัติช่วยละลายไขมันที่เกาะอยู่ตาม หลอดเลือด ช่วยป้องกันการเกาะตัวของไขมันในผนังหลอดเลือด
  • 11. หญ้าเกล็ดหอยเทศ  ชื่อวิทยาศาสตร์ – Hydrocotyle sibthorpioides Lam  ชื่อท้องถิ่น - หญ้าเกล็ด  ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - ต้นหญ้าเกล็ดหอย จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุกขนาดเล็ก ลาต้นมีลักษณะเป็นเส้นเล็กยาวแผ่สาขา เลื้อยไปตามหน้าดิน ปกคลุมดินเป็นแผ่น ยาวประมาณ 10-50 เซนติเมตร ลาต้นเป็นข้อ ๆ ตามลาต้นมีข้อจะแตกรากฝอย ยึดดิน  สรรพคุณ  ทั้งต้นมีรสขมฝาด เผ็ดเล็กน้อย มีกลิ่นหอม เป็นยาเย็นออกฤทธิ์ต่อตับ ไต และ ม้าม ใช้เป็นยาดับพิษร้อนถอนพิษไข้ ช่วยแก้อาการร้อนใน  ช่วยแก้อาการไอ ไอกรน (ลาต้น, ทั้งต้น)  ช่วยขับเสมหะ
  • 12. นิ้วมือพระนารายณ์  ชื่อวิทยาศาสตร์ - Schefflera elliptica (Blume) Harms  ชื่อท้องถิ่น - มือพระนารายณ์ (ตราด, จันทบุรี), อ้อยช้าง (อุตรดิตถ์), เล็บมือนาง (ภาคกลาง)  ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกเรียงสลับ มีใบย่อย ประมาณ 5-7 ใบ ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปรีแกมขอบขนาน ปลายใบแหลม โคนใบสอบ แผ่นใบค่อนข้างหนาและเกลี้ยง ผิวใบด้านบนเป็นสีเขียวเข้ม ก้านใบร่วมยาว ออกดอกเป็น ช่อขนาดใหญ่ที่ปลายยอด ดอกเป็นสีเหลืองขนาดเล็ก ไม่บาน ก้านช่อดอกเป็นสีน้าตาล แดง ลักษณะของผลเป็นรูปไข่ขนาดเล็ก ผลสุกเป็นสีเหลืองถึงสีส้มอมแดง  สรรพคุณ  แก่นใช้ฝนกับน้ำกินเป็นยำแก้ท้องร่วง
  • 13. ผักแปม  ชื่อวิทยาศาสตร์ - Acanthopanax trifoliatus Merr.  ชื่อท้องถิ่น - โสมจีน ชั่งชิก  ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - ลาต้น สูงประมาณ 1 – 2 เมตร กิ่งก้านอ่อนมีสีเขียว มีหนาม กระจายอยู่ทุกส่วนของลาต้น ใบ มีลักษณะยาวรี รูปไข่ ขอบใบมีลักษณะหยักคล้ายกับฟัน เลื่อย ปลายใบแหลม มีเส้นใบเห็นชัดทั้งด้านบนและด้านล่างของใบ ก้านใบยาว 5 – 6 เซ็นติเมตร แต่ละก้านใบมีใบย่อยแยกออกเป็น 5 ใบ ใบที่อยู่ตรงกลางจะมีขนาดใหญ่สุด ขนาดของใบกว้างประมาณ 2 – 3 เซ็นติเมตร ยาว 4 – 7 เซ็นติเมตร  สรรพคุณ  ใช้ใบอ่อนและยอดของผักแปมรับประทำน บำรุงร่ำงกำย แก้อำกำรอ่อนเพลีย รักษำเลือดคั่ง ในแผลฟกช้ำ รำกและเปลือกลำต้นใช้บำรุงร่ำงกำย รักษำเบำหวำน  ประชำชนทำงภำคเหนือนิยมรับประทำนใบอ่อนและยอด เป็นผักสดแกล้มกับลำบ จิ้มน้ำพริก ทำเป็นแกงอ่อม ทำให้มีรสกลมกล่อมฝำดขมเล็กน้อย
  • 14. เล็บครุฑ  ชื่อสามัญ - Sanchi Ginseng  ชื่อวิทยาศาสตร์ - Polyscias fruticosa (L.) Harms  ชื่อท้องถิ่น - ครุฑเท้าเต่, ครุฑทอดมัน, ครุฑใบเทศ, ครุฑผักชี  ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงราว 2 เมตร ลักษณะต้นเป็นข้อ ลาต้น อ่อนมีสีเขียวอ่อนแกมน้าตาลอ่อน เมื่อลาต้นแก่เต็มที่ก็จะเปลี่ยนกลายเป็นสีน้าตาลอ่อน ลาต้นจะมีรอยแผลของกาบใบ ใบเล็บครุฑ เป็นใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยมี รูปร่างและขนาดแตกต่างกัน ขอบใบหยักย่อยละเอียด ปลายใบเรียวแหลมผลเล็บครุฑ ผล รูปเกือบกลม มีเนื้อผล  สรรพคุณ  ใบ รสหอมร้อน ตาพอกแก้ปวดบวมอักเสบ  ทั้งต้น รสฝาดหอม สมานแผล แก้ไข้  ราก รสร้อนหอม ต้มดื่ม ขับปัสสาวะ ระงับประสาท แก้ปวดข้อ
