SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 20
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การสืบคนความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
วิชา ชีววิทยา
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2560
พืชที่นําเสนอ คือ พืช Family Oleaceae จํานวน 12 ชนิด
รายชื่อสมาชิก
1. นางสาว ปณฑรีย แทงทอง ม. 6/143 เลขที่ 7
2. นางสาว ปาลิตา ทองขุนนา ม .6/143 เลขที่ 9
3. นางสาว สุพิชญา พ.จานุพิบูล ม. 6/143 เลขที่ 20
4. นาย จิรภาส จารุเมเธิตานนท ม.6/143 เลขที่ 26
นําเสนอ
อาจารย วิชัย ลิขิตพรรักษ
คํานํา
รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา ชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โดยมีจุดประสงค เพื่อการศึกษา
ความรูที่ไดจากตนไมในวงศเดียวกับตนมะลิลา ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับในดานของชื่อตนไม ชื่อทาง
วิทยาศาสตร ลักษณะทางพฤกษศาสตร ประโยชนของตนไม ตลอดจนการตรวจคนในดานพันธุศาสตร เนื่องจาก
ตนไมในวงศเดียวกัน มีลักษณะคลายกัน
คณะผูจัดทําจะตองขอขอบคุณ อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ ผูใหความรู และแนวทางการศึกษา เพื่อน ๆ ทุกคนที่
ให ความชวยเหลือมาโดยตลอด คณะผูจัดทําหวังวารายงานฉบับนี้จะใหความรู และเปนประโยชนแกผูอานทุก ๆ
ทาน หากมีขอผิดพลาดประการใดทางคณะผูจัดทําตองขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย
คณะผูจัดทํา
สารบัญ
 ไลลัก
 มะกอกออลิฟ
 พุทธชาด
 จันทรทอง
 มะกอกโคก
 หอมหมื่นลี้
 อวบดํา
สารบัญ (ตอ)
 ผักแสว
 มะลุลี
 เครือไสไก
 จันทรทองเทศ
 เขี้ยวฟาน
 บรรณานุกรม
ไลลัก
ชื่อสามัญ : ไลลัก (อังกฤษ: Lilac) หรือ ซิริงกา (อังกฤษ: Syringa)
ชื่อวิทยาศาสตร : Syringa vulgaris
ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไลลักเปนพืชผลัดใบแบบพืชพุมหรือพืชตนขนาดเล็กที่
สูงตั้งแตราว 2 ถึง 10 เมตร และมีลําตนมีเสนผาศูนยกลางระหวาง 20 ถึง 30
เซนติเมตร ออกดอกในฤดูใบไมผลิตนฤดูรอนแลวแตสายพันธุ แตละดอกมี
เสนผาศูนยกลางระหวาง 5 ถึง 10 เซนติเมตร มีสีมวงตางๆ ชมพู ขาวนวล และ
บางครั้งมีสีแดงเขม
สรรพคุณ :สามารถนําไปสกัดเปนน้ํามันหอมระเหยไลยุงได
เพิ่มเติม :ดอกไลลักยังเปนดอกไมประจําราศีมีนและยังเปนดอกไมเอาไวบอกรักโดยเชื่อวาถาฝายหนึ่งนําไปมอบใหและอีก
ฝายสามารถทําใหดอกไมหลนแมแตดอกเดียวจะมีความรักยืนยาวดวย
มะกอกออลิฟ
ชื่อสามัญ : มะกอกออลิฟ (อังกฤษ: olive)
ชื่อวิทยาศาสตร : Olea europaea
ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมยืนตน ลําตนออกสีเทาออกขาวนวล ตนโคงงอ
