SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
Downloaden Sie, um offline zu lesen
งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รายวิชาชีววิทยา 6( ว30246) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสร์ ห้อง 126
พืชที่นาเสนอ คือพืช Family ARALIACEAE จานวน 12 ชนิด
สมาชิกกลุ่ม
1. นส.ปริณดา คิล เลขที่ 14
2. นส.พัทธนันท์ สมเกษม เลขที่ 19
3. นส.วริศรา มาลารัตน์ เลขที่ 21
4. นส.อรนลิน อภิปัญญาโสภณ เลขที่ 28
ครูผู้สอน ครู.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
แนะนา
นส.ปริณดา คิล เลขที่ 14 นส.พัทธนันท์ สมเกษม เลขที่ 19 นส.วริศรา มาลารัตน์ เลขที่ 21 นส.อรนลิน อภิปัญญาโสภณ เลขที่ 28
นาเสนอ อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
สารบัญ
• ต้นหนวดปลาหมึก นางสาวปริณดา คิล
• นิ้วมือพระนารายณ์ นางสาวปริณดา คิล
• เพี้ยฟาน นางสาวปริณดา คิล
• หนุมานประสานกาย นางสาวพัทธนันท์ สมเกษม
• หญ้าเกล็ดหอย นางสาวพัทธนันท์ สมเกษม
• เล็บครุฑฝอย นางสาวพัทธนันท์ สมเกษม
• ผักหนอก นางสาว วริศรา มาลารัตน์
• เล็บครุฑแคะ นางสาว วริศรา มาลารัตน์
• ต้างหลวง นางสาว วริศรา มาลารัตน์
• เล็บครุฑใบจาน นางสาว อรนลิน อภิปัญญาโสภณ
• เล็บครุฑหนู นางสาว อรนลิน อภิปัญญาโสภณ
• โสม นางสาว อรนลิน อภิปัญญาโสภณ
• ชื่อสามัญ หนวดปลาหมึก
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Schefflera actinophylla (Endl.) Harms.
• ลักษณะ ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 6-12 ม. ขนาดทรงพุ่ม 5-6 ม. ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มทรงกระบอก หรือรูปร่ม ลาต้นตั้งตรง เปลือก
ต้นสีน้าตาลอ่อนหรือสีเทา ค่อนข้างเรียบ มีรากอากาศห้อยตามลาต้นและกิ่ง ใบประกอบรูปนิ้วมือ เรียงเวียนสลับ ก้านใบรวมยาว 30-40
ซม. ก้านใบย่อยยาว 4-6 ซม. มีใบย่อย 6-9 ใบ รูปรี หรือรูปรีแกมรูป ขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 15-25 ซม. ปลายใบติ่งแหลมหรือมน
โคนใบแหลมหรือมน ขอบใบเป็นคลื่น แผ่นใบค่อนข้างหนาและเหนียว สีเขียวเข้มเรียบเป็นมัน สีชมพู ออกเป็นช่อแบบช่อซี่ร่มแยกแขนงที่
ปลายกิ่ง ช่อดอก ตั้งยาว 50-70 ซม. ดอกอยู่รวมกันเป็นกระจุกกระจุกละ 11-13 ดอก บนแกนช่อดอก กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย
กลีบดอก 5 กลีบรูป สามเหลี่ยม ปลายกลีบแหลมโค้งเข้า เกสรเพศผู้ 13 อัน เส้นผ่านศูนย์กลางดอกประมาณ 1 ซม. ออกดอกเดือน มี.ค.-
ก.ค. ผลแห้งแตก สีแดง ออกอยู่รวมกันเป็นกระจุก พัฒนาจากฐาน รองดอกทรงกระบอก มีลิ้นเปิดให้เมล็ดออกมา เมล็ดทรงกลม สีน้า
ตาล อมดา ขนาดเล็กจานวนมาก ติดผลเดือน พ.ค.-ส.ค. ขยายพันธุ์โดยการ เพาะเมล็ด ตอนลาต้น หรือปักชากิ่งแขนงข้างลาต้น
• สรรพคุณ : ปลูกตามริมถนนใกล้สวนหย่อมเพราะทรงพุ่มแผ่สูง แสงส่องลงโคนต้นไม้ให้ร่มเงาดี และเหมาะที่เป็นไม้กระถาง ตกแต่ง
ภายในอาคาร
• รับผิดชอบโดย นางสาว ปริณดา คิล
• ชื่อสามัญ นิ้วมือพระนารายณ์
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Schefflera heptophylla (L.) Frodin
• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
• นิ้วมือพระนารายณ์ จัดเป็นพืชที่อยู่ในวงศ์เล็บครุฑ เป็นไม้ทรงพุ่มที่ชอบเกาะอาศัยอยุ่ตามต้นไม้อื่นหรือตามซอกหิน เปลือกลาต้นเรียบเป็นสีเทาหรือ
สีน้าตาล แตกกิ่งก้านสาขามากมาย
• ใบเป็นใบประกอบแบบมีลักษณะแผ่เรียงเป็นวงกลมคล้ายนิ้วมือ ก้านใบร่วมยาว ในแต่ละก้านจะประกอบใบด้วยใบย่อยรูปรีแกมรูปขอบขนาน
ประมาณ 5-7 ใบ แผ่นใบเรียบสีเขียวเข้มเป็นมันและค่อนข้างหนา โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ก้านใบย่อยสั้น ใบและกิ่งอ่อนมีขนอ่อน
นุ่มปกคลุมอยู่ทั่ว ขนาดความกว้างของใบมีประมาณ 2-4 ซม. ยาวประมาณ 8-15 ซม.
• ดอกออกดอกเป็นช่อรูปทรงกระบอกคล้ายซี่ร่มที่บริเวณปลายยอด เป็นช่อขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยดอกย่อยสีเหลืองขนาดเล็กมากมาย ดอกมักจะ
ไม่ค่อยบาน มีก้านช่อดอกเป็นสีน้าตาลแดง มีขนละเอียดปกคลุมอยู่ทั่วช่อดอก
• ผลมีลักษณะเป็นรูปไข่หรือรูปทรงกลมขนาดเล็ก ผลอ่อนมีสีเขียวอมเหลือง เมื่อสุกจะกลายเป็นสีเหลืองเข้มหรือสีส้มอมแดง
• สรรพคุณ
• แก่น-ใช้เป็นยาแก้ท้องร่วง โดยนามาฝนกับน้าใช้รับประทาน
• กิ่ง-ต้มน้าดื่ม เพื่อรักษาโรคความดันสูง และแก้ไข้
• ราก-ใช้ต้มน้าดื่ม เพื่อรักษาโรคเบาหวาน
รับผิดชอบโดย นางสาว ปริณดา คิล
• ชื่อสามัญ เพี้ยฟาน
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Clausena excavata Burm.f.