  • 15. เล็บครุฑหลวง  ชื่อสามัญ - Variegated Rose – leaf Panax  ชื่อวิทยาศาสตร์ - Polyscias paniculata Baker  ชื่อท้องถิ่น - เล็บครุฑใบกุหลาบ  ลักษณะทางพันธุศาสตร์ – ต้น ไม้พุ่มขนาดเล็กลาต้นอ่อน ส่วนยอดมีสีเขียวลายสีน้าตาลอ่อนและเข้ม ลาต้นเมื่อแก่จะ เปลี่ยนเป็น สีน้าตาลอ่อน ลาต้นเป็นข้อ ใบคล้ายใบกุหลาบ ส่วนโคนใบสอบเข้า ปลายใบยาวเรียวแหลม ขอบริมใบหยักย่อยละเอียด พื้นผิว ของใบสีเขียวเข้มเป็นด่างสีขาวครีม ก้านใบส่วนบนเป็นกาบ ก้านใบสีเขียวอ่อนมีลายสีน้าตาลไหม้  สรรพคุณ  นายอดและใบอ่อนมาจิ้มน้าพริก
  • 16. ผักหนอก  ชื่อวิทยาศาสตร์ - Hydrocotyle javanica Thunb  ชื่อท้องถิ่น - บัวบกเขา (นครศรีธรรมราช), ผักแว่นเขา (ตราด), ผักหนอกช้าง (ภาคเหนือ), ผักหนอก (ภาคใต้)  ลักษณะทางพันธุศาสตร์ - จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุก มีอายุได้หลายปี มีความสูงได้ประมาณ 15-40 เซนติเมตร กิ่งก้านชูตั้งขึ้น ส่วนลาต้นมีลักษณะฉ่าน้า เกลี้ยงหรือมีขนเล็กน้อย ทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง พบได้ในเอเชียเขตร้อน จีน ญี่ปุ่น จนถึงออสเตรเลีย ส่วนในประเทศไทยพบได้ทุกภาค มักขึ้นตามที่ชื้นแฉะ และตามชายป่า จนถึงระดับความสูงประมาณ 2,000 เมตร จากระดับน้าทะเล  สรรพคุณ  ทั้งต้นใช้ผสมกับเปลือกต้นมะกอก หูเสือทั้งต้น สะระแหน่ทั้งต้น ฮางคาวทั้งต้น ราก หญ้าคา และตาอ้อยดา นามาแช่กับน้าหรือต้มกับน้าดื่มเป็นยาเย็น แก้ไข้ชักในเด็ก  ใบใช้ตาประคบแก้ไข้
  • 17. เล็บครุฑใบฝอย  ชื่อสามัญ - Ming aralia  ชื่อวิทยาศาสตร์ - Polyscias fruticosa Harms.  ลักษณะทางพันธุศาสตร์ ลาต้น: สีน้าตาลแดงเข้ม มีจุดประสีขาวนวล ใบ: ประกอบแบบขนนกสองชั้น มี 9-12 ใบย่อย แต่ละใบหยักเว้าลึกเป็นแฉกตามแนวเส้น ใบ ใบย่อยรูปแถบถึงรูปหอก ปลายใบเรียวแหลม โคนใบสอบ ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่และมี หนามเล็ก ๆ สีน้าตาล แผ่นใบอ่อนโค้งงอลง ก้านใบและก้านใบย่อยสีน้าตาลเข้ม มีจุดประ สีขาวนวล  สรรพคุณ  นิยมปลูกเป็นไม้ประดับรั้ว หรือไม้กระถำง ยอดอ่อนกินเป็นผักสดกับน้ำพริก ลำบ ยำ ขนมจีนน้ำยำ อำหำรรสจัดต่ำง ๆ หรือซอยใส่ในทอดมัน นำมำชุบแป้งทอดก็อร่อย  ชำวใต้นิยมใส่ในแกงคั่ว รสมัน มีกลิ่นหอม หรือนำใบตำกแห้งชงเป็นชำดื่ม เก็บกินได้ตลอด ปี ช่วยบำรุงร่ำงกำย ทำให้สดชื่น
  • 18. แหล่งอ้ำงอิง  https://medthai.com  https://www.samunpri.com  http://area-based.lpru.ac.th/veg/www/Native_veg/v382.htm  https://www.ginsengbox.com/content/8-ginseng-wellbing  http://book.baanlaesuan.com/plant-library/ming-aralia/