SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 20
Downloaden Sie, um offline zu lesen
งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รายวิชาชีววิทยา 6 (ว30246) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ ห้อง 143
พืชที่นาเสนอ คือพืช family MALVACEAE จานวน 12 ชนิด
สมาชิกในกลุ่ม
1. ชนัญชิดา รัตนธน เลขที่ 4
2. ณิชนันทน์ ชัยสุบรรณ์กนก เลขที่ 5
3. ปัณฑิตา เฟื่องพานิชเจริญ เลขที่ 8
4. ศุภกานต์ มณีรัตน์ เลขที่ 17
ครูผู้สอน อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
สารบัญ
• ฝ้ ายแดง
• ฝ้ ายเทศ
• หญ้าขัด
• ชะมดต้น
• ปอพราน
• ฝ้ าย
• ครอบฟันสี
• ฝ้ ายตุ่น
• ฉัตรทอง
• ปอแก้ว
• กระเจี๊ยบ
• ครอบจักรวาล
ฝ้ ายแดง
• ชื่อสามัญ : Ceylon cotton, Chinese cotton
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gossypium arboreum L.
ชื่อวงศ์ : MALVACEAE
• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ฝ้ ายแดง เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดกลาง จะแตกกิ่งก้านสาขาออกไปรอบรอบต้น มีกิ่งก้านที่แข็งแรง ลาต้นสูงประมาณ 4-5 ฟุต
ดอกฝ้ ายแดง ดอกออกเป็นดอกเดี่ยว จะแตกออกตามบริเวณปลายกิ่ง ดอกมีสีแดงสดและตรงกลางดอกจะเป็นสีม่วงอมดา
ประแต้มด้วยสีเหลือง กลีบดอกจะออกซ้อน ๆ กัน สวยงามมาก
• แหล่งที่พบ
ฝ้ ายแดงเป็นพืชที่มีถิ่นกาเนิดในทวีปเอเชียในเขตร้อนและกึ่งร้อน และทวีปแอฟริกา
• ประโยชน์
ขับปัสสาวะ ช่วยบีบมดลูก ทาให้แท้ง และช่วยขับน้าคาวปลาของสตรี รักษาโรคหนองใน
น.ส.ศุภกานต์ มณีรัตน์ เลขที่17
ฝ้ ายเทศ
• ชื่อสามัญ : Cotton , Sea Iceland Cotton
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gossypium herbaceum L.
ชื่อวงศ์ : MALVACEAE
• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ฝ้ ายเทศเป็นไม้พุ่ม ลาต้น มีสีน้าตาลแดงอาจเป็นเหลี่ยม ใบ เดี่ยว รูปไข่กว้าง ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก 3-5 หยัก ฐาน
ใบเป็นรูปหัวใจ ก้านใบค่อนข้างยาว ดอก เดี่ยว มีใบประดับ 5 กลีบติดกัน กลีบดอกสีเหลือง ผล กลมปลายยาวแหลม
เมล็ด รูปไข่ มีขนสีขาวยาว 3.7-5 เซนติเมตร รอบๆ เมล็ด
• แหล่งที่พบ
ทุกภาคของประเทศไทย
• ประโยชน์
เมล็ดฝ้ ายใช้หีบน้ามัน ปุยฝ้ ายทาสาลีและอุปกรณ์ใช้ในทางการแพทย์ และใช้เตรียมเป็นยาแผนปัจจุบันหลายชนิด น้ามัน
เมล็ดฝ้ ายใช้เป็นน้ามันหุงต้ม
น.ส.ศุภกานต์ มณีรัตน์ เลขที่17
หญ้าขัด
• ชื่อสามัญ : Paddy’s lucerne, Queensland hemp
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Sida rhombifolia L.
ชื่อวงศ์ : MALVACEAE
• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 0.3-1 เมตร ลาต้นแข็งแรง เปลือกต้นมีใยเหนียวดีมาก เป็นลักษณะพิเศษของต้นไม้ในวงศ์พวกชบานี้อย่าง
หนึ่ง ลาต้นแตกกิ่งก้านสาขามาก
• แหล่งที่พบ
เชียงใหม่,ภาคกลาง
• ประโยชน์
ทั้งต้น สามารถใช้ดับร้อน แก้พิษ แก้บวม แก้ปวด สมานเนื้อ แก้กวัด เต้านมอักเสบ บิด ลาไส้อักเสบ หกล้มกระดูกหัก แผลบวมเป็นพิษ
เลือดออก
น.ส.ศุภกานต์ มณีรัตน์ เลขที่17
ชะมดต้น
ชื่อสามัญ: Annual hibiscus
ชื่อวิทยาศาสตร์: Abelmoschus moschatus Medik
ชื่อวงศ์: MALVACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
-ลาต้น: เป็นพรรณไม้ล้มลุกเนื้ออ่อนขนาดเล็กหรือไม้พุ่ม ลาต้นมีความสูงได้ประมาณ 1-2 เมตร ทั้งต้นมีขนสีขาวขึ้นปกคลุม
-ใบ: เป็นรูปดาวหรือรูปฝ่ามือ ปลายใบแหลม โคนใบเว้าเข้าหากันคล้ายรูปหัวใจ
-ดอก: เป็นรูปเส้นด้ายหรือรูปใบหอกกลีบเลี้ยงเป็นรูปใบหงายกลีบดอกเป็นสีเหลืองนวลและมีสีม่วงเข้ม เป็นรูปไข่กลีบ
-ผล: เป็นรูปกลมยาวเป็นเฟือง 5 เฟือง คล้ายผลมะเฟือง
ประโยชน์: ใช้เป็นยารักษากลากเกลื้อน แก้พิษฝีหนอง ช่วยขับน้านมในสตรีหลังการคลอดบุตร และใช้เป็นยาขับพิษร้อนถอนพิษ
ไข้
เพิ่มเติม: เป็นวัชพืชที่ขยายพันธ์ได้ง่ายและรวดเร็ว และบางกลุ่มมีความเชื่อที่ไม่ดีกับต้นๆนี้
ณิชนันทน์ ชัยสุบรรณ์กนก เลขที่ 5 ห้อง 143
ชื่อท้องถิ่น: ปอปาน ปอขี้ตุ่น ขี้หมาแห้ง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Colona auriculata
ชื่อวงศ์: MALVACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
-ลาต้น: พรรณไม้พุ่ม เปลือกสีน้าตาลปนเทา มีขนยาวขึ้นปกคลุม
-ใบ: ใบเดี่ยวเรียงสลับเป็นรูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน ปลายใบแหลมขอบหยัก
-ดอก: เป็นช่อแบบช่อกระจุกตามซอกใบ กลีบดอกมี 5 กลีบ เป็นสีเหลืองสดจุดประสีส้มแกมน้าตาล
-ผล: กลม หรือเป็นรูปไข่มีครีบ เป็นสันตามยาว 5 ครีบ ก้านผลยาว
ประโยชน์: นามาต้มเป็นยารักษาโรคบิด แก้ท้องเสีย ใช้ผสมกับเหง้าดองดึงคลุกข้าวทาเป็นยาสาหรับเบื่อสุนัข เส้นใยที่
ได้จากเปลือกนาไปใช้ทาเป็นเชือกที่มีคุณภาพดี
ปอพราน
ฝ้ าย
ชื่อสามัญ: Cotton
ชื่อวิทยาศาสตร์: Gossypium hirsutum L.