• ลักษณะ
• ไม้พุ่ม ขนาดเล็ก โดยทั่วไปสูง 2-4 เมตร แต่บางต้นอาจสูงได้ถึง 15 เมตร ลาต้นโตขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ยาวได้ถึง 20 ซม. แตก
กิ่งก้านสาขาไม่เป็นระเบียบ มีขนละเอียดอ่อนนุ่มคลุมใบ เป็นใบประกอบแบบขนนสองชั้นเรียงสลับช่อใบยาว 15-50 ซม. โคนช่อใบอาจมีช่อ
ใบย่อยหลายช่อ ใบย่อย 15-31 ใบต่อช่อ ปลายช่อเป็นใบเดี่ยว ก้านใบย่อยสีเขียว ก้านใบปลายยาวกว่าก้านใบข้างมาก แผ่นใบรูปไข่ถึงรูปใบ
หอก ขนาดกว้าง 1-7 ซม. ยาว 2-20 ซม. ปลายแหลมหรือเรียวแหลม โคนใบเบี้ยด้านหนึ่งสอบเป็นรูปลิ่ม อีกด้านโค้งมน ขอบใบเรียบหรือ
อาจเป็นซี่หยักเล็กๆ ผิวใบแก่ด้านบนเกลี้ยงไม่มีขน ด้านล่างมีขนละเอียดบาง ๆ ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ก้านดอกย่อยยาว 0.5-2.0 มม.
วงกลีบเลี้ยงเล็กมาก กลีบดอก 4 กลีบ รูปไข่แกมขอบขนาน ยาว 3.5-5.0 มม. สีเขียวอ่อนถึงขาวอมเหลือง เกสรเพศผู้ 8 อัน ก้านชูอับเรณู
ยาว 1.5-3.5 มม. โคนโต ก้านชูเกสร เพศเมีย รูปทรงกระบอก ปลายกว้าง ยาวได้ถึง 1.8 มม. รังไข่รูปไข่ มีขนละเอียดคลุมผล มีเนื้อนอก
รูปไข่ยาว 1-2 ซม. เมื่อสุกสีชมพูอมแดง ผิวเกลี้ยงหรืออาจมีขนละเอียดบางๆ
• ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนสองชั้นเรียงสลับช่อใบยาว 15-50 ซม. โคนช่อใบอาจมีช่อใบย่อยหลายช่อ ใบย่อย 15-31 ใบต่อช่อ ปลายช่อเป็น
ใบเดี่ยว ก้านใบย่อยสีเขียว ก้านใบปลายยาวกว่าก้านใบข้างมาก แผ่นใบรูปไข่ถึงรูปใบหอก ขนาดกว้าง 1-7 ซม. ยาว 2-20 ซม. ปลายแหลม
หรือเรียวแหลม โคนใบเบี้ยด้านหนึ่งสอบเป็นรูปลิ่ม อีกด้านโค้งมน ขอบใบเรียบหรืออาจเป็นซี่หยักเล็กๆ ผิวใบแก่ด้านบนเกลี้ยงไม่มีขน
ด้านล่างมีขนละเอียดบางๆ
• ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ก้านดอกย่อยยาว 0.5-2.0 มม. วงกลีบเลี้ยงเล็กมาก กลีบดอก 4 กลีบ รูปไข่แกมขอบขนาน ยาว 3.5-5.0 มม. สี
เขียวอ่อนถึงขาวอมเหลือง เกสรเพศผู้8 อัน ก้านชูอับเรณู ยาว 1.5-3.5 มม. โคนโต ก้านชูเกสร เพศเมีย รูปทรงกระบอก ปลายกว้าง ยาวได้
ถึง 1.8 มม. รังไข่รูปไข่ มีขนละเอียดคลุม
• ผล มีเนื้อนอก รูปไข่ยาว 1-2 ซม. เมื่อสุกสีชมพูอมแดง ผิวเกลี้ยงหรืออาจมีขนละเอียดบางๆ
• สรรพคุณ ใบ รับประทานสดกับลาบ(ขมุ) ยอดอ่อน รับประทานสดจิ้มน้าพริก มีรสขมเล็กน้อย(คนเมือง) ทั้งต้น ต้มน้าอาบแก้
ผื่นคัน อาจใส่รวมกับแพพันชั้นก็ได้ (คนเมือง) ลาต้นและใบ ต้มน้าดื่มเป็นยาแก้สรรพพิษ (คนเมือง) กิ่งและใบ ต้มน้าอาบหรืออบ
ตัวแก้ไข้ไม่สบาย หลังจากคลอดลูก ใช้ต้มรวมกับเมโกล่บละ กล้วยตานี และกล้วยป่า (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) ยอดอ่อน
รับประทานเป็นยาแก้อาการท้องผูก (ม้ง)
• รับผิดชอบโดย นางสาว ปริณดา คิล
• ชื่อสามัญ หนุมานประสานกาย ว่านอ้อยช้าง และ ชิดฮะลั้ง (จีน)
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Schefflera leucantha R. Vig.
• ลักษณะ : หนุมานประสานกายเป็นไม้พุ่มที่ไม่สูงมาก สูงเพียง 1-2 เมตร แตกกิ่งก้านต่าใกล้พื้นดิน ผิวลาต้นค่อนข้างเรียบเกลี้ยง
เป็นสีน้าตาล ใบเป็นใบประกอบสีเขียวออกเรียงสลับแบบนิ้วมือ มีใบย่อย 7-8 ใบ ลักษณะรูปยาวรี กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 5-8 ซม.
