SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 32
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ผักหวานบ้าน Family : Phyllanthaceae
งานกลุ่มสืบค้นความหลากหลายทาง
พันธุกรรมของพืชสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 6 (ว 30246)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
นาเสนอครูผู้สอน
สมาชิกในกลุ่ม
1. น.ส.ธนภรณ์ มีจันทร์ (5)
2. น.ส.นภัสสร สะตะ (9)
3. น.ส.ผกาสิริ สิทธิรินทร์ (13)
4. น.ส.สิรินดา ลีสุรวณิช (23)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ –
คณิตศาสตร์
คานา
รายงานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 6 รหัสวิชา ว 30246
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในหัวข้อวงศ์พืช Phyllanthaceae การบูรณาการชีววิทยา
กับสวนพฤกษศาสตร์ คณะผู้จัดทา ได้มีการใส่รายละเอียดเกี่ยวกับต้นแต่ละต้นที่อยู่ใน
วงศ์นี้ โดยมีรายละเอียด อย่างชื่อวิทยาศาสตร์ลักษณะ แหล่งที่พบ ประโยชน์และ
สรรพคุณ รวมทั้งรูปภาพประกอบด้วย
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
• ผักหวานบ้าน
• มะขามป้ อม
• มะยม
• แขนงพร้อย
• ขี้เหล็กฤาษี
• ตะไคร้หางสิงห์
• ผักหวานดง
• ผักหวานนก
• มะเม่าดง
• มะไฟ
• มะไฟกา
• มะไฟลิง
ผักหวานดง
Phyllanthus elegans Wall.
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวธนภรณ์ มีจันทร์ ม. 6/125 เลขท
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus elegans Wal.
• ชื่อวงศ์ : Phyllanthaceae
• ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล
• ลักษณะทางพันธุศาสตร์ :
ผักหวานดง เป็นไม้ล้มลุก สูง 0.6-3 เมตร กิ่งอ่อนมีสีเขียว
ใบผักหวานดง เป็นใบเดี่ยว รูปไข่ โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบ
เรียบ แผ่นใบบางท้องใบสีขาวนวล มีหูใบยาว ปลายใบแหลม
ดอกผักหวานดง ดอกแยกเพศ แต่อยู่บนต้นเดียวกัน ดอกตัวผู้ออกเป็น
กระจุกที่ซอกใบ ดอกย่อยกลม มีขนาดเล็ก มีกลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่
ขอบกลีบเว้าลึก ดอกเพศเมียเป็นดอกเดี่ยวออกตอนบนของกิ่ง มีกลีบ
เลี้ยงเป็นรูปไข่ใส ขอบเว้าลึก 6 กลีบ
ผลผักหวานดง เป็นรูปทรงกลม ผิวเรียบ พองลม เมล็ดมีลายตามยาว
1
ผักหวานดง
Phyllanthus elegans Wall.
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวธนภรณ์ มีจันทร์ ม. 6/125 เลขที่ 5
• ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล
• ชื่ออื่น : จ๊าผักหวาน, ต้นใต้ใบ, ผักหวานช้าง
• แหล่งที่พบ : พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายูในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบ
แล้ง และป่าดิบชื้นความสูงถึงประมาณ 600 เมตร
• ประโยชน์ : ใบ รสหวานเย็น ใช้ยางกวาดปากแก้เด็กลิ้นเป็นฝ้ าขาว ใช้ปรุงเป็นอาหาร รากรสเย็น ต้มดื่มแก้ไข้
2
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวธนภรณ์ มีจันทร์ ม. 6/125 เลขที่ 5
ผักหวานนก
Breynia hirsuta (Beille) Welzen & Pruesapan
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Breynia hirsuta (Beille) Welzen & Pruesapan
• ชื่อวงศ์ : Phyllanthaceae
• ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล
• ลักษณะทางพันธุศาสตร์
ไม้พุ่มเตี้ย สูงได้ถึง 2 ม. แตกกิ่งต่า มีขนหยาบหนาแน่น หูใบยาว 2-4 มม. ใบส่วนมากรูปรี บางครั้งรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 1.5-
7.5 ซม. ปลายแหลมสั้น มีติ่งแหลม โคนรูปลิ่ม มน หรือกลม แผ่นใบมีขนกระจายด้านล่างกลีบเลี้ยงมีขนด้านนอก สีเขียวหรือ
น้าตาลแดง ดอกเพศผู้เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม. ก้านดอกยาว 3-4 มม. ดอกเพศเมียเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. ก้าน
ดอกยาวประมาณ 3 มม. ขยายในผลได้ถึง 7 มม. กลีบเลี้ยง 3 กลีบยาวประมาณ 2.5 มม. ขยายในผลได้ถึง 6 มม. กลีบใหญ่ 3
กลีบ ยาว 3-4.5 มม. ขยายในผลได้เกือบ 1 ซม. ยอดเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.5 มม. บานออกตามแนวระนาบ ม้วนงอ ผลรูป
ไข่ ยาว 6-8 มม. เมล็ดยาวประมาณ 5 มม.