ชื่อวงศ์: MALVACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
-ลาต้น: ไม้พุ่มขนาดเล็ก ตั้งตรง ขนละเอียดขึ้นหนาแน่น
-ใบ: เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับเป็นรูปไข่กว้าง ขอบใบเว้าลึกเป็น 3-5 แฉก
-ดอก: ออกเป็นดอกเดี่ยวตามซอกใบและที่ปลายกิ่ง ดอกเป็นสีเหลืองอ่อน จะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแกมชมพูหลังจากดอกบาน
เต็มที่
-ผล: เป็นผลแห้ง แตกออกได้ตามพูเป็น 3 ฝา ภายในมีเมล็ดมีขนยาวสีขาวห่อหุ้มอยู่
ประโยชน์: เส้นใยจากเมล็ด สามารถใช้ทอเป็นผ้าฝ้ าย เส้นด้าย สาลี ผสมในกระดาษ และกระดาษพิมพ์ ส่วนขนปุยสั้น ๆ ที่ติด
อยู่ที่เมล็ดจะนามาใช้ทาพรม และเมล็ดใช้สกัดเอาน้ามันเมล็ดฝ้ าย
ครอบฟันสี
 ชื่อสามัญ : Moon flower
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Abutilon indicum (L.) Sweet จัดอยู่ในวงศ์ MALVACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : สาหรับต้นครอบฟันสีนั้นเป็นพืชที่มีลักษณะเป็นพุ่มไม้ขนาดเล็ก ซึ่งมีลาต้นสูงไม่เกิน 5 ฟุต ลา
ต้นตรง แตกกิ่งก้านมาก พร้อมใบที่ค่อนข้างหนา กลมโต และมีขนสีขาวนวลออกสลับกัน ฐานใบคล้ายหัวใจ ส่วนขอบใบจะ
หยัก โดยมีดอกเป็นสีเหลือง ออกเป็นดอกเดียวจากซอกของก้านใบ ก้านดอกยาว โดยใกล้โคนดอกจะมีลักษณะเป็นรอยข้อ 1
รอย และกลีบเลี้ยงติดกัน โดยเวลาดอกบานแล้วจะมีลักษณะคล้ายกับจาน ส่วนผลจะกลมเป็นกลีบๆ คล้ายฟันสีที่ใช้สีข้าว
แต่ชนิดนี้จะมีลักษณะตูมไม่อ้าเหมือนชนิดอื่น
ปัณฑิตา เฟื่องพานิชเจริญ เลขที่ 8
ครอบฟันสี
 ประโยชน์และสรรพคุณของครอบฟันสี
ใบ – ช่วยในการบ่มฝีหนองให้แตกเร็วขึ้น ให้รสขมร้อนมัน
ดอก – ช่วยบ่มฝีหนอง และฟอกลาไส้ ให้รสขม
ราก – ช่วยแก้ไตพิการ หรือปัสสาวะพิการ ตลอดจนแก้เบาหวาน ช่วยสมานเยื่อทางเดินปัสสาวะ แก้ดีและลม รวมทั้งแก้
มุตกิด (แก้อาการตกขาว) แก้อาการไอ ช่วยบารุงธาตุ แก้ไข้ผอมเหลือง ช่วยขับปัสสาวะ บารุงธาตุ และบารุงกาลัง ให้รสขม
ร้อน
ต้น – ช่วยในการบารุงโลหิต และขับลม ให้รสขม
ปัณฑิตา เฟื่องพานิชเจริญ เลขที่ 8
ฝ้ ายตุ่น
 ชื่อสามัญ : White cotton วงศ์ : MALVACEAE
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gossypium herbaceum L.
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม ลาต้น มีสีน้าตาลแดงอาจเป็นเหลี่ยม ใบ เดี่ยว รูปไข่กว้าง ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก 3-
5 หยัก ฐานใบเป็นรูปหัวใจ ก้านใบค่อนข้างยาว ดอก เดี่ยว มีใบประดับ 5 กลีบติดกัน กลีบดอกสีเหลือง ผล กลมปลายยาว
แหลม เมล็ด รูปไข่ มีขนสีขาวยาว 3.7-5 เซนติเมตร รอบๆ
 ส่วนที่ใช้ : เปลือกต้น ราก
 สรรพคุณ : เปลือกต้น ราก - ปรุงรับประทานเป็นยาขับโลหิตระดู ทาให้มดลูกบีบตัวอย่างแรง อาจทาให้เกิดการแท้งบุตรได้
ง่าย รับประทานเป็นยาต้ม 1 ใน 5 หรือน้ายาสกัดและทิงเจอร์ (1ใน 4) ครั้งละ 2-4 ซีซี.