โคนใบแหลมมีหูใบซึ่งจะติดอยู่กับก้านใบพอดี ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบและแผ่นใบเรียบ แผ่นใบเป็นมัน ก้านใบย่อยยาว 8 – 25
มม. ดอกมีสีขาวนวลออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ยาวประมาณ 3 – 5 นิ้ว ลักษณะของดอกย่อย เป็นดอกสีเขียว มีขนาดเล็ก ก้านช่อดอก
ยาวประมาณ 3 – 7 มม. ผลมีลักษณะรูปทรงกลมคล้ายรูปไข่ มีเนื้อ อวบน้า ขนาดเล็ก ความยาวประมาณ 5 – 6 มม. กว้าง
ประมาณ 4 – 5 มม. ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อแก่หรือสุกเต็มที่จะเปลี่ยนเป็นสีแดงสดเหมือนสีเหล้าองุ่น
• สรรพคุณ รากรักษาแผลสด ใบ รักษาโรคมะเร็ง ขับเสมหะ รักษาวัณโรค แก้ไอ แก้อาเจียนเป็นเลือด ห้ามเลือด สมานแผล แก้อักเสบ
บวม แก้คออักเสบ แก้โรคปอด ยอดอ่อน รักษาโรคหอบหืด โรคแพ้อากาศ รักษาโรคหลอดลมอักเสบแก้ช้าใน แก้เส้นเลือดฝอยใน
สมองแตก กระจายเลือดลมที่จับกันเป็นก้อนหรือคั่งภายน ทั้งต้น รักษาโรคกระเพาะอาหารและลาไส้
• รับผิดชอบโดย นางสาว พัทธนันท์ สมเกษม
• ชื่อสามัญ หญ้าเกล็ดหอย
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Desmodium triflorum (L.)
DC.
• ลักษณะ พืชล้มลุกจาพวกหญ้า ลาต้นแผ่แนบไปกับพื้นดินเป็นวงกว้าง ลา
ต้นและใบมีขนปกคลุมหนาแน่น ใบแบบใบประกอบมีใบย่อย 3 ใบ รูปไข่
กลับ ปลายใบมนโคนใบแหลม ดอกออกเป็นช่อเกิดตามซอกใบ กลีบ
ดอกรูปดอกถั่วสีม่วง ผลเป็นฝักแบนยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ฝักมี
รอยคอดเป็นข้อๆ ตามจานวนเมล็ด
• สรรพคุณ : ทั้งต้น รสจืดเย็น ดับพิษร้อน แก้ไข้แก้ร้อนในกระหายน้า
แก้ดีพิการ
• รับผิดชอบโดย นางสาว พัทธนันท์ สมเกษม
• ชื่อสามัญ เล็บครุฑใบฝอย
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyscias fruticosa Harms.
• ลักษณะ
• ต้น : เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงราว 2 เมตร ลักษณะต้นเป็นข้อ ลาต้นอ่อนมีสีเขียวอ่อนแกมน้าตาลอ่อน เมื่อลาต้นแก่เต็มที่ก็จะ
เปลี่ยนกลายเป็นสีน้าตาลอ่อน ลาต้นจะมีรอยแผลของกาบใบ
• ใบ : เป็นใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน ขอบใบหยักย่อยละเอียด ปลายใบเรียวแหลม
• ดอก : ออกเป็นช่อและติดกันเป็นกระจุก
• สรรพคุณ
• ใบ รสหอมร้อน ตาพอกแก้ปวดบวมอักเสบ
• ทั้งต้น รสฝาดหอม สมานแผล แก้ไข้
• ราก รสร้อนหอม ต้มดื่ม ขับปัสสาวะ ระงับประสาท แก้ปวดข้อ
รับผิดชอบโดย นางสาวพัทธนันท์ สมเกษม
• ชื่อสามัญ ผักหนอก
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Centella asiatica (L.)
• ลักษณะ : ล้มลุกขนาดเล็ก อายุหลายปี เลื้อยตามดิน มีไหลเป็นปม
เจริญขึ้นเป็นต้นใหม่ได้ลาต้นอาจยาวได้ถึง ๒.๕ เมตร ใบเดี่ยวเป็น
กระจุกจากไหล แผ่นใบรูปโล่ เกือบกลม ขอบเป็นคลื่น ดอกเป็นช่อ
สีเขียว ผลค่อนข้างกลม
• สรรพคุณ : ผักหนอก เป็นสมุนไพรบารุงสมองที่คนเฒ่าคนแก่รู้จักกันดี ในช่วงที่แปะก๊วยเริ่มดังไปทั่วโลกในฐานะยาบารุงสมอง บ้าน
เราก็มีความพยายามที่จะพัฒนาการปลูกต้นแปะก๊วยเพื่อนามาทาเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารบารุงสมองตามกระแส ปรากฏการณ์นี้ทา
ให้ฉุกคิดและทบทวนว่า มีสมุนไพรไทยชนิดใดที่ใช้บารุงสมอง ก็พบว่าผักหนอกเป็นสมุนไพรที่หมอยาทุกภาคใช้บารุงร่างกาย บารุง
ประสาท บารุงความจา บารุงสายตา บารุงผม บารุงเอ็น เป็นยาอายุวัฒนะ ใช้ได้ทั้งเด็กและคนแก่
• รับผิดชอบโดย นางสาว วริศรา มาลารัตน์
ชื่อสามัญ เล็บครุฑแคระ
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyscias guilfoylei 'Quercifolia‘
• ลักษณะ : เล็บครุฑด่างเป็นไม้พุ่มเล็ก ที่บ้านปลูกในกระถาง สูงประมาณฟุต
ครึ่ง ถ้าปล่อยให้สูงกิ่งมันจะรับน้าหนักตัวเองไม่ไหว จะโน้มลงมา ไม่รู้เหมือนกันว่า
ถ้าปลูกลงดินจะสูงกว่านี้อีกหรือไม่ เป็นต้นไม้ที่โตช้า แต่มีข้อดีตรงที่ปักชาติดราก
ง่าย ตามปรกติถ้าจะชากิ่งต้องเลือกกิ่งแก่ แต่ต้นนี้ปักชาได้ตั้งแต่ยอดอ่อนถึงกิ่งแก่
เคยลองตัดมาหนึ่งกิ่ง แล้วตัดเป็นท่อน ๆ ๆ ๆ ปักชา ปรากฎว่ารากงอกเกือบทุก
ท่อน ชอบร่มราไร
• ประโยชน์ : ประดับตกแต่งบ้าน
• รับผิดชอบโดย นางสาว วริศรา มาลารัตน์
• ชื่อสามัญ ต้างหลวง
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Trevesia palmata (Roxb. ex Lindl.) Vis
• ลักษณะ : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงถึง 8 เมตร ลาต้นมีหนาม ใบ เดี่ยวจักแผ่กว้าง เรียงสลับแน่นใกล้ปลายยอด ขนาด 30-70 ซม. แผ่นใบ
หยักเว้าลึกเป็นพู 5-9 พู ขอบใบของแต่ละพูจักลึกไม่เป็น ระเบียบ ผิวใบมีขนละเอียดสีน้าตาล ดอก สีนวลแกมเขียวเป็น ช่อกลมใหญ่
แกนช่อดอกแตกแขนง ยาวถึง 60 ซม. มีขนสีน้าตาล ช่อย่อยขนาดประมาณ 8 ซม. ดอกบานขนาด 1.5 ซม. กลีบดอก 8-10 กลีบ รูป
ไข่ปลายแหลมและมักงอพับไปด้านหลังเกสรผู้ 8-12 อัน ผล รูปกรวยคว่า ยาวถึง 1.7 ซม. มีก้านเกสรเมียติดที่ปลาย
• สรรพคุณ : เป็นไม้ประดับรูปทรงสวยงาม ดอกอ่อน รับประทานได้เป็นยา
เจริญอาหาร
• รับผิดชอบโดน นางสาววริศรา มาลารัตน์
• ชื่อสามัญ เล็บครุฑใบจาน
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyscias scutellaria (Burm.f.) Fosb.