1
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวธนภรณ์ มีจันทร์ ม. 6/125 เลขที่ 5
• ชื่อพ้อง : Sauropus hirsutus Beille
• ชื่ออื่น : กองกอยลอดขอน (ภาคกลาง); ก่อมก้อย (เพชรบุรี); ใต้ใบ, ผักหวานนก (กาญจนบุรี); ระงับมนุษย์
(ชุมพร)
• แหล่งที่พบ : พบเฉพาะในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามที่โล่งในป่าเบญจพรรณ
ป่าเต็งรัง และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร
• ประโยชน์ : รากมีรสจืดเย็น สรรพคุณเป็นยาแก้ไข้ตัวร้อน ใบแห้งนามาบดให้เป็นผง ใช้แทรกพิมเสนกวาดคอ
เด็ก เพื่อลดไข้ รักษาอาการตัวร้อน
ผักหวานนก
Breynia hirsuta (Beille) Welzen & Pruesapan
2
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวธนภรณ์ มีจันทร์ ม. 6/125 เลขที่ 5
มะเม่าดง
Antidesma bunius (L.) Spreng
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Antidesma bunius (L.) Spreng
• ชื่อวงศ์ : Phyllanthaceae
• ชื่อสามัญ : Chinese laurel,Currentwood
• ลักษณะทางพันธุศาสตร์
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. แยกเพศต่างต้น ลาต้นมักมีร่องและพูพอน มีขนสั้นนุ่มสี
น้าตาลแดงประปรายหรือหนาแน่นตามกิ่งอ่อน หูใบ ก้านใบ แผ่นใบด้านล่าง ใบ
ประดับ และกลีบเลี้ยง หูใบรูปแถบ ยาว 4-6 มม. ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูป
ใบหอกหรือแกมรูปไข่กลับ ส่วนมากยาว 10-18 ซม. ปลายแหลมยาว โคนแหลม
หรือกลม ก้านใบสั้นหรือยาวกว่า 1 ซม. ช่อดอกคล้ายช่อกระจะออกตามซอกใบ
ใบประดับขนาดเล็กแต่ละใบประดับมีดอกเดียว ไร้ก้าน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเกิน
กึ่งหนึ่ง ปลายแยกเป็น 3 กลีบ ปลายมนกลม ไม่มีกลีบดอก ช่อดอกเพศผู้ยาวได้
ถึง 25 ซม. แยกแขนง ดอกไร้ก้าน กลีบเลี้ยงยาว 3-4 มม. จานฐานดอกเป็นวง
หรือจักเป็นพู เกสรเพศผู้ 3-4 อัน ยื่นพ้นหลอดกลีบเลี้ยงเล็กน้อย ช่อดอกเพศเมีย
สั้นกว่าเพศผู้ ก้านดอกยาว 0.5-2 มม. ขยายในผล จานฐานดอกเป็นวง รังไข่
เกลี้ยงหรือมีขนประปราย มีช่องเดียว ออวุล 2 เม็ด ยอดเกสรเพศเมีย 3-4 อัน สั้น
ติดทน ผลรูปรี ยาว 0.5-1.2 ซม. ผลแก่สีแดงเปลี่ยนเป็นสีดา ส่วนมากมีเมล็ด
เดียว
1
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวธนภรณ์ มีจันทร์ ม. 6/125 เลขที่ 5
• ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล
• ชื่ออื่น : บ่าเม่าฤๅษี,เม่าช้าง, แมงเม่าควาย
• แหล่งที่พบ : อินเดียรวมหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
บอร์เนียว ชวา ฟิลิปปินส์ นิวกินี หมู่เกาะแปซิฟิก และฮาวาย ในไทยพบแทบทุกภาคยกเว้นภาคใต้
• ประโยชน์ : สรรพคุณแก้แผลฟกช้า ช่วยบารุงสายตา
2
มะเม่าดง
Antidesma bunius (L.) Spreng
มะไฟ
Baccaurea ramiflora Lour.