ดอกสีขาวครีมขนาดเล็ก กลิ่นหอม ผลเล็กเทานิ้วหัวแมมือ ผลดิบสีเขียว ผลสุก
เปลี่ยนเปนสีน้ําตาลแดงหรือสีมวง
สรรพคุณ : เนื้อมะกอกออลิฟรับประทานไดแตมีรสเฝอนเพราะมีสารอัลคาลอยด จึง
ตองนําไปดองเกลือกอนรับประทาน น้ํามันมะกอกออลิฟใชปรุงอาหารแทนน้ํามันพืช
หรือเนย ใชผสมในน้ําสลัด และใชเปนยารักษาโรคทางเดินอาหาร บํารุงกระดูก
เพิ่มเติม : ชาวกรีกถือวามะกอกออลิฟเปนสัญลักษณแทนอิสรภาพและความหวัง กีฬาโอลิมปกสมัยโบราณจะใชมงกุฎใบมะกอก
ออลิฟประดับศีรษะใหนักกีฬาที่ชนะการแขงขัน สหประชาชาติยังใชชอมะกอกออลิฟเปนสัญลักษณบนธงเพื่อสื่อถึงเสรีภาพและ
มิตรภาพ ชาวยิวใชน้ํามันมะกอกออลิฟถูตัวในพิธีทางศาสนา
พุทธชาติ
ชื่อสามัญ : พุทธชาติ
ชื่อวิทยาศาสตร : Jasminum auriculatum Vahl
ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ใบเดี่ยวออกตรงขาม รูปรี กวาง 2-4 เซนติเมตร
ยาว 4–6 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบรูปลิ่ม แผนใบสีเขียว ออกดอกเปนชอ
ตรงปลายกิ่ง ชอยาว 3–5 เซนติเมตร มีดอกยอย 10–20 ดอก กลีบดอกสีขาว
โคนกลีบเชื่อมติดกันเปนหลอดสั้น ปลายแยกเปน 7–8 กลีบดอกบานมีเสนผาน
ศูนยกลาง 1.5-2 เซนติเมตร ทยอยบานทั้งชอ บานตอนเย็น แตบานวันเดียว
แลวโรย สงกลิ่นหอมออนๆตลอดวัน และหอมแรงในชวงใกลค่ํา ออกดอกตลอดป
แตจะดกมากในฤดูฝน
สรรพคุณ : ปลูกเปนซุมไมประดับ มีกลิ่นหอม
จันทรทอง
ชื่อสามัญ : จันทรทอง
ชื่อวิทยาศาสตร : Fraxinus floribunda Wall
ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมตน สูงประมาณ 15 เมตร ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่
เรียงตรงขาม ชอใบยาว 15–25 เซนติเมตร มีใบยอย 5–7 ใบ เรียงตรงขาม และมีใบ
ยอยที่ปลายแกนใบอีก 1 ใบ กานใบยอยยาว 2–2.5 เซนติเมตร กานใบยอยที่ปลายชอ
ยาวกวาใบอื่น แผนใบยอยรูปใบหอก กวาง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 7–10 เซนติเมตร
ปลายเรียวแหลม โคนคอนขางมน ขอบหยักแบบฟนเลื่อย ผิวเกลี้ยง เสนแขนงใบยอย
7–9 คู ดอกสีขาว ออกเปนชอตามงามใบ ยาว 10–15 เซนติเมตร กลีบดอก 4 กลีบ
รูปรี กวาง 0.5 เซนติเมตร ยาว 2.5-4 เซนติเมตร ผลแบนเปนปกบาง รูปใบหอกกลับ
หรือกึ่งรูปชอนปลายมน ยาวประมาณ 3.5 เซนติเมตร มี 1 เมล็ด
สรรพคุณ : ปลูกเปนไมประดับ
มะกอกโคก
ชื่อสามัญ : มะกอกโคก
ชื่อวิทยาศาสตร : Schrebera swietenides Roxb
ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมตน ผลัดใบ สูง 7-15 เมตร ใบเปนใบประกอบ
แบบขนนก มีใบยอย 7-9 ใบ รูปไข กวาง 2-4 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซนติเมตร
โคนใบมนหรือสอบเรียว ปลาบใบแหลม แผนใบคอนขางหนา ดอกสีเหลืองอม