ปัณฑิตา เฟื่องพานิชเจริญ เลขที่ 8
ฉัตรทอง
 ชื่อสามัญ : Hollyhock
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Althaea rosea Cav. วงศ์ : MALVACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก มีลาต้นตั้งตรง ตามลาต้นจะมีขนอ่อนปกคลุมอยู่ ลาต้นมีสีเขียวสูง
ประมาณ 2.5 เมตร ออกใบเดี่ยว สลับกันไปตามลาต้น ใบมีสีเขียวลักษณะของใบคล้ายรูปดาว แต่ตรงโคนใบจะเว้าแบบรูป
หัวใจ ออกดอกเดี่ยว อยู่ตามง่ามใบ ลักษณะของดอกเป็นรูปถ้วย ผลมีลักษณะกลมและแบน ภายในผลจะมีเมล็ดเป็นรูปไต
อยู่จานวนมาก ผลโตประมาณ 1-1.5 นิ้ว
ปัณฑิตา เฟื่องพานิชเจริญ เลขที่ 8
ฉัตรทอง
 สรรพคุณฉัตรทอง :
ยอดอ่อนและใบ ถ้าเป็นแผลฝีหนอง หนองใน แผลอักเสบให้นายอดอ่อนหรือใบมาต้มกับน้ากิน จะใช้ใบสดหรือแห้งก็
ได้ หรือเผาให้เป็นเถาแล้วนามาบดกินเป็นผงก็ได้ จะใช้อยู่ประมาณ 6-20 กรัมดอก ใช้เป็นยาแก้ไข้ แก้บิด อาเจียนเป็นเลือด ขับ
ปัสสาวะอุจจาระ ตกเลือด ตกขาว พอกแผลบวม
ดอก แก้โรคหัด ให้เก็บดอกที่บานเต็มที่แล้วจะใช้สด หรือแห้งก็ได้ โดยการนามาต้มกินหรือบดเป็นผงกิน แต่ถ้าแผล
บวมให้นามาตาหรือบดเป็นผงทา หรือพอกบริเวณนั้น
ราก ใช้เป็นยาดูดหนอง แก้หนองใน อาเจียนเป็นเลือดแผลบวม แผลในลาไส้ แผลไฟลวก ตกเลือด ตกขาว ขับ
ปัสสาวะ หรือปัสสาวะมีเลือด ให้นารากสด ๆ ประมาณ 30-60 กรัมถ้าใช้ทาภายนอกก็ตาแล้วพอก แต่ถ้ากินก็เอาต้มกับน้าหรือ
ทาเป็นเม็ด หรือบดเป็นผงกินก็ได้
เมล็ด ใช้ทาเป็นยาแก้โรคหนองใน หล่อลื่นลาไส้ แผลหิด ท้องผูก ขับปัสสาวะ โดยการนาเมล็ดมาต้มกินหรือบดเป็น
ผงกิน เมล็ดนี้จะต้องเอามากผลที่แก่แล้วแกะเอาเมล็ดมาตากแห้งเสียก่อน
ปัณฑิตา เฟื่องพานิชเจริญ เลขที่ 8
ปอแก้ว
 ชื่อสามัญ : Kenaf , Hemp hibiscus
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus spp. จัดอยู่ในวงศ์ MALVACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ปอแก้วมีลาต้นตรงไม่แตกกอ สูงประมาณ 4 เมตร
เส้นผ่าศูนย์กลางที่โคนต้นประมาณ 8-25 มิลลิเมตร มักไม่มีกิ่งแกขนงเมื่อปลูกใน
ระยะชิดกันเพื่อผลิตเส้นใย พันธุ์ต่างๆ อาจมีสีของลาต้นต่างกัน เช่น เขียว แดง หรือ
ม่วง ปอแก้วทั้งสองชนิดมีดอกสีเหลืองอ่อน และมีสีม่วงแดงตรงกลางดอก
 ประโยชน์ : ปอแก้วเป็นปอพื้นเมืองซึ่งปลูกกระจัดกระจายในแอฟริกาและอินเดีย มี
ถิ่นกาเนิดในแถบตะวันตกของประเทศซูดานเป็นพืชให้เส้นใยที่ได้จากเปลือกของลา
ต้น รู้จักกันดีในอียิปต์และอินเดียมาหลายศตวรรษแล้วต่อมาปลูกกันแพร่หลายใน
ทวีปเอชีย อเมริกาใต้และแอฟริกา ใช้เปลือกทาเส้นใย สาหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ
ปอแก้วมักใช้แทนหรือปนกับเส้นใยจากปอกระเจาในการทอกระสอบ ทาเชือก หรือ
พรม หรือใช้ทาสิ่งทอในการหัตถกรรม เทียบกับเส้นใยจากปอกระเจา เส้นใยจากปอ
แก้วไม่สามารถทอให้เป็นเส้นเล็กๆ ได้เท่ากับเส้นใยจากปอกระเจา และถึงแม้ว่าปอ
แก้วจะมีลักษณะที่ดูดีกว่า ราคาของปอแก้วมักจะต่ากว่าเส้นใยจากปอกระเจา
เล็กน้อย
ชนัญชิดา รัตนธน เลขที่ 4
กระเจี๊ยบ