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baccaurea ramiflora
• วงศ์ : Phyllanthaceae
• ชื่อสามัญ : Burmese Grape
• ลักษณะ :ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก หรือแกมรูป
ไข่กลับ ยาว 7-25 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม เส้นแขนงใบ
ข้างละ 4-9 เส้น ก้านใบยาว 1-6 ซม. ช่อดอกออกเป็นกระจุกหลาย
ช่อ ยาว 8-15 ซม. ช่อดอกเพศเมียยาวไม่เกิน 10 ซม. ดอกสีเหลือง
ใบประดับยาว 3-4.5 มม. ไม่มีใบประดับย่อย ดอกเพศผู้ก้านดอก
ยาว 1-2.5 มม. กลีบเลี้ยง ยาว 1-2.5 มม. ดอกเพศเมียก้านดอก
และกลีบเลี้ยงยาวกว่าเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 5-8 อัน ไร้ก้านเกสรเพศ
เมีย ยอดเกสรยาวประมาณ 0.5 มม. เรียบ ผลกลมหรือรูปไข่
ปลายมีติ่งแหลม เส้นผ่านศูนย์กลาง2-2.8 ซม. สุกสีเหลือง เมล็ด
ยาว 1-1.5 ซม. เยื่อหุ้มสีขาวหรืออมเหลือง
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวนภัสสร สะตะ ม.6/125 เลขที่ 8
1
มะไฟ
Baccaurea ramiflora Lour.
• ประโยชน์ : เปลือกและเนื้อไม้มีสรรพคุณต้านอนุมูลอิสระ
• แหล่งที่พบ : อินเดียรวมหมู่เกาะนิโคบาร์ ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายูในไทยพบทุก
ภาค ขึ้นตามป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1700 เมตร
• ชื่ออื่น : ขี้หมี (ภาคเหนือ); แซเครือแซ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); ผะยิ้ว (เขมร-สุรินทร์); มะไฟ (ทั่วไป); มะไฟกา
(ภาคใต้); มะไฟป่า (ภาคตะวันออก, ภาคตะวันออกเฉียงใต้); ส้มไฟ (ภาคใต้); หัมกัง (เพชรบูรณ์)
• ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวนภัสสร สะตะ ม.6/125 เลขที่ 8
2
มะไฟกา
Baccaurea parviflora Müll. Arg.
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baccaurea parviflora Müll.
Arg.
• วงศ์ : Phyllanthaceae
• ชื่อสามัญ : Chinese lantern tree
• ลักษณะ : ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน
หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 5-23 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่มหรือ
เรียวสอบ เส้นแขนงใบข้างละ 5-10 เส้น ก้านใบยาว 0.5-5.5 ซม.
ช่อดอกออกเป็นกระจุกหลายช่อที่โคนต้น ยาวได้ถึง 30 ซม. ใบ
ประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก ดอกสีขาว อมเหลือง หรือแดง
ก้านดอกส่วนมากยาวได้ถึง6 มม. ดอกเพศผู้กลีบเลี้ยงยาว 0.5-3
มม. ดอกเพศเมียแคบและยาวกว่าเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 5-7 อัน
เกสรเพศเมียไร้ก้านหรือยาวได้ถึง 2 มม. ยอดเกสรยาวได้ถึง 1.5
มม. จัก 2 พู ผลรูปกระสวย เส้นผ่านศูนย์กลาง1-1.5 ซม. ยาว
1.5-3 ซม. มีสันตามยาว 4-6 สัน สีน้าตาลแดง เปลี่ยนเป็นสีม่วง
เมล็ดยาว 1-1.5 ซม. เยื่อหุ้มสีแดงหรือม่วง
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวนภัสสร สะตะ ม.6/125 เลขที่ 8
1
• ประโยชน์ : ไม้ดอกไม้ประดับคล้ายบอนไซ
• แหล่งที่พบ : พบที่อินเดีย คาบสมุทรมลายูสุมาตรา และ
บอร์เนียว ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้
และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1250
เมตร
• ชื่ออื่น : มะไฟกา (ภาคใต้); มะไฟเต่า (สตูล); ส้มไฟดิน, ส้ม
ไฟป่า (นครศรีธรรมราช)
• ชื่อพ้อง : Pierardia parviflora Müll. Arg.
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวนภัสสร สะตะ ม.6/125 เลขที่ 8
มะไฟกา
Baccaurea parviflora Müll. Arg.
2
มะไฟลิง
Baccaurea racemosa (Reinw. ex Blume) Müll. Arg.
• ชื่อวิทยาศาสตร์ :Baccaurea racemosa (Reinw.
ex Blume) Müll. Arg.