• ลักษณะ ไม้พุ่ม ลาต้นผิวขรุขระ ใบประกอบแบบนิ้วมือ มี 3 ใบย่อย เรียงสลับ ใบรูปทรง กลม สีเขียวด่างขาว ขอบใบหยักฟัน
เลื่อย ฐานใบรูปหัวใจ ผิวใบเรียบลื่น ใบอาจบิดเป็นคลื่น ก้านใบยาวและมีรอยต่อที่ก้านใบย่อย มีกาบใบบริเวณโคนก้านใบ เมื่อขยี้
ใบดูจะมีกลิ่นน้ามันหอมระเหย ดอกช่อติดกันเป็นกระจุก มีขนาดเล็ก
• สรรพคุณ
• ใบ รสหอมร้อน ตาพอกแก้ปวดบวมอักเสบ
• ทั้งต้น รสฝาดหอม สมานแผล แก้ไข้
• ราก รสร้อนหอม ต้มดื่ม ขับปัสสาวะ ระงับประสาท แก้ปวดข้อ
• รับผิดชอบโดน นางสาว อรนลิน อภิปัญญาโสภณ
• ชื่อสามัญ เล็บครุฑหนู
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Cucurbita moschata Decne
• ลักษณะ เล็บครุฑขนาดเล็กเจริญเติบโตช้า ลาต้นสีน้าตาลอ่อนแตกแขนงตามข้อ มีพุ่มใบหนาทึบ ใบเป็นใบรวม ใบย่อยกลมป้อม
ริมใบหยัก ใบสีเขียว ด่างสีขาว
• สรรพคุณ ไม้ประดับตกแต่ง ปลูกเพื่อความสวยงาม
• รับผิดชอบโดย นางสาว อรนลิน อภิปัญญาโสภณ
• ชื่อสามัญ โสม
• ชื่อวิทยาศาสตร์ P. quinquefolius
• ลักษณะ โสมเป็นพืชล้มลุกที่ปลูกยาก ต้องปลูกในที่ ๆ มีอากาศเย็นสม่าเสมอ ไกลจากทะเล และดินและน้าไม่มีมลพิษ มีรากลึก
ประมาณ 1 ฟุต ลาต้นสูงประมาณ 1 เมตร โสมทางฝั่งเอเชียนิยมเพาะปลูกกันทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน และในประเทศ
เกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ ส่วนโสมอเมริกาจะมาจากวิสคอนซิน หรือแคนาดา ปัจจุบันมีการเพาะปลูกโสมกันในเชิงพาณิชย์
เนื่องจากโสมป่าเป็นของที่หายากแล้ว
• สรรพคุณ
• กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายให้แข็งแรง โดยการสร้างสาร Interferon ซึ่งเป็นสารต้านเชื้อไวรัส และกระตุ้น
การสร้างโปรตีน Interleukin- 1
• โสมมีส่วนช่วยเพิ่มการสร้างพลังงาน ทาให้นักกีฬามีความทนทานต่อการออกกาลังหนักได้ดีขึ้น และทาให้สามารถนาพา
ออกซิเจนไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
• ช่วยบรรเทาอาการร้อนวูบวาบในหญิงวัยหมดประจาเดือนหรืออาการวัยทอง
• ลดการหลั่งฮอร์โมนที่ทาให้เกิดความเครียดจากต่อมหมวกไต
• ควบคุมระดับน้าตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ
• ช่วยฟื้นฟูและเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ อาจถือได้ว่าเป็นไวอะกร้าธรรมชาติ
• ทาให้อัตราการเต้นของหัวใจเป็นปกติ
• ลดระดับน้าตาลในเลือดให้อยู่ในระดับมาตรฐาน
• ลดอาการข้างเคียงจากการฉายรังสี
รับผิดชอบโดย นางสาว อรนลิน อภิปัญญาโสภณ
บรรณานุกรม• http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=1542
• http://www.biogang.net/plant_view.php?uid=19503&id=136417
• http://www.rakkhaoyai.com/jungle-path/3741
• http://thaiherbal.org/888/888
• http://www.saiyathai.com/herb/860000.htm
• http://www.natres.psu.ac.th/FNR/vfsouthern/index.php/2013-10-26-10-11-55/9-uncategorised/163-2014-01-26-03-58-32
• http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/plants/webcontent3/interactive_key/key/describ/lebkrut.htm
• http://auudittita.blogspot.com/
• https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%AA%E0%B8%A1
• นวดปwww.thaikasetsart.com/ลักษณะต้นหลาหมึก/
• http://www.vichakaset.com/%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B
8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%93%E0%B9%8C/
• http://bpp24udon.com/data/plant/clausena
กิตติกรรมประกาศ
ในการทางานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
เตรียมอุดมศึกษา กลุ่มข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ คอยให้คาปรึกษาให้
ความสะดวกในการทาชิ้นงานนาเสนอนี้ และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ แนวทางในการทาชิ้นงานนี้ขอบคุณเพื่อนในกลุ่มทุก
คนที่ให้ความช่วยเหลือ ตลอดจนคาแนะนาที่เป็น ประโยชน์ในการทาโครงงาน ท้ายที่สุด ขอกราบขอบพระคุณ คุณ
พ่อและคุณแม่ ที่เป็นผู้ให้กาลังใจและให้โอกาสการศึกษาอันมีค่ายิ่ง
คณะผู้จัดทา

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )lingkwankamon
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...KalyakornWongchalard
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.nrraachadan
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Z-class Puttichon
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....Z-class Puttichon
 

Was ist angesagt? (20)

นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
 
Minibook 2.931
Minibook 2.931Minibook 2.931
Minibook 2.931
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
 
Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 

Ähnlich wie Plant ser 126_60_7

การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 lookpedkeele
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)MetawadeeNongsana
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931SasipaChaya
 

Ähnlich wie Plant ser 126_60_7 (20)

Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Raitai
RaitaiRaitai
Raitai
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
Pakleang Resize
Pakleang ResizePakleang Resize
Pakleang Resize
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Minibook
MinibookMinibook
Minibook
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 

Mehr von Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Mehr von Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 126_60_7

  • 1. งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 6( ว30246) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสร์ ห้อง 126 พืชที่นาเสนอ คือพืช Family ARALIACEAE จานวน 12 ชนิด สมาชิกกลุ่ม 1. นส.ปริณดา คิล เลขที่ 14 2. นส.พัทธนันท์ สมเกษม เลขที่ 19 3. นส.วริศรา มาลารัตน์ เลขที่ 21 4. นส.อรนลิน อภิปัญญาโสภณ เลขที่ 28 ครูผู้สอน ครู.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
  • 2. แนะนา นส.ปริณดา คิล เลขที่ 14 นส.พัทธนันท์ สมเกษม เลขที่ 19 นส.วริศรา มาลารัตน์ เลขที่ 21 นส.อรนลิน อภิปัญญาโสภณ เลขที่ 28 นาเสนอ อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
  • 3. สารบัญ • ต้นหนวดปลาหมึก นางสาวปริณดา คิล • นิ้วมือพระนารายณ์ นางสาวปริณดา คิล • เพี้ยฟาน นางสาวปริณดา คิล • หนุมานประสานกาย นางสาวพัทธนันท์ สมเกษม • หญ้าเกล็ดหอย นางสาวพัทธนันท์ สมเกษม • เล็บครุฑฝอย นางสาวพัทธนันท์ สมเกษม • ผักหนอก นางสาว วริศรา มาลารัตน์ • เล็บครุฑแคะ นางสาว วริศรา มาลารัตน์ • ต้างหลวง นางสาว วริศรา มาลารัตน์ • เล็บครุฑใบจาน นางสาว อรนลิน อภิปัญญาโสภณ • เล็บครุฑหนู นางสาว อรนลิน อภิปัญญาโสภณ • โสม นางสาว อรนลิน อภิปัญญาโสภณ
  • 4. • ชื่อสามัญ หนวดปลาหมึก • ชื่อวิทยาศาสตร์ Schefflera actinophylla (Endl.) Harms. • ลักษณะ ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 6-12 ม. ขนาดทรงพุ่ม 5-6 ม. ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มทรงกระบอก หรือรูปร่ม ลาต้นตั้งตรง เปลือก ต้นสีน้าตาลอ่อนหรือสีเทา ค่อนข้างเรียบ มีรากอากาศห้อยตามลาต้นและกิ่ง ใบประกอบรูปนิ้วมือ เรียงเวียนสลับ ก้านใบรวมยาว 30-40 ซม. ก้านใบย่อยยาว 4-6 ซม. มีใบย่อย 6-9 ใบ รูปรี หรือรูปรีแกมรูป ขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 15-25 ซม. ปลายใบติ่งแหลมหรือมน โคนใบแหลมหรือมน ขอบใบเป็นคลื่น แผ่นใบค่อนข้างหนาและเหนียว สีเขียวเข้มเรียบเป็นมัน สีชมพู ออกเป็นช่อแบบช่อซี่ร่มแยกแขนงที่ ปลายกิ่ง ช่อดอก ตั้งยาว 50-70 ซม. ดอกอยู่รวมกันเป็นกระจุกกระจุกละ 11-13 ดอก บนแกนช่อดอก กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอก 5 กลีบรูป สามเหลี่ยม ปลายกลีบแหลมโค้งเข้า เกสรเพศผู้ 13 อัน เส้นผ่านศูนย์กลางดอกประมาณ 1 ซม. ออกดอกเดือน มี.ค.- ก.ค. ผลแห้งแตก สีแดง ออกอยู่รวมกันเป็นกระจุก พัฒนาจากฐาน รองดอกทรงกระบอก มีลิ้นเปิดให้เมล็ดออกมา เมล็ดทรงกลม สีน้า ตาล อมดา ขนาดเล็กจานวนมาก ติดผลเดือน พ.ค.-ส.ค. ขยายพันธุ์โดยการ เพาะเมล็ด ตอนลาต้น หรือปักชากิ่งแขนงข้างลาต้น
  • 5. • สรรพคุณ : ปลูกตามริมถนนใกล้สวนหย่อมเพราะทรงพุ่มแผ่สูง แสงส่องลงโคนต้นไม้ให้ร่มเงาดี และเหมาะที่เป็นไม้กระถาง ตกแต่ง ภายในอาคาร • รับผิดชอบโดย นางสาว ปริณดา คิล