 ชื่อสามัญ : Jamaica sorrel, Roselle, Red sorrel, Rozelle
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus sabdariffa L. จัดอยู่ในวงศ์ MALVACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ไม้ล้มลุก สูงประมาณ 1 - 3 เมตร เปลือกต้นสีเทาปนแดงเหนียว
ใบเป็นใบเดี่ยว การเกาะติดของใบบนกิ่งแบบสลับ รูปแบบนิ้วมือ โดยใบหยักลึก 3 - 5 ปลาย
ปลายยอดแหลม โคนใบมนกว้าง ขอบใบหยักแบบฟันเลื้อย ก้านใบสีแดงยาว ดอกออกเดี่ยว
เป็นกระจุก 1 - 3 ดอกที่ซอกใบบริเวณปลายยอด ดอกสีขาวนวล และชมพูแดง กลีบดอกมี 5
กลีบ แต่ละกลีบเป็นอิสระจากกัน กลีบเลี้ยงสีแดงสด แบ่งเป็น 2 ชั้น ชั้นในมีเนื้อกลีบส่วน
โคนเชื่อมติดกัน กลีบชั้นนอกเรียวแหลม 8 - 12 กลีบ ผลทรงกลมปลายแหลมผิวผลมีขน
ขนาดเล็กสีขาวเกาะติดหนาแน่น เมล็ดทรงกลม สีน้าตาลดา มีจานวนมาก
 สรรพคุณ : กลีบเลี้ยงของดอก ต้มน้าดื่ม ใบและยอดอ่อน เป็นเครื่องปรุงให้รสเปรี้ยว และ
รับประทานสด เมล็ด เป็นยาบารุงกาลัง ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ เป็นยาลดไขมันในเส้น
เลือด และช่วยลดน้าหนักด้วย ลดความดันโลหิตได้โดยไม่มีผลข้างเคียง ลดอุณหภูมิใน
ร่างกาย น้ากระเจี๊ยบทาให้ความเหนียวข้นของเลือดลดลง บารุงโลหิต แก้อ่อนเพลีย บารุง
กาลัง บารุงธาตุ แก้ดีพิการ แก้ปัสสาวะขัด แก้คอแห้งกระหายน้า กัดเสมหะ แก้ไอ
ชนัญชิดา รัตนธน เลขที่ 4
ครอบจักรวาล
 ชื่อสามัญ : Country mallow, Indian mallow
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Abutilon indicum (L.) Sweet จัดอยู่ในวงศ์ MALVACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :เป็นพรรณไม้พุ่ม ลาต้นสูงไม่เกิน 5 ฟุต และจะเป็นขนสี
ขาวนวล ใบจะกลมและโตประมาณ 7 ซม. ใบค่อนข้างหนาจะมีขนสีขาวนวล ดอก
จะโตประมาณ 2-3 ซม. เป็นดอกสีเหลือง ผลนั้นจะมีลักษณะกลมเป็นกลีบๆ คล้าย
ฟันสีที่ใช้สีข้าวแต่ชนิดนี้ผลจะเป็นรูปตูมๆ ไม่บานอ้า เหมือนชนิดอื่น
 ส่วนที่ใช้ : ทั้งต้น ราก และเมล็ด เก็บในฤดูร้อนและฤดูหนาว ตัดทั้งต้น ล้างสะอาด
ตากแห้งเก็บไว้ใช้
 สรรพคุณ : ทั้งต้น - รสชุ่ม สุขุม ไม่มีพิษ ใช้แก้ร้อน ชื้น ฟอกเลือด แก้ท้องร่วง หูอื้อ หู
หนวก แผลบวมเป็นหนอง โรคเรื้อน ปัสสาวะขัด เจ็บ ขุ่น คางทูม ขับลม เลือดร้อน
ราก - รสจืด ชุ่ม เย็น ใช้แก้ร้อน ชื้น ฟอกเลือด แก้ไอ หูหนวก หูชั้นกลางอักเสบ
เหงือกอักเสบ คอตีบ ปวดท้อง ท้องร่วง ริดสีดวงทวาร ขับปัสสาวะ
เมล็ด - ใช้แก้บิดมูกเลือด ฝีฝักบัว
ชนัญชิดา รัตนธน เลขที่ 4
บรรณานุกรม
 ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. “ปอพราน”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
www.phargarden.com.
 กรีนไฮเปอร์มาร์ท สารานุกรมผลิตผลและผลิตภัณฑ์จากพืชในซุปเปอร์มาร์เก็ต, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
“ฝ้ าย”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.sc.mahidol.ac.th/wiki/.
 สานักงานหอพรรณไม้ สานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. “ชะมดต้น”.
[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.dnp.go.th/botany/
 ไทยเกษตรศาสตร์. “ข้อมูลของฝ้ ายแดง”. อ้างอิงใน : ศาสตราจารย์พเยาว์ เหมือนวงษ์ญาติ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
www.thaikasetsart.com
 “ครอบฟันสี ประโยชน์และสรรพคุณของต้นครอบฟันสี”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.เกร็ดความรู้.net
 “รายชื่อพรรณไม้ในประเทศไทย”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.t-fern.forest.ku.ac.th
 “ครอบจักรวาล”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.Wikipedia.com
 “วงศ์Malvacaea”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.book.baanlaesuan.com/tag/วงศ์-malvaceae
กิตติกรรมประกาศ
งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ฉบับนี้สาเร็จอย่างสมบูรณ์ ได้ด้วยความช่วยเหลืออย่างดี
ขอขอบคุณ อาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์ที่ได้ให้คาแนะนาในการเขียนรูปแบบการนาเสนอ ให้คาปรึกษาแก่
คณะผู้จัดทา ได้ให้คาแนะนาในการให้ความรู้เกี่ยวกับความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืช ซึ่งนามาเป็นองค์
ความรู้ในการศึกษาทางานนาเสนอ ทาให้รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี
คณะผู้จัดทา

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt? (20)

Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
 
Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 

Ähnlich wie Plant ser 143_60_4 (17)

Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
931 pre12
931 pre12931 pre12
931 pre12
 
Plant ser 77_60_10
Plant ser 77_60_10Plant ser 77_60_10
Plant ser 77_60_10
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant ser 125_60_8
Plant ser 125_60_8Plant ser 125_60_8
Plant ser 125_60_8
 
Plant ser 126_60_1
Plant ser 126_60_1Plant ser 126_60_1
Plant ser 126_60_1
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7
 
Patcharee
PatchareePatcharee
Patcharee
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 

Mehr von Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Mehr von Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 143_60_4

  • 1. งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 6 (ว30246) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ ห้อง 143 พืชที่นาเสนอ คือพืช family MALVACEAE จานวน 12 ชนิด
  • 2. สมาชิกในกลุ่ม 1. ชนัญชิดา รัตนธน เลขที่ 4 2. ณิชนันทน์ ชัยสุบรรณ์กนก เลขที่ 5 3. ปัณฑิตา เฟื่องพานิชเจริญ เลขที่ 8 4. ศุภกานต์ มณีรัตน์ เลขที่ 17
  • 4. สารบัญ • ฝ้ ายแดง • ฝ้ ายเทศ • หญ้าขัด • ชะมดต้น • ปอพราน • ฝ้ าย • ครอบฟันสี • ฝ้ ายตุ่น • ฉัตรทอง • ปอแก้ว • กระเจี๊ยบ • ครอบจักรวาล
  • 5. ฝ้ ายแดง • ชื่อสามัญ : Ceylon cotton, Chinese cotton ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gossypium arboreum L. ชื่อวงศ์ : MALVACEAE • ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ฝ้ ายแดง เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดกลาง จะแตกกิ่งก้านสาขาออกไปรอบรอบต้น มีกิ่งก้านที่แข็งแรง ลาต้นสูงประมาณ 4-5 ฟุต ดอกฝ้ ายแดง ดอกออกเป็นดอกเดี่ยว จะแตกออกตามบริเวณปลายกิ่ง ดอกมีสีแดงสดและตรงกลางดอกจะเป็นสีม่วงอมดา ประแต้มด้วยสีเหลือง กลีบดอกจะออกซ้อน ๆ กัน สวยงามมาก • แหล่งที่พบ ฝ้ ายแดงเป็นพืชที่มีถิ่นกาเนิดในทวีปเอเชียในเขตร้อนและกึ่งร้อน และทวีปแอฟริกา • ประโยชน์ ขับปัสสาวะ ช่วยบีบมดลูก ทาให้แท้ง และช่วยขับน้าคาวปลาของสตรี รักษาโรคหนองใน น.ส.ศุภกานต์ มณีรัตน์ เลขที่17
  • 6. ฝ้ ายเทศ • ชื่อสามัญ : Cotton , Sea Iceland Cotton ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gossypium herbaceum L. ชื่อวงศ์ : MALVACEAE • ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ฝ้ ายเทศเป็นไม้พุ่ม ลาต้น มีสีน้าตาลแดงอาจเป็นเหลี่ยม ใบ เดี่ยว รูปไข่กว้าง ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก 3-5 หยัก ฐาน ใบเป็นรูปหัวใจ ก้านใบค่อนข้างยาว ดอก เดี่ยว มีใบประดับ 5 กลีบติดกัน กลีบดอกสีเหลือง ผล กลมปลายยาวแหลม เมล็ด รูปไข่ มีขนสีขาวยาว 3.7-5 เซนติเมตร รอบๆ เมล็ด • แหล่งที่พบ ทุกภาคของประเทศไทย • ประโยชน์ เมล็ดฝ้ ายใช้หีบน้ามัน ปุยฝ้ ายทาสาลีและอุปกรณ์ใช้ในทางการแพทย์ และใช้เตรียมเป็นยาแผนปัจจุบันหลายชนิด น้ามัน เมล็ดฝ้ ายใช้เป็นน้ามันหุงต้ม น.ส.ศุภกานต์ มณีรัตน์ เลขที่17
  • 7. หญ้าขัด • ชื่อสามัญ : Paddy’s lucerne, Queensland hemp ชื่อวิทยาศาสตร์ : Sida rhombifolia L. ชื่อวงศ์ : MALVACEAE • ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 0.3-1 เมตร ลาต้นแข็งแรง เปลือกต้นมีใยเหนียวดีมาก เป็นลักษณะพิเศษของต้นไม้ในวงศ์พวกชบานี้อย่าง หนึ่ง ลาต้นแตกกิ่งก้านสาขามาก • แหล่งที่พบ เชียงใหม่,ภาคกลาง • ประโยชน์ ทั้งต้น สามารถใช้ดับร้อน แก้พิษ แก้บวม แก้ปวด สมานเนื้อ แก้กวัด เต้านมอักเสบ บิด ลาไส้อักเสบ หกล้มกระดูกหัก แผลบวมเป็นพิษ เลือดออก น.ส.ศุภกานต์ มณีรัตน์ เลขที่17
  • 8. ชะมดต้น ชื่อสามัญ: Annual hibiscus ชื่อวิทยาศาสตร์: Abelmoschus moschatus Medik ชื่อวงศ์: MALVACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ -ลาต้น: เป็นพรรณไม้ล้มลุกเนื้ออ่อนขนาดเล็กหรือไม้พุ่ม ลาต้นมีความสูงได้ประมาณ 1-2 เมตร ทั้งต้นมีขนสีขาวขึ้นปกคลุม -ใบ: เป็นรูปดาวหรือรูปฝ่ามือ ปลายใบแหลม โคนใบเว้าเข้าหากันคล้ายรูปหัวใจ -ดอก: เป็นรูปเส้นด้ายหรือรูปใบหอกกลีบเลี้ยงเป็นรูปใบหงายกลีบดอกเป็นสีเหลืองนวลและมีสีม่วงเข้ม เป็นรูปไข่กลีบ -ผล: เป็นรูปกลมยาวเป็นเฟือง 5 เฟือง คล้ายผลมะเฟือง ประโยชน์: ใช้เป็นยารักษากลากเกลื้อน แก้พิษฝีหนอง ช่วยขับน้านมในสตรีหลังการคลอดบุตร และใช้เป็นยาขับพิษร้อนถอนพิษ ไข้ เพิ่มเติม: เป็นวัชพืชที่ขยายพันธ์ได้ง่ายและรวดเร็ว และบางกลุ่มมีความเชื่อที่ไม่ดีกับต้นๆนี้ ณิชนันทน์ ชัยสุบรรณ์กนก เลขที่ 5 ห้อง 143
  • 9. ชื่อท้องถิ่น: ปอปาน ปอขี้ตุ่น ขี้หมาแห้ง ชื่อวิทยาศาสตร์: Colona auriculata ชื่อวงศ์: MALVACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ -ลาต้น: พรรณไม้พุ่ม เปลือกสีน้าตาลปนเทา มีขนยาวขึ้นปกคลุม -ใบ: ใบเดี่ยวเรียงสลับเป็นรูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน ปลายใบแหลมขอบหยัก -ดอก: เป็นช่อแบบช่อกระจุกตามซอกใบ กลีบดอกมี 5 กลีบ เป็นสีเหลืองสดจุดประสีส้มแกมน้าตาล -ผล: กลม หรือเป็นรูปไข่มีครีบ เป็นสันตามยาว 5 ครีบ ก้านผลยาว ประโยชน์: นามาต้มเป็นยารักษาโรคบิด แก้ท้องเสีย ใช้ผสมกับเหง้าดองดึงคลุกข้าวทาเป็นยาสาหรับเบื่อสุนัข เส้นใยที่ ได้จากเปลือกนาไปใช้ทาเป็นเชือกที่มีคุณภาพดี ปอพราน
  • 10. ฝ้ าย ชื่อสามัญ: Cotton ชื่อวิทยาศาสตร์: Gossypium hirsutum L. ชื่อวงศ์: MALVACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ -ลาต้น: ไม้พุ่มขนาดเล็ก ตั้งตรง ขนละเอียดขึ้นหนาแน่น -ใบ: เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับเป็นรูปไข่กว้าง ขอบใบเว้าลึกเป็น 3-5 แฉก -ดอก: ออกเป็นดอกเดี่ยวตามซอกใบและที่ปลายกิ่ง ดอกเป็นสีเหลืองอ่อน จะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแกมชมพูหลังจากดอกบาน เต็มที่ -ผล: เป็นผลแห้ง แตกออกได้ตามพูเป็น 3 ฝา ภายในมีเมล็ดมีขนยาวสีขาวห่อหุ้มอยู่ ประโยชน์: เส้นใยจากเมล็ด สามารถใช้ทอเป็นผ้าฝ้ าย เส้นด้าย สาลี ผสมในกระดาษ และกระดาษพิมพ์ ส่วนขนปุยสั้น ๆ ที่ติด อยู่ที่เมล็ดจะนามาใช้ทาพรม และเมล็ดใช้สกัดเอาน้ามันเมล็ดฝ้ าย
  • 11. ครอบฟันสี  ชื่อสามัญ : Moon flower  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Abutilon indicum (L.) Sweet จัดอยู่ในวงศ์ MALVACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : สาหรับต้นครอบฟันสีนั้นเป็นพืชที่มีลักษณะเป็นพุ่มไม้ขนาดเล็ก ซึ่งมีลาต้นสูงไม่เกิน 5 ฟุต ลา ต้นตรง แตกกิ่งก้านมาก พร้อมใบที่ค่อนข้างหนา กลมโต และมีขนสีขาวนวลออกสลับกัน ฐานใบคล้ายหัวใจ ส่วนขอบใบจะ หยัก โดยมีดอกเป็นสีเหลือง ออกเป็นดอกเดียวจากซอกของก้านใบ ก้านดอกยาว โดยใกล้โคนดอกจะมีลักษณะเป็นรอยข้อ 1 รอย และกลีบเลี้ยงติดกัน โดยเวลาดอกบานแล้วจะมีลักษณะคล้ายกับจาน ส่วนผลจะกลมเป็นกลีบๆ คล้ายฟันสีที่ใช้สีข้าว แต่ชนิดนี้จะมีลักษณะตูมไม่อ้าเหมือนชนิดอื่น ปัณฑิตา เฟื่องพานิชเจริญ เลขที่ 8
  • 12. ครอบฟันสี  ประโยชน์และสรรพคุณของครอบฟันสี ใบ – ช่วยในการบ่มฝีหนองให้แตกเร็วขึ้น ให้รสขมร้อนมัน ดอก – ช่วยบ่มฝีหนอง และฟอกลาไส้ ให้รสขม ราก – ช่วยแก้ไตพิการ หรือปัสสาวะพิการ ตลอดจนแก้เบาหวาน ช่วยสมานเยื่อทางเดินปัสสาวะ แก้ดีและลม รวมทั้งแก้ มุตกิด (แก้อาการตกขาว) แก้อาการไอ ช่วยบารุงธาตุ แก้ไข้ผอมเหลือง ช่วยขับปัสสาวะ บารุงธาตุ และบารุงกาลัง ให้รสขม ร้อน ต้น – ช่วยในการบารุงโลหิต และขับลม ให้รสขม ปัณฑิตา เฟื่องพานิชเจริญ เลขที่ 8
  • 13. ฝ้ ายตุ่น  ชื่อสามัญ : White cotton วงศ์ : MALVACEAE  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gossypium herbaceum L.  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม ลาต้น มีสีน้าตาลแดงอาจเป็นเหลี่ยม ใบ เดี่ยว รูปไข่กว้าง ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก 3- 5 หยัก ฐานใบเป็นรูปหัวใจ ก้านใบค่อนข้างยาว ดอก เดี่ยว มีใบประดับ 5 กลีบติดกัน กลีบดอกสีเหลือง ผล กลมปลายยาว แหลม เมล็ด รูปไข่ มีขนสีขาวยาว 3.7-5 เซนติเมตร รอบๆ  ส่วนที่ใช้ : เปลือกต้น ราก  สรรพคุณ : เปลือกต้น ราก - ปรุงรับประทานเป็นยาขับโลหิตระดู ทาให้มดลูกบีบตัวอย่างแรง อาจทาให้เกิดการแท้งบุตรได้ ง่าย รับประทานเป็นยาต้ม 1 ใน 5 หรือน้ายาสกัดและทิงเจอร์ (1ใน 4) ครั้งละ 2-4 ซีซี. ปัณฑิตา เฟื่องพานิชเจริญ เลขที่ 8
  • 14. ฉัตรทอง  ชื่อสามัญ : Hollyhock  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Althaea rosea Cav. วงศ์ : MALVACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก มีลาต้นตั้งตรง ตามลาต้นจะมีขนอ่อนปกคลุมอยู่ ลาต้นมีสีเขียวสูง ประมาณ 2.5 เมตร ออกใบเดี่ยว สลับกันไปตามลาต้น ใบมีสีเขียวลักษณะของใบคล้ายรูปดาว แต่ตรงโคนใบจะเว้าแบบรูป หัวใจ ออกดอกเดี่ยว อยู่ตามง่ามใบ ลักษณะของดอกเป็นรูปถ้วย ผลมีลักษณะกลมและแบน ภายในผลจะมีเมล็ดเป็นรูปไต อยู่จานวนมาก ผลโตประมาณ 1-1.5 นิ้ว ปัณฑิตา เฟื่องพานิชเจริญ เลขที่ 8
  • 15. ฉัตรทอง  สรรพคุณฉัตรทอง : ยอดอ่อนและใบ ถ้าเป็นแผลฝีหนอง หนองใน แผลอักเสบให้นายอดอ่อนหรือใบมาต้มกับน้ากิน จะใช้ใบสดหรือแห้งก็ ได้ หรือเผาให้เป็นเถาแล้วนามาบดกินเป็นผงก็ได้ จะใช้อยู่ประมาณ 6-20 กรัมดอก ใช้เป็นยาแก้ไข้ แก้บิด อาเจียนเป็นเลือด ขับ ปัสสาวะอุจจาระ ตกเลือด ตกขาว พอกแผลบวม ดอก แก้โรคหัด ให้เก็บดอกที่บานเต็มที่แล้วจะใช้สด หรือแห้งก็ได้ โดยการนามาต้มกินหรือบดเป็นผงกิน แต่ถ้าแผล บวมให้นามาตาหรือบดเป็นผงทา หรือพอกบริเวณนั้น ราก ใช้เป็นยาดูดหนอง แก้หนองใน อาเจียนเป็นเลือดแผลบวม แผลในลาไส้ แผลไฟลวก ตกเลือด ตกขาว ขับ ปัสสาวะ หรือปัสสาวะมีเลือด ให้นารากสด ๆ ประมาณ 30-60 กรัมถ้าใช้ทาภายนอกก็ตาแล้วพอก แต่ถ้ากินก็เอาต้มกับน้าหรือ ทาเป็นเม็ด หรือบดเป็นผงกินก็ได้ เมล็ด ใช้ทาเป็นยาแก้โรคหนองใน หล่อลื่นลาไส้ แผลหิด ท้องผูก ขับปัสสาวะ โดยการนาเมล็ดมาต้มกินหรือบดเป็น ผงกิน เมล็ดนี้จะต้องเอามากผลที่แก่แล้วแกะเอาเมล็ดมาตากแห้งเสียก่อน ปัณฑิตา เฟื่องพานิชเจริญ เลขที่ 8
  • 16. ปอแก้ว  ชื่อสามัญ : Kenaf , Hemp hibiscus  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus spp. จัดอยู่ในวงศ์ MALVACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ปอแก้วมีลาต้นตรงไม่แตกกอ สูงประมาณ 4 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางที่โคนต้นประมาณ 8-25 มิลลิเมตร มักไม่มีกิ่งแกขนงเมื่อปลูกใน ระยะชิดกันเพื่อผลิตเส้นใย พันธุ์ต่างๆ อาจมีสีของลาต้นต่างกัน เช่น เขียว แดง หรือ ม่วง ปอแก้วทั้งสองชนิดมีดอกสีเหลืองอ่อน และมีสีม่วงแดงตรงกลางดอก  ประโยชน์ : ปอแก้วเป็นปอพื้นเมืองซึ่งปลูกกระจัดกระจายในแอฟริกาและอินเดีย มี ถิ่นกาเนิดในแถบตะวันตกของประเทศซูดานเป็นพืชให้เส้นใยที่ได้จากเปลือกของลา ต้น รู้จักกันดีในอียิปต์และอินเดียมาหลายศตวรรษแล้วต่อมาปลูกกันแพร่หลายใน ทวีปเอชีย อเมริกาใต้และแอฟริกา ใช้เปลือกทาเส้นใย สาหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ ปอแก้วมักใช้แทนหรือปนกับเส้นใยจากปอกระเจาในการทอกระสอบ ทาเชือก หรือ พรม หรือใช้ทาสิ่งทอในการหัตถกรรม เทียบกับเส้นใยจากปอกระเจา เส้นใยจากปอ แก้วไม่สามารถทอให้เป็นเส้นเล็กๆ ได้เท่ากับเส้นใยจากปอกระเจา และถึงแม้ว่าปอ แก้วจะมีลักษณะที่ดูดีกว่า ราคาของปอแก้วมักจะต่ากว่าเส้นใยจากปอกระเจา เล็กน้อย ชนัญชิดา รัตนธน เลขที่ 4
  • 17. กระเจี๊ยบ  ชื่อสามัญ : Jamaica sorrel, Roselle, Red sorrel, Rozelle  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus sabdariffa L. จัดอยู่ในวงศ์ MALVACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ไม้ล้มลุก สูงประมาณ 1 - 3 เมตร เปลือกต้นสีเทาปนแดงเหนียว ใบเป็นใบเดี่ยว การเกาะติดของใบบนกิ่งแบบสลับ รูปแบบนิ้วมือ โดยใบหยักลึก 3 - 5 ปลาย ปลายยอดแหลม โคนใบมนกว้าง ขอบใบหยักแบบฟันเลื้อย ก้านใบสีแดงยาว ดอกออกเดี่ยว เป็นกระจุก 1 - 3 ดอกที่ซอกใบบริเวณปลายยอด ดอกสีขาวนวล และชมพูแดง กลีบดอกมี 5 กลีบ แต่ละกลีบเป็นอิสระจากกัน กลีบเลี้ยงสีแดงสด แบ่งเป็น 2 ชั้น ชั้นในมีเนื้อกลีบส่วน โคนเชื่อมติดกัน กลีบชั้นนอกเรียวแหลม 8 - 12 กลีบ ผลทรงกลมปลายแหลมผิวผลมีขน ขนาดเล็กสีขาวเกาะติดหนาแน่น เมล็ดทรงกลม สีน้าตาลดา มีจานวนมาก  สรรพคุณ : กลีบเลี้ยงของดอก ต้มน้าดื่ม ใบและยอดอ่อน เป็นเครื่องปรุงให้รสเปรี้ยว และ รับประทานสด เมล็ด เป็นยาบารุงกาลัง ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ เป็นยาลดไขมันในเส้น เลือด และช่วยลดน้าหนักด้วย ลดความดันโลหิตได้โดยไม่มีผลข้างเคียง ลดอุณหภูมิใน ร่างกาย น้ากระเจี๊ยบทาให้ความเหนียวข้นของเลือดลดลง บารุงโลหิต แก้อ่อนเพลีย บารุง กาลัง บารุงธาตุ แก้ดีพิการ แก้ปัสสาวะขัด แก้คอแห้งกระหายน้า กัดเสมหะ แก้ไอ ชนัญชิดา รัตนธน เลขที่ 4
  • 18. ครอบจักรวาล  ชื่อสามัญ : Country mallow, Indian mallow  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Abutilon indicum (L.) Sweet จัดอยู่ในวงศ์ MALVACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :เป็นพรรณไม้พุ่ม ลาต้นสูงไม่เกิน 5 ฟุต และจะเป็นขนสี ขาวนวล ใบจะกลมและโตประมาณ 7 ซม. ใบค่อนข้างหนาจะมีขนสีขาวนวล ดอก จะโตประมาณ 2-3 ซม. เป็นดอกสีเหลือง ผลนั้นจะมีลักษณะกลมเป็นกลีบๆ คล้าย ฟันสีที่ใช้สีข้าวแต่ชนิดนี้ผลจะเป็นรูปตูมๆ ไม่บานอ้า เหมือนชนิดอื่น  ส่วนที่ใช้ : ทั้งต้น ราก และเมล็ด เก็บในฤดูร้อนและฤดูหนาว ตัดทั้งต้น ล้างสะอาด ตากแห้งเก็บไว้ใช้  สรรพคุณ : ทั้งต้น - รสชุ่ม สุขุม ไม่มีพิษ ใช้แก้ร้อน ชื้น ฟอกเลือด แก้ท้องร่วง หูอื้อ หู หนวก แผลบวมเป็นหนอง โรคเรื้อน ปัสสาวะขัด เจ็บ ขุ่น คางทูม ขับลม เลือดร้อน ราก - รสจืด ชุ่ม เย็น ใช้แก้ร้อน ชื้น ฟอกเลือด แก้ไอ หูหนวก หูชั้นกลางอักเสบ เหงือกอักเสบ คอตีบ ปวดท้อง ท้องร่วง ริดสีดวงทวาร ขับปัสสาวะ เมล็ด - ใช้แก้บิดมูกเลือด ฝีฝักบัว ชนัญชิดา รัตนธน เลขที่ 4
  • 19. บรรณานุกรม  ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. “ปอพราน”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.phargarden.com.  กรีนไฮเปอร์มาร์ท สารานุกรมผลิตผลและผลิตภัณฑ์จากพืชในซุปเปอร์มาร์เก็ต, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. “ฝ้ าย”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.sc.mahidol.ac.th/wiki/.  สานักงานหอพรรณไม้ สานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. “ชะมดต้น”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.dnp.go.th/botany/  ไทยเกษตรศาสตร์. “ข้อมูลของฝ้ ายแดง”. อ้างอิงใน : ศาสตราจารย์พเยาว์ เหมือนวงษ์ญาติ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.thaikasetsart.com  “ครอบฟันสี ประโยชน์และสรรพคุณของต้นครอบฟันสี”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.เกร็ดความรู้.net  “รายชื่อพรรณไม้ในประเทศไทย”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.t-fern.forest.ku.ac.th  “ครอบจักรวาล”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.Wikipedia.com  “วงศ์Malvacaea”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.book.baanlaesuan.com/tag/วงศ์-malvaceae
  • 20. กิตติกรรมประกาศ งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ฉบับนี้สาเร็จอย่างสมบูรณ์ ได้ด้วยความช่วยเหลืออย่างดี ขอขอบคุณ อาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์ที่ได้ให้คาแนะนาในการเขียนรูปแบบการนาเสนอ ให้คาปรึกษาแก่ คณะผู้จัดทา ได้ให้คาแนะนาในการให้ความรู้เกี่ยวกับความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืช ซึ่งนามาเป็นองค์ ความรู้ในการศึกษาทางานนาเสนอ ทาให้รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี คณะผู้จัดทา