• วงศ์ : Phyllanthaceae
• ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล
• ลักษณะ :ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน แกมรูปไข่หรือรูป
ไข่กลับ ยาว 5-22 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม เส้นแขนงใบข้างละ4-
10 เส้น ก้านใบยาว 1.2-7.5 ซม. ช่อดอกออกเป็นกระจุก 1-5 ช่อ ตามลา
ต้นหรือใต้ใบ ช่อเพศผู้ยาวได้ถึง 10 ซม. ช่อเพศเมียยาวได้ถึง 30 ซม. ใบ
ประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก ดอกสีเหลืองอมเขียว ก้านดอกยาว
ได้ถึง 7 มม. กลีบเลี้ยงยาว 1-6 มม. ในดอกเพศเมียก้านดอกและกลีบ
เลี้ยงยาวกว่าในดอกเพศผู้ เกสรเพศผู้ 5-7 อัน เกสรเพศเมียยาวประมาณ
1 มม. ยอดเกสรยาวประมาณ 0.3 มม. เรียบ ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง
1.5-2.5 ซม. สุกสีเหลืองอมส้มหรือชมพูอมแดง เมล็ดยาวประมาณ1 ซม.
เยื่อหุ้มสีม่วงหรืออมฟ้ า
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวนภัสสร สะตะ ม.6/125 เลขที่ 8
1
มะไฟลิง
Baccaurea racemosa (Reinw. ex Blume) Müll. Arg.
• ประโยชน์ : มีวิตามินซีสูง ช่วยในสังเคราะห์คอลลาเจน
ช่วยขับเสมหะ รักษาอาการอาหารไม่ย่อย ท้องอืด ท้องเฟ้ อ
ลดอาการอักเสบ
• แหล่งที่พบ : พบที่คาบสมุทรมลายูสุมาตรา ชวา บอร์เนียว
ซูลาเวซี ในไทยพบทางภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูง
ระดับต่า ๆ และป่าพรุน้าจืด
• ชื่ออื่น : -
• ชื่อพ้อง :Coccomelia racemosa Reinw.
Ex Blume
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวนภัสสร สะตะ ม.6/125 เลขที่ 8
2
ผักหวานบ้าน
Breynia androgyna (L.) Chakrab. & N. P. Balakr.
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Breynia androgyna (L.)
Chakrab. & N. P. Balakr.
• ชื่อสามัญ Sweet leaf bush
• วงศ์ : Phyllanthaceae
• ลักษณะ : ไม้พุ่มสูง 1-4 ม. หูใบยาว 2-3 มม. ใบรูปไข่ ยาว 2-9 ซม.
ปลายแหลมหรือมน โคนกลมหรือตัด แผ่นใบด้านล่างสีเขียวอ่อน ก้านใบ
ยาว 2-3 มม. ดอกสีเขียวอมเหลืองหรือแดง กลีบหนา ดอกเพศผู้เส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 0.5-1.8 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1.3 ซม. ดอกเพศเมียเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ 3 มม. ขยายในผลได้ถึง 1.4
ซม. กลีบเลี้ยงกลีบเล็กยาว 2-4 มม. กลีบใหญ่ยาว 2.5-5.5 ซม. เรียวแคบ
กว่าเล็กน้อย ยอดเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.2 มม. บานออกตามแนว
ระนาบ ม้วนงอ ผลรูปรีกว้างเกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม.
เกลี้ยง สีขาว เมล็ดยาว 7-8 มม.
ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาสิริ สิทธิรินทร์ ม.6/125 เลขที่ 13
1
ผักหวานบ้าน
Breynia androgyna (L.) Chakrab. & N. P. Balakr.
• แหล่งที่พบ อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่า ที่
โล่ง ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร
• ประโยชน์ ใบและดอกบารุงสุขภาพแก้ไอ รากแก้ปัสสาวะอักเสบ ลดไข้ ช่วยป้ องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ และความ
ดันโลหิตสูง
• ชื่อพ้อง Clutia androgyna L., Sauropus androgynus (L.) Merr.
• ชื่ออื่น ก้านตง, จ๊าผักหวาน โถหลุ่ยกะนีเด๊าะ นานาเซียม ผักหวาน ผักหวานใต้ใบ มะยมป่า
ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาสิริ สิทธิรินทร์ ม.6/125 เลขที่ 13
2
มะขามป้ อม
Phyllanthus emblica L.
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus emblica L.