  • 6. • ชื่อสามัญ นิ้วมือพระนารายณ์ • ชื่อวิทยาศาสตร์ Schefflera heptophylla (L.) Frodin • ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ • นิ้วมือพระนารายณ์ จัดเป็นพืชที่อยู่ในวงศ์เล็บครุฑ เป็นไม้ทรงพุ่มที่ชอบเกาะอาศัยอยุ่ตามต้นไม้อื่นหรือตามซอกหิน เปลือกลาต้นเรียบเป็นสีเทาหรือ สีน้าตาล แตกกิ่งก้านสาขามากมาย • ใบเป็นใบประกอบแบบมีลักษณะแผ่เรียงเป็นวงกลมคล้ายนิ้วมือ ก้านใบร่วมยาว ในแต่ละก้านจะประกอบใบด้วยใบย่อยรูปรีแกมรูปขอบขนาน ประมาณ 5-7 ใบ แผ่นใบเรียบสีเขียวเข้มเป็นมันและค่อนข้างหนา โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ก้านใบย่อยสั้น ใบและกิ่งอ่อนมีขนอ่อน นุ่มปกคลุมอยู่ทั่ว ขนาดความกว้างของใบมีประมาณ 2-4 ซม. ยาวประมาณ 8-15 ซม. • ดอกออกดอกเป็นช่อรูปทรงกระบอกคล้ายซี่ร่มที่บริเวณปลายยอด เป็นช่อขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยดอกย่อยสีเหลืองขนาดเล็กมากมาย ดอกมักจะ ไม่ค่อยบาน มีก้านช่อดอกเป็นสีน้าตาลแดง มีขนละเอียดปกคลุมอยู่ทั่วช่อดอก • ผลมีลักษณะเป็นรูปไข่หรือรูปทรงกลมขนาดเล็ก ผลอ่อนมีสีเขียวอมเหลือง เมื่อสุกจะกลายเป็นสีเหลืองเข้มหรือสีส้มอมแดง
  • 7. • สรรพคุณ • แก่น-ใช้เป็นยาแก้ท้องร่วง โดยนามาฝนกับน้าใช้รับประทาน • กิ่ง-ต้มน้าดื่ม เพื่อรักษาโรคความดันสูง และแก้ไข้ • ราก-ใช้ต้มน้าดื่ม เพื่อรักษาโรคเบาหวาน รับผิดชอบโดย นางสาว ปริณดา คิล
  • 8. • ชื่อสามัญ เพี้ยฟาน • ชื่อวิทยาศาสตร์ Clausena excavata Burm.f. • ลักษณะ • ไม้พุ่ม ขนาดเล็ก โดยทั่วไปสูง 2-4 เมตร แต่บางต้นอาจสูงได้ถึง 15 เมตร ลาต้นโตขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ยาวได้ถึง 20 ซม. แตก กิ่งก้านสาขาไม่เป็นระเบียบ มีขนละเอียดอ่อนนุ่มคลุมใบ เป็นใบประกอบแบบขนนสองชั้นเรียงสลับช่อใบยาว 15-50 ซม. โคนช่อใบอาจมีช่อ ใบย่อยหลายช่อ ใบย่อย 15-31 ใบต่อช่อ ปลายช่อเป็นใบเดี่ยว ก้านใบย่อยสีเขียว ก้านใบปลายยาวกว่าก้านใบข้างมาก แผ่นใบรูปไข่ถึงรูปใบ หอก ขนาดกว้าง 1-7 ซม. ยาว 2-20 ซม. ปลายแหลมหรือเรียวแหลม โคนใบเบี้ยด้านหนึ่งสอบเป็นรูปลิ่ม อีกด้านโค้งมน ขอบใบเรียบหรือ อาจเป็นซี่หยักเล็กๆ ผิวใบแก่ด้านบนเกลี้ยงไม่มีขน ด้านล่างมีขนละเอียดบาง ๆ ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ก้านดอกย่อยยาว 0.5-2.0 มม. วงกลีบเลี้ยงเล็กมาก กลีบดอก 4 กลีบ รูปไข่แกมขอบขนาน ยาว 3.5-5.0 มม. สีเขียวอ่อนถึงขาวอมเหลือง เกสรเพศผู้ 8 อัน ก้านชูอับเรณู ยาว 1.5-3.5 มม. โคนโต ก้านชูเกสร เพศเมีย รูปทรงกระบอก ปลายกว้าง ยาวได้ถึง 1.8 มม. รังไข่รูปไข่ มีขนละเอียดคลุมผล มีเนื้อนอก รูปไข่ยาว 1-2 ซม. เมื่อสุกสีชมพูอมแดง ผิวเกลี้ยงหรืออาจมีขนละเอียดบางๆ
  • 9. • ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนสองชั้นเรียงสลับช่อใบยาว 15-50 ซม. โคนช่อใบอาจมีช่อใบย่อยหลายช่อ ใบย่อย 15-31 ใบต่อช่อ ปลายช่อเป็น ใบเดี่ยว ก้านใบย่อยสีเขียว ก้านใบปลายยาวกว่าก้านใบข้างมาก แผ่นใบรูปไข่ถึงรูปใบหอก ขนาดกว้าง 1-7 ซม. ยาว 2-20 ซม. ปลายแหลม หรือเรียวแหลม โคนใบเบี้ยด้านหนึ่งสอบเป็นรูปลิ่ม อีกด้านโค้งมน ขอบใบเรียบหรืออาจเป็นซี่หยักเล็กๆ ผิวใบแก่ด้านบนเกลี้ยงไม่มีขน ด้านล่างมีขนละเอียดบางๆ • ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ก้านดอกย่อยยาว 0.5-2.0 มม. วงกลีบเลี้ยงเล็กมาก กลีบดอก 4 กลีบ รูปไข่แกมขอบขนาน ยาว 3.5-5.0 มม. สี เขียวอ่อนถึงขาวอมเหลือง เกสรเพศผู้8 อัน ก้านชูอับเรณู ยาว 1.5-3.5 มม. โคนโต ก้านชูเกสร เพศเมีย รูปทรงกระบอก ปลายกว้าง ยาวได้ ถึง 1.8 มม. รังไข่รูปไข่ มีขนละเอียดคลุม • ผล มีเนื้อนอก รูปไข่ยาว 1-2 ซม. เมื่อสุกสีชมพูอมแดง ผิวเกลี้ยงหรืออาจมีขนละเอียดบางๆ • สรรพคุณ ใบ รับประทานสดกับลาบ(ขมุ) ยอดอ่อน รับประทานสดจิ้มน้าพริก มีรสขมเล็กน้อย(คนเมือง) ทั้งต้น ต้มน้าอาบแก้ ผื่นคัน อาจใส่รวมกับแพพันชั้นก็ได้ (คนเมือง) ลาต้นและใบ ต้มน้าดื่มเป็นยาแก้สรรพพิษ (คนเมือง) กิ่งและใบ ต้มน้าอาบหรืออบ ตัวแก้ไข้ไม่สบาย หลังจากคลอดลูก ใช้ต้มรวมกับเมโกล่บละ กล้วยตานี และกล้วยป่า (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) ยอดอ่อน รับประทานเป็นยาแก้อาการท้องผูก (ม้ง) • รับผิดชอบโดย นางสาว ปริณดา คิล
  • 10. • ชื่อสามัญ หนุมานประสานกาย ว่านอ้อยช้าง และ ชิดฮะลั้ง (จีน) • ชื่อวิทยาศาสตร์ Schefflera leucantha R. Vig.
  • 11. • ลักษณะ : หนุมานประสานกายเป็นไม้พุ่มที่ไม่สูงมาก สูงเพียง 1-2 เมตร แตกกิ่งก้านต่าใกล้พื้นดิน ผิวลาต้นค่อนข้างเรียบเกลี้ยง เป็นสีน้าตาล ใบเป็นใบประกอบสีเขียวออกเรียงสลับแบบนิ้วมือ มีใบย่อย 7-8 ใบ ลักษณะรูปยาวรี กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 5-8 ซม. โคนใบแหลมมีหูใบซึ่งจะติดอยู่กับก้านใบพอดี ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบและแผ่นใบเรียบ แผ่นใบเป็นมัน ก้านใบย่อยยาว 8 – 25 มม. ดอกมีสีขาวนวลออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ยาวประมาณ 3 – 5 นิ้ว ลักษณะของดอกย่อย เป็นดอกสีเขียว มีขนาดเล็ก ก้านช่อดอก ยาวประมาณ 3 – 7 มม. ผลมีลักษณะรูปทรงกลมคล้ายรูปไข่ มีเนื้อ อวบน้า ขนาดเล็ก ความยาวประมาณ 5 – 6 มม. กว้าง ประมาณ 4 – 5 มม. ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อแก่หรือสุกเต็มที่จะเปลี่ยนเป็นสีแดงสดเหมือนสีเหล้าองุ่น • สรรพคุณ รากรักษาแผลสด ใบ รักษาโรคมะเร็ง ขับเสมหะ รักษาวัณโรค แก้ไอ แก้อาเจียนเป็นเลือด ห้ามเลือด สมานแผล แก้อักเสบ บวม แก้คออักเสบ แก้โรคปอด ยอดอ่อน รักษาโรคหอบหืด โรคแพ้อากาศ รักษาโรคหลอดลมอักเสบแก้ช้าใน แก้เส้นเลือดฝอยใน สมองแตก กระจายเลือดลมที่จับกันเป็นก้อนหรือคั่งภายน ทั้งต้น รักษาโรคกระเพาะอาหารและลาไส้ • รับผิดชอบโดย นางสาว พัทธนันท์ สมเกษม
  • 12. • ชื่อสามัญ หญ้าเกล็ดหอย • ชื่อวิทยาศาสตร์ Desmodium triflorum (L.) DC. • ลักษณะ พืชล้มลุกจาพวกหญ้า ลาต้นแผ่แนบไปกับพื้นดินเป็นวงกว้าง ลา ต้นและใบมีขนปกคลุมหนาแน่น ใบแบบใบประกอบมีใบย่อย 3 ใบ รูปไข่ กลับ ปลายใบมนโคนใบแหลม ดอกออกเป็นช่อเกิดตามซอกใบ กลีบ ดอกรูปดอกถั่วสีม่วง ผลเป็นฝักแบนยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ฝักมี รอยคอดเป็นข้อๆ ตามจานวนเมล็ด • สรรพคุณ : ทั้งต้น รสจืดเย็น ดับพิษร้อน แก้ไข้แก้ร้อนในกระหายน้า แก้ดีพิการ • รับผิดชอบโดย นางสาว พัทธนันท์ สมเกษม
  • 13. • ชื่อสามัญ เล็บครุฑใบฝอย • ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyscias fruticosa Harms. • ลักษณะ • ต้น : เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงราว 2 เมตร ลักษณะต้นเป็นข้อ ลาต้นอ่อนมีสีเขียวอ่อนแกมน้าตาลอ่อน เมื่อลาต้นแก่เต็มที่ก็จะ เปลี่ยนกลายเป็นสีน้าตาลอ่อน ลาต้นจะมีรอยแผลของกาบใบ • ใบ : เป็นใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน ขอบใบหยักย่อยละเอียด ปลายใบเรียวแหลม • ดอก : ออกเป็นช่อและติดกันเป็นกระจุก
  • 14. • สรรพคุณ • ใบ รสหอมร้อน ตาพอกแก้ปวดบวมอักเสบ • ทั้งต้น รสฝาดหอม สมานแผล แก้ไข้ • ราก รสร้อนหอม ต้มดื่ม ขับปัสสาวะ ระงับประสาท แก้ปวดข้อ รับผิดชอบโดย นางสาวพัทธนันท์ สมเกษม
  • 15. • ชื่อสามัญ ผักหนอก • ชื่อวิทยาศาสตร์ Centella asiatica (L.) • ลักษณะ : ล้มลุกขนาดเล็ก อายุหลายปี เลื้อยตามดิน มีไหลเป็นปม เจริญขึ้นเป็นต้นใหม่ได้ลาต้นอาจยาวได้ถึง ๒.๕ เมตร ใบเดี่ยวเป็น กระจุกจากไหล แผ่นใบรูปโล่ เกือบกลม ขอบเป็นคลื่น ดอกเป็นช่อ สีเขียว ผลค่อนข้างกลม
  • 16. • สรรพคุณ : ผักหนอก เป็นสมุนไพรบารุงสมองที่คนเฒ่าคนแก่รู้จักกันดี ในช่วงที่แปะก๊วยเริ่มดังไปทั่วโลกในฐานะยาบารุงสมอง บ้าน เราก็มีความพยายามที่จะพัฒนาการปลูกต้นแปะก๊วยเพื่อนามาทาเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารบารุงสมองตามกระแส ปรากฏการณ์นี้ทา ให้ฉุกคิดและทบทวนว่า มีสมุนไพรไทยชนิดใดที่ใช้บารุงสมอง ก็พบว่าผักหนอกเป็นสมุนไพรที่หมอยาทุกภาคใช้บารุงร่างกาย บารุง ประสาท บารุงความจา บารุงสายตา บารุงผม บารุงเอ็น เป็นยาอายุวัฒนะ ใช้ได้ทั้งเด็กและคนแก่ • รับผิดชอบโดย นางสาว วริศรา มาลารัตน์
  • 17. ชื่อสามัญ เล็บครุฑแคระ • ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyscias guilfoylei 'Quercifolia‘ • ลักษณะ : เล็บครุฑด่างเป็นไม้พุ่มเล็ก ที่บ้านปลูกในกระถาง สูงประมาณฟุต ครึ่ง ถ้าปล่อยให้สูงกิ่งมันจะรับน้าหนักตัวเองไม่ไหว จะโน้มลงมา ไม่รู้เหมือนกันว่า ถ้าปลูกลงดินจะสูงกว่านี้อีกหรือไม่ เป็นต้นไม้ที่โตช้า แต่มีข้อดีตรงที่ปักชาติดราก ง่าย ตามปรกติถ้าจะชากิ่งต้องเลือกกิ่งแก่ แต่ต้นนี้ปักชาได้ตั้งแต่ยอดอ่อนถึงกิ่งแก่ เคยลองตัดมาหนึ่งกิ่ง แล้วตัดเป็นท่อน ๆ ๆ ๆ ปักชา ปรากฎว่ารากงอกเกือบทุก ท่อน ชอบร่มราไร • ประโยชน์ : ประดับตกแต่งบ้าน • รับผิดชอบโดย นางสาว วริศรา มาลารัตน์
  • 18. • ชื่อสามัญ ต้างหลวง • ชื่อวิทยาศาสตร์ Trevesia palmata (Roxb. ex Lindl.) Vis • ลักษณะ : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงถึง 8 เมตร ลาต้นมีหนาม ใบ เดี่ยวจักแผ่กว้าง เรียงสลับแน่นใกล้ปลายยอด ขนาด 30-70 ซม. แผ่นใบ หยักเว้าลึกเป็นพู 5-9 พู ขอบใบของแต่ละพูจักลึกไม่เป็น ระเบียบ ผิวใบมีขนละเอียดสีน้าตาล ดอก สีนวลแกมเขียวเป็น ช่อกลมใหญ่ แกนช่อดอกแตกแขนง ยาวถึง 60 ซม. มีขนสีน้าตาล ช่อย่อยขนาดประมาณ 8 ซม. ดอกบานขนาด 1.5 ซม. กลีบดอก 8-10 กลีบ รูป ไข่ปลายแหลมและมักงอพับไปด้านหลังเกสรผู้ 8-12 อัน ผล รูปกรวยคว่า ยาวถึง 1.7 ซม. มีก้านเกสรเมียติดที่ปลาย
  • 19. • สรรพคุณ : เป็นไม้ประดับรูปทรงสวยงาม ดอกอ่อน รับประทานได้เป็นยา เจริญอาหาร • รับผิดชอบโดน นางสาววริศรา มาลารัตน์
  • 20. • ชื่อสามัญ เล็บครุฑใบจาน • ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyscias scutellaria (Burm.f.) Fosb. • ลักษณะ ไม้พุ่ม ลาต้นผิวขรุขระ ใบประกอบแบบนิ้วมือ มี 3 ใบย่อย เรียงสลับ ใบรูปทรง กลม สีเขียวด่างขาว ขอบใบหยักฟัน เลื่อย ฐานใบรูปหัวใจ ผิวใบเรียบลื่น ใบอาจบิดเป็นคลื่น ก้านใบยาวและมีรอยต่อที่ก้านใบย่อย มีกาบใบบริเวณโคนก้านใบ เมื่อขยี้ ใบดูจะมีกลิ่นน้ามันหอมระเหย ดอกช่อติดกันเป็นกระจุก มีขนาดเล็ก • สรรพคุณ • ใบ รสหอมร้อน ตาพอกแก้ปวดบวมอักเสบ • ทั้งต้น รสฝาดหอม สมานแผล แก้ไข้ • ราก รสร้อนหอม ต้มดื่ม ขับปัสสาวะ ระงับประสาท แก้ปวดข้อ • รับผิดชอบโดน นางสาว อรนลิน อภิปัญญาโสภณ
  • 21. • ชื่อสามัญ เล็บครุฑหนู • ชื่อวิทยาศาสตร์ Cucurbita moschata Decne • ลักษณะ เล็บครุฑขนาดเล็กเจริญเติบโตช้า ลาต้นสีน้าตาลอ่อนแตกแขนงตามข้อ มีพุ่มใบหนาทึบ ใบเป็นใบรวม ใบย่อยกลมป้อม ริมใบหยัก ใบสีเขียว ด่างสีขาว • สรรพคุณ ไม้ประดับตกแต่ง ปลูกเพื่อความสวยงาม • รับผิดชอบโดย นางสาว อรนลิน อภิปัญญาโสภณ
  • 22. • ชื่อสามัญ โสม • ชื่อวิทยาศาสตร์ P. quinquefolius • ลักษณะ โสมเป็นพืชล้มลุกที่ปลูกยาก ต้องปลูกในที่ ๆ มีอากาศเย็นสม่าเสมอ ไกลจากทะเล และดินและน้าไม่มีมลพิษ มีรากลึก ประมาณ 1 ฟุต ลาต้นสูงประมาณ 1 เมตร โสมทางฝั่งเอเชียนิยมเพาะปลูกกันทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน และในประเทศ เกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ ส่วนโสมอเมริกาจะมาจากวิสคอนซิน หรือแคนาดา ปัจจุบันมีการเพาะปลูกโสมกันในเชิงพาณิชย์ เนื่องจากโสมป่าเป็นของที่หายากแล้ว
  • 23. • สรรพคุณ • กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายให้แข็งแรง โดยการสร้างสาร Interferon ซึ่งเป็นสารต้านเชื้อไวรัส และกระตุ้น การสร้างโปรตีน Interleukin- 1 • โสมมีส่วนช่วยเพิ่มการสร้างพลังงาน ทาให้นักกีฬามีความทนทานต่อการออกกาลังหนักได้ดีขึ้น และทาให้สามารถนาพา ออกซิเจนไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น • ช่วยบรรเทาอาการร้อนวูบวาบในหญิงวัยหมดประจาเดือนหรืออาการวัยทอง • ลดการหลั่งฮอร์โมนที่ทาให้เกิดความเครียดจากต่อมหมวกไต • ควบคุมระดับน้าตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ • ช่วยฟื้นฟูและเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ อาจถือได้ว่าเป็นไวอะกร้าธรรมชาติ • ทาให้อัตราการเต้นของหัวใจเป็นปกติ • ลดระดับน้าตาลในเลือดให้อยู่ในระดับมาตรฐาน • ลดอาการข้างเคียงจากการฉายรังสี รับผิดชอบโดย นางสาว อรนลิน อภิปัญญาโสภณ
  • 24. บรรณานุกรม• http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=1542 • http://www.biogang.net/plant_view.php?uid=19503&id=136417 • http://www.rakkhaoyai.com/jungle-path/3741 • http://thaiherbal.org/888/888 • http://www.saiyathai.com/herb/860000.htm • http://www.natres.psu.ac.th/FNR/vfsouthern/index.php/2013-10-26-10-11-55/9-uncategorised/163-2014-01-26-03-58-32 • http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/plants/webcontent3/interactive_key/key/describ/lebkrut.htm • http://auudittita.blogspot.com/ • https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%AA%E0%B8%A1 • นวดปwww.thaikasetsart.com/ลักษณะต้นหลาหมึก/ • http://www.vichakaset.com/%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B 8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%93%E0%B9%8C/ • http://bpp24udon.com/data/plant/clausena
  • 25. กิตติกรรมประกาศ ในการทางานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษา กลุ่มข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ คอยให้คาปรึกษาให้ ความสะดวกในการทาชิ้นงานนาเสนอนี้ และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ แนวทางในการทาชิ้นงานนี้ขอบคุณเพื่อนในกลุ่มทุก คนที่ให้ความช่วยเหลือ ตลอดจนคาแนะนาที่เป็น ประโยชน์ในการทาโครงงาน ท้ายที่สุด ขอกราบขอบพระคุณ คุณ พ่อและคุณแม่ ที่เป็นผู้ให้กาลังใจและให้โอกาสการศึกษาอันมีค่ายิ่ง คณะผู้จัดทา