น้ําตาล กลิ่นหอมออนๆ ออกเปนชอตามซอกใบใกลยอด กลีบรองดอก 5 กลีบ
กลีบดอกเปนหลอด ปลายแยกเปน 5-7 แฉก ผลเปนผลแหง ทรงกลม เปลือก
แข็ง สีน้ําตาลออนกนปองเล็กนอย กวาง 4 เซนติเมตร ยาว 5-6.5 เซนติเมตร
เมื่อแกจะแตกจากดานลางเปน 2 ซีก
สรรพคุณ : ผลมีลักษณะแปลก ใชทําเครื่องหัตถกรรมจําหนายไดราคาดี
หอมหมื่นลี้
ชื่อสามัญ : หอมหมื่นลี้
ชื่อวิทยาศาสตร : Osmanthus fragrans Lour.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก สูง 1-7 เมตร กิ่งกานสี
น้ําตาลออน ใบ เดี่ยว ออกตรงขาม รูปหอกหรือรีแกมขอบขนาน กวาง 1.5-5
เซนติเมตร ยาว 5-15 เซนติเมตร โคนใบสอบเรียว ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ
แผนใบหนาคลายแผนหนัง เกลี้ยง ดอก สีขาว ออกเปนกลุมตาม ซอกใบ กลีบรอง
ดอก 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก กลีบดอก 4 กลีบ เชื่อมติดกันที่ฐานเปน
หลอด ยาว 3-5 มิลลิเมตร ปลายกลีบแผมนกลม เกสรผู 2 อัน ติดอยูดานใน
กลีบดอก เกสรเมีย 1 อัน ปลายแยกเปน 2 แฉก ผล เปนผลสด ผลแกสีมวงดํา
รูปรี ยาว 1-2 เซนติเมตร
สรรพคุณ : ดอกมีกลิ่นหอมเย็น นิยมปลูกเปนไมประดับ
อวบดํา
ชื่อสามัญ : อวบดํา
ชื่อวิทยาศาสตร : Linociera ramiflora Wall.ex G. Don
ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมตน สูง 5-10 เมตร ผิวเกลี้ยง ใบเปนใบเดี่ยว
ออกตรงขาม รูปขอบขนานแกมรี กวาง 3-5 เซนติเมตร ยาว 8-18 เซนติเมตร
โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ แผนใบหนาคลายแผนหนัง กานใบยาว
2.5-3.5 เซนติเมตร ดอกสีขาว ออกเปนชอตามซอกใบ ดอกยอยขนาด 0.3-
0.7 เซนติเมตร กลีบรองดอกและกลีบดอกอยางละ 4 กลีบ เกสรผู 2 อัน ผล
เปนผลสด รูปไขขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร เมื่อสุกสีมวงดํา
สรรพคุณ : เนื้อไมใชในการกอสรางบานเรือนได
ผักแสว
ชื่อสามัญ : ผักแสว
ชื่อวิทยาศาสตร : Jasminum adenophyllum Wall.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมพุมเลื้อย ขึ้นกอ ใบเปนเดี่ยว ออกตรงขามรูปขอบขนาน
แกมไข กวาง 3-4 ซม. ยาว 10-13 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม แผนใบเกลี้ยงและ
มักเปนคลื่น เสนแขนง ใบลักษณะเปนรางแห กานใบยาว 4 มม. ดอกสีขาวนวล ออกเปน
ชอตามซอกใบและปลายยอด มีกลีบประดับเปนเสนยาว กลีบรองดอก 5 กลีบ รูปถวย
ตื้น กลีบดอกเชื่อมติดกันเปนหลอด ตอนปลายแยกเปน 8 แฉก ผลเปนผลสด ทรงกลม
ขนาด 5-8 มม. เมื่อแกจะเปลี่ยนเปนสีดํา
สรรพคุณ : ยอดออนรับประทานได นิยมนํามาปลูกเปนไมประดับตามบานเรือน ให
ความสวยงามและกลิ่นหอมเย็น
มะลุลี
ชื่อสามัญ : มะลุลี (Star-jasmine)
ชื่อวิทยาศาสตร : Trachelospermum jasminoides
ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถาเลื้อย ลักษณะของเถาจะกลมเกลี้ยง สีเขียวสด
เมื่อเถาแกจะเปนสีน้ําตาล สวนยอดออนของเถาจะมีขนนุมขึ้นปกคลุมเล็กนอย ใบเปน
ใบเดี่ยวออกใบตามขอตน เรียงเปนคูตรงขามกัน ใบรูปไข ปลายใบแหลม โคนใบมน
และเวาเล็กนอย ขอบใบเรียบหรือบางก็อาจจะเปนคลื่นเล็กนอย กานใบสีเขียว กลม
และสั้น ออกดอกเปนชอตรงสวนยอดและตามงามใบ โคนชอจะมีขนสีเทาลักษณะนุม
ขึ้นอยูเต็ม ดอกมีสีขาวสะอาดเหมือนดอกมะลิ ดอกชอหนึ่งๆ จะบานเกือบพรอมกันทั้ง
ชอ และจะบานทนอยูไดนานหลายวัน กลีบดอกเปนรูปขอบขนาน ดอกหนึ่งๆ จะมี
ประมาณ 9 กลีบ ดอกมีกลิ่นหอมแรงและจะหอมตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน ออก
ดอกตลอดปโดยเฉพาะในชวงฤดูหนาว
สรรพคุณ : นิยมนํามาปลูกเปนไมประดับตามบานหรือขางทาง
เครือไสไก
ชื่อสามัญ : เครือไสไก
ชื่อวิทยาศาสตร : Jasminum scandens (Retz.) Vahl
ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมเถา ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม ใบรูปรีหรือรูปไข ปลายใบ
แหลม โคนใบมนหรือกลม ดอกชอแบบชอแยกแขนง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันปลายแยก
เปน 5 แฉก กลีบดอก โคนเชื่อมติดกันเปนหลอดปลายแยกเปน 5 แฉก สีขาว มีกลิ่น
หอม ผลสด รูปทรงกลมหรือรี ผลสุกสีดํา
สรรพคุณ : ดอกมีกลิ่นหอม นํามาบูชาพระ สมุนไพร รากตมน้ําดื่มแกปวดกระดูก
จันทรทองเทศ
ชื่อสามัญ : จันทรทองเทศ
ชื่อวิทยาศาสตร : Fraxinus griffi thii C.B. Clarke
ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมตน สูง 8-15 เมตร ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว
ปลายคี่ เรียงตรงขาม ใบยอย 2-6 คู เรียงตรงขาม ใบยอยรูปใบหอก ปลายเรียว
แหลม โคนใบสอบ ขอบจักแบบฟนเลื่อย ชอดอกเกิดบริเวณซอกใบใกลปลายกิ่ง
ดอกยอยจํานวนมาก สีขาว ผลเปนผลแหง แบน มีปกบางรูปใบหอกกลับ หรือเกือบ
รูปชอนปลายมนกลม
สรรพคุณ : เนื้อไมสีเหลืองออน แข็งและทนทาน นิยมใชในการกอสราง ทําเครื่องมือ
เกษตร เครื่องใชภายในบานและปลูกประดับ
เขี้ยวฟาน
ชื่อสามัญ : เขี้ยวฟาน
ชื่อวิทยาศาสตร : Chionanthus velutinus
ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ลําตนและกิ่งออนมีขนสีนวลเทา ใบเดี่ยว
ดอกชอ ออกที่ซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเปนรูปถวย กลีบดอกสี
ขาว ผลเมื่อออนสีเขียว ผลแกสีมวงหรือสีดํา รวงงาย ใบมีรสเผ็ด
สรรพคุณ : ชาวไทยอีสานนํามารับประทานกับหมากแทนใบพลูได
บรรณานุกรม
 http://book.baanlaesuan.com/plant-library/jasminum-auriculatum/
 http://www.qsbg.org/Database/BOTANIC_Book%20full%20option/search_detail.asp?
botanic_id=2242
 https://th.m.wikipedia.org/wiki/ไลลัก
 http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=7723
ขอบคุณที่รับชม
การนําเสนอคะ/ครับ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
Wichai Likitponrak
 

Was ist angesagt? (20)

Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 

Ähnlich wie Plant ser 143_60_7

นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
marknoppajron
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
Wichai Likitponrak
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222
saifon147
 
จริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 pptจริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 ppt
angkhana
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
Wichai Likitponrak
 
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
Mint Jiratchaya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Daranpop Doungdetch
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_5
M6 125 60_5M6 125 60_5
M6 125 60_5
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
Wichai Likitponrak
 

Ähnlich wie Plant ser 143_60_7 (20)

นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222
 
จริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 pptจริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 ppt
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
01092008 Akey
01092008 Akey01092008 Akey
01092008 Akey
 
Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
M6 125 60_5
M6 125 60_5M6 125 60_5
M6 125 60_5
 
สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 

Mehr von Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

Mehr von Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 143_60_7

  • 2. รายชื่อสมาชิก 1. นางสาว ปณฑรีย แทงทอง ม. 6/143 เลขที่ 7 2. นางสาว ปาลิตา ทองขุนนา ม .6/143 เลขที่ 9 3. นางสาว สุพิชญา พ.จานุพิบูล ม. 6/143 เลขที่ 20 4. นาย จิรภาส จารุเมเธิตานนท ม.6/143 เลขที่ 26
  • 4. คํานํา รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา ชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โดยมีจุดประสงค เพื่อการศึกษา ความรูที่ไดจากตนไมในวงศเดียวกับตนมะลิลา ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับในดานของชื่อตนไม ชื่อทาง วิทยาศาสตร ลักษณะทางพฤกษศาสตร ประโยชนของตนไม ตลอดจนการตรวจคนในดานพันธุศาสตร เนื่องจาก ตนไมในวงศเดียวกัน มีลักษณะคลายกัน คณะผูจัดทําจะตองขอขอบคุณ อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ ผูใหความรู และแนวทางการศึกษา เพื่อน ๆ ทุกคนที่ ให ความชวยเหลือมาโดยตลอด คณะผูจัดทําหวังวารายงานฉบับนี้จะใหความรู และเปนประโยชนแกผูอานทุก ๆ ทาน หากมีขอผิดพลาดประการใดทางคณะผูจัดทําตองขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย คณะผูจัดทํา
  • 5. สารบัญ  ไลลัก  มะกอกออลิฟ  พุทธชาด  จันทรทอง  มะกอกโคก  หอมหมื่นลี้  อวบดํา
  • 6. สารบัญ (ตอ)  ผักแสว  มะลุลี  เครือไสไก  จันทรทองเทศ  เขี้ยวฟาน  บรรณานุกรม
  • 7. ไลลัก ชื่อสามัญ : ไลลัก (อังกฤษ: Lilac) หรือ ซิริงกา (อังกฤษ: Syringa) ชื่อวิทยาศาสตร : Syringa vulgaris ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไลลักเปนพืชผลัดใบแบบพืชพุมหรือพืชตนขนาดเล็กที่ สูงตั้งแตราว 2 ถึง 10 เมตร และมีลําตนมีเสนผาศูนยกลางระหวาง 20 ถึง 30 เซนติเมตร ออกดอกในฤดูใบไมผลิตนฤดูรอนแลวแตสายพันธุ แตละดอกมี เสนผาศูนยกลางระหวาง 5 ถึง 10 เซนติเมตร มีสีมวงตางๆ ชมพู ขาวนวล และ บางครั้งมีสีแดงเขม สรรพคุณ :สามารถนําไปสกัดเปนน้ํามันหอมระเหยไลยุงได เพิ่มเติม :ดอกไลลักยังเปนดอกไมประจําราศีมีนและยังเปนดอกไมเอาไวบอกรักโดยเชื่อวาถาฝายหนึ่งนําไปมอบใหและอีก ฝายสามารถทําใหดอกไมหลนแมแตดอกเดียวจะมีความรักยืนยาวดวย
  • 8. มะกอกออลิฟ ชื่อสามัญ : มะกอกออลิฟ (อังกฤษ: olive) ชื่อวิทยาศาสตร : Olea europaea ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมยืนตน ลําตนออกสีเทาออกขาวนวล ตนโคงงอ ดอกสีขาวครีมขนาดเล็ก กลิ่นหอม ผลเล็กเทานิ้วหัวแมมือ ผลดิบสีเขียว ผลสุก เปลี่ยนเปนสีน้ําตาลแดงหรือสีมวง สรรพคุณ : เนื้อมะกอกออลิฟรับประทานไดแตมีรสเฝอนเพราะมีสารอัลคาลอยด จึง ตองนําไปดองเกลือกอนรับประทาน น้ํามันมะกอกออลิฟใชปรุงอาหารแทนน้ํามันพืช หรือเนย ใชผสมในน้ําสลัด และใชเปนยารักษาโรคทางเดินอาหาร บํารุงกระดูก เพิ่มเติม : ชาวกรีกถือวามะกอกออลิฟเปนสัญลักษณแทนอิสรภาพและความหวัง กีฬาโอลิมปกสมัยโบราณจะใชมงกุฎใบมะกอก ออลิฟประดับศีรษะใหนักกีฬาที่ชนะการแขงขัน สหประชาชาติยังใชชอมะกอกออลิฟเปนสัญลักษณบนธงเพื่อสื่อถึงเสรีภาพและ มิตรภาพ ชาวยิวใชน้ํามันมะกอกออลิฟถูตัวในพิธีทางศาสนา
  • 9. พุทธชาติ ชื่อสามัญ : พุทธชาติ ชื่อวิทยาศาสตร : Jasminum auriculatum Vahl ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ใบเดี่ยวออกตรงขาม รูปรี กวาง 2-4 เซนติเมตร ยาว 4–6 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบรูปลิ่ม แผนใบสีเขียว ออกดอกเปนชอ ตรงปลายกิ่ง ชอยาว 3–5 เซนติเมตร มีดอกยอย 10–20 ดอก กลีบดอกสีขาว โคนกลีบเชื่อมติดกันเปนหลอดสั้น ปลายแยกเปน 7–8 กลีบดอกบานมีเสนผาน ศูนยกลาง 1.5-2 เซนติเมตร ทยอยบานทั้งชอ บานตอนเย็น แตบานวันเดียว แลวโรย สงกลิ่นหอมออนๆตลอดวัน และหอมแรงในชวงใกลค่ํา ออกดอกตลอดป แตจะดกมากในฤดูฝน สรรพคุณ : ปลูกเปนซุมไมประดับ มีกลิ่นหอม
  • 10. จันทรทอง ชื่อสามัญ : จันทรทอง ชื่อวิทยาศาสตร : Fraxinus floribunda Wall ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมตน สูงประมาณ 15 เมตร ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงตรงขาม ชอใบยาว 15–25 เซนติเมตร มีใบยอย 5–7 ใบ เรียงตรงขาม และมีใบ ยอยที่ปลายแกนใบอีก 1 ใบ กานใบยอยยาว 2–2.5 เซนติเมตร กานใบยอยที่ปลายชอ ยาวกวาใบอื่น แผนใบยอยรูปใบหอก กวาง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 7–10 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลม โคนคอนขางมน ขอบหยักแบบฟนเลื่อย ผิวเกลี้ยง เสนแขนงใบยอย 7–9 คู ดอกสีขาว ออกเปนชอตามงามใบ ยาว 10–15 เซนติเมตร กลีบดอก 4 กลีบ รูปรี กวาง 0.5 เซนติเมตร ยาว 2.5-4 เซนติเมตร ผลแบนเปนปกบาง รูปใบหอกกลับ หรือกึ่งรูปชอนปลายมน ยาวประมาณ 3.5 เซนติเมตร มี 1 เมล็ด สรรพคุณ : ปลูกเปนไมประดับ
  • 11. มะกอกโคก ชื่อสามัญ : มะกอกโคก ชื่อวิทยาศาสตร : Schrebera swietenides Roxb ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมตน ผลัดใบ สูง 7-15 เมตร ใบเปนใบประกอบ แบบขนนก มีใบยอย 7-9 ใบ รูปไข กวาง 2-4 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซนติเมตร โคนใบมนหรือสอบเรียว ปลาบใบแหลม แผนใบคอนขางหนา ดอกสีเหลืองอม น้ําตาล กลิ่นหอมออนๆ ออกเปนชอตามซอกใบใกลยอด กลีบรองดอก 5 กลีบ กลีบดอกเปนหลอด ปลายแยกเปน 5-7 แฉก ผลเปนผลแหง ทรงกลม เปลือก แข็ง สีน้ําตาลออนกนปองเล็กนอย กวาง 4 เซนติเมตร ยาว 5-6.5 เซนติเมตร เมื่อแกจะแตกจากดานลางเปน 2 ซีก สรรพคุณ : ผลมีลักษณะแปลก ใชทําเครื่องหัตถกรรมจําหนายไดราคาดี
  • 12. หอมหมื่นลี้ ชื่อสามัญ : หอมหมื่นลี้ ชื่อวิทยาศาสตร : Osmanthus fragrans Lour. ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก สูง 1-7 เมตร กิ่งกานสี น้ําตาลออน ใบ เดี่ยว ออกตรงขาม รูปหอกหรือรีแกมขอบขนาน กวาง 1.5-5 เซนติเมตร ยาว 5-15 เซนติเมตร โคนใบสอบเรียว ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ แผนใบหนาคลายแผนหนัง เกลี้ยง ดอก สีขาว ออกเปนกลุมตาม ซอกใบ กลีบรอง ดอก 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก กลีบดอก 4 กลีบ เชื่อมติดกันที่ฐานเปน หลอด ยาว 3-5 มิลลิเมตร ปลายกลีบแผมนกลม เกสรผู 2 อัน ติดอยูดานใน กลีบดอก เกสรเมีย 1 อัน ปลายแยกเปน 2 แฉก ผล เปนผลสด ผลแกสีมวงดํา รูปรี ยาว 1-2 เซนติเมตร สรรพคุณ : ดอกมีกลิ่นหอมเย็น นิยมปลูกเปนไมประดับ
  • 13. อวบดํา ชื่อสามัญ : อวบดํา ชื่อวิทยาศาสตร : Linociera ramiflora Wall.ex G. Don ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมตน สูง 5-10 เมตร ผิวเกลี้ยง ใบเปนใบเดี่ยว ออกตรงขาม รูปขอบขนานแกมรี กวาง 3-5 เซนติเมตร ยาว 8-18 เซนติเมตร โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ แผนใบหนาคลายแผนหนัง กานใบยาว 2.5-3.5 เซนติเมตร ดอกสีขาว ออกเปนชอตามซอกใบ ดอกยอยขนาด 0.3- 0.7 เซนติเมตร กลีบรองดอกและกลีบดอกอยางละ 4 กลีบ เกสรผู 2 อัน ผล เปนผลสด รูปไขขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร เมื่อสุกสีมวงดํา สรรพคุณ : เนื้อไมใชในการกอสรางบานเรือนได
  • 14. ผักแสว ชื่อสามัญ : ผักแสว ชื่อวิทยาศาสตร : Jasminum adenophyllum Wall. ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมพุมเลื้อย ขึ้นกอ ใบเปนเดี่ยว ออกตรงขามรูปขอบขนาน แกมไข กวาง 3-4 ซม. ยาว 10-13 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม แผนใบเกลี้ยงและ มักเปนคลื่น เสนแขนง ใบลักษณะเปนรางแห กานใบยาว 4 มม. ดอกสีขาวนวล ออกเปน ชอตามซอกใบและปลายยอด มีกลีบประดับเปนเสนยาว กลีบรองดอก 5 กลีบ รูปถวย ตื้น กลีบดอกเชื่อมติดกันเปนหลอด ตอนปลายแยกเปน 8 แฉก ผลเปนผลสด ทรงกลม ขนาด 5-8 มม. เมื่อแกจะเปลี่ยนเปนสีดํา สรรพคุณ : ยอดออนรับประทานได นิยมนํามาปลูกเปนไมประดับตามบานเรือน ให ความสวยงามและกลิ่นหอมเย็น
  • 15. มะลุลี ชื่อสามัญ : มะลุลี (Star-jasmine) ชื่อวิทยาศาสตร : Trachelospermum jasminoides ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถาเลื้อย ลักษณะของเถาจะกลมเกลี้ยง สีเขียวสด เมื่อเถาแกจะเปนสีน้ําตาล สวนยอดออนของเถาจะมีขนนุมขึ้นปกคลุมเล็กนอย ใบเปน ใบเดี่ยวออกใบตามขอตน เรียงเปนคูตรงขามกัน ใบรูปไข ปลายใบแหลม โคนใบมน และเวาเล็กนอย ขอบใบเรียบหรือบางก็อาจจะเปนคลื่นเล็กนอย กานใบสีเขียว กลม และสั้น ออกดอกเปนชอตรงสวนยอดและตามงามใบ โคนชอจะมีขนสีเทาลักษณะนุม ขึ้นอยูเต็ม ดอกมีสีขาวสะอาดเหมือนดอกมะลิ ดอกชอหนึ่งๆ จะบานเกือบพรอมกันทั้ง ชอ และจะบานทนอยูไดนานหลายวัน กลีบดอกเปนรูปขอบขนาน ดอกหนึ่งๆ จะมี ประมาณ 9 กลีบ ดอกมีกลิ่นหอมแรงและจะหอมตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน ออก ดอกตลอดปโดยเฉพาะในชวงฤดูหนาว สรรพคุณ : นิยมนํามาปลูกเปนไมประดับตามบานหรือขางทาง
  • 16. เครือไสไก ชื่อสามัญ : เครือไสไก ชื่อวิทยาศาสตร : Jasminum scandens (Retz.) Vahl ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมเถา ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม ใบรูปรีหรือรูปไข ปลายใบ แหลม โคนใบมนหรือกลม ดอกชอแบบชอแยกแขนง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันปลายแยก เปน 5 แฉก กลีบดอก โคนเชื่อมติดกันเปนหลอดปลายแยกเปน 5 แฉก สีขาว มีกลิ่น หอม ผลสด รูปทรงกลมหรือรี ผลสุกสีดํา สรรพคุณ : ดอกมีกลิ่นหอม นํามาบูชาพระ สมุนไพร รากตมน้ําดื่มแกปวดกระดูก
  • 17. จันทรทองเทศ ชื่อสามัญ : จันทรทองเทศ ชื่อวิทยาศาสตร : Fraxinus griffi thii C.B. Clarke ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมตน สูง 8-15 เมตร ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ปลายคี่ เรียงตรงขาม ใบยอย 2-6 คู เรียงตรงขาม ใบยอยรูปใบหอก ปลายเรียว แหลม โคนใบสอบ ขอบจักแบบฟนเลื่อย ชอดอกเกิดบริเวณซอกใบใกลปลายกิ่ง ดอกยอยจํานวนมาก สีขาว ผลเปนผลแหง แบน มีปกบางรูปใบหอกกลับ หรือเกือบ รูปชอนปลายมนกลม สรรพคุณ : เนื้อไมสีเหลืองออน แข็งและทนทาน นิยมใชในการกอสราง ทําเครื่องมือ เกษตร เครื่องใชภายในบานและปลูกประดับ
  • 18. เขี้ยวฟาน ชื่อสามัญ : เขี้ยวฟาน ชื่อวิทยาศาสตร : Chionanthus velutinus ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ลําตนและกิ่งออนมีขนสีนวลเทา ใบเดี่ยว ดอกชอ ออกที่ซอกใบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเปนรูปถวย กลีบดอกสี ขาว ผลเมื่อออนสีเขียว ผลแกสีมวงหรือสีดํา รวงงาย ใบมีรสเผ็ด สรรพคุณ : ชาวไทยอีสานนํามารับประทานกับหมากแทนใบพลูได