• ชื่อสามัญ : Indian gooseberry, Malacca tree
• วงศ์ : Phyllanthaceae
• ลักษณะ : ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. หูใบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็กใบเรียง
สลับระนาบเดียว รูปแถบ ยาวได้ถึง 2 ซม. ปลายมน โคนเว้าตื้น เบี้ยว
ก้านใบยาว 0.2-0.8 มม. ช่อดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบช่วงโคนกิ่ง
ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 1.5-3 มม. กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูป
ไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 1.2-2 มม. จานฐานดอกเป็นต่อมรูปกระบอง 6
ต่อม เกสรเพศผู้ 3 อัน เชื่อมติดกันที่โคน ดอกเพศเมียก้านสั้นกว่าในดอก
เพศผู้ กลีบเลี้ยงยาวกว่าเล็กน้อย จานฐานดอกเป็นวงมีสัน รังไข่เกลี้ยง
ก้านเกสรเพศเมียยาว 1-1.5 ม. ยอดเกสรแยก 2 แฉก ผลรูปกลม เส้น
ผ่านศูนย์กลาง 2-3 ซม. เมล็ดขนาดไม่เท่ากัน ยาว 4-6 มม.
ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาสิริ สิทธิรินทร์ ม.6/125 เลขที่ 13
1
ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาสิริ สิทธิรินทร์ ม.6/125 เลขที่ 13
มะขามป้ อม
Phyllanthus emblica L.
• แหล่งที่พบ : อินเดีย ภูฏาน ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ขึ้นในป่าหลาย
ประเภท ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร
• ประโยชน์ : มีสรรพคุณด้านสมุนไพรโดยเฉพาะผลที่เป็นส่วนประกอบในสมุนไพรหลายขนาน
• ชื่อพ้อง : -
• ชื่ออื่น : กันโตด, กาทวด, มั่งลู่, สันยาส่า
2
ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาสิริ สิทธิรินทร์ ม.6/125 เลขที่ 13
มะยม
Phyllanthus acidus (L.) Skeels
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus acidus (L.) Skeels
• ชื่อสามัญ : Otaheite gooseberry, Star gooseberry
• วงศ์ : Phyllanthaceae
• ลักษณะ : ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 2.5-
10 ซม. ปลายมีติ่งแหลม โคนมน ช่อดอกมีดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุก 2-6
ดอกมักออกที่โคนช่อตามซอกใบหรือตามกิ่ง ช่อดอกเพศเมียส่วนมากออก
ตามกิ่ง ก้านดอกยาว 0.5-3 มม. ขยายในผลยาว 2-5 มม. กลีบเลี้ยงสีแดง
รูปไข่ ยาว 1-2 มม. ดอกเพศผู้มี 4 กลีบ แคบกว่าในดอกเพศเมียเล็กน้อย
จานฐานดอกเป็นต่อม 4 ต่อม ดอกเพศเมียมี 4-6 กลีบ จานฐานดอกเป็น
ต่อม 4-6 ต่อม เกสรเพศผู้ 4 อัน แยกกัน ยาวประมาณ 5 มม. บางครั้งมี 1-2
อันในดอกเพศเมีย ลดรูป รังไข่จัก 6-8 พู ก้านเกสรเพศเมีย 3-4 อัน ยาว 1-6
มม. ผลจัก 6-8 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.7 ซม. เมล็ดกลมแกมรูป
สามเหลี่ยมมน ยาว 5-8 มม.
1
• แหล่งที่พบ : อเมริกาใต้ ทั่วไปในเขตร้อน
• ประโยชน์ : มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง
• ชื่อพ้อง : Averrhoa acida L.
• ชื่ออื่น : -
มะยม
Phyllanthus acidus (L.) Skeels
ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาสิริ สิทธิรินทร์ ม.6/125 เลขที่ 13
2
ผู้รับผิดชอบ นางสาวสิรินดา ลีสุรวณิช ม.6/125 เลขที่ 23
แขนงพร้อย
Phyllanthus collinsae Craib
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus collinsae Craib
• วงศ์ : Phyllanthaceae
• ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล
• ลักษณะ : ไม้พุ่ม อาจสูงได้ถึง 6 ม. หูใบโคนเป็นติ่ง ใบเรียงสลับระนาบ
เดียว รูปขอบขนานถึงรูปใบหอก ยาว 0.5-2.2 ซม. ปลายมนมีติ่งแหลม
โคนเบี้ยว ก้านใบสั้นมาก ดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบ ไม่มีกลีบดอก
ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 2-4 มม. กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว
ประมาณ 1 มม. จานฐานดอกเป็นต่อม 6 ต่อม เกสรเพศผู้ 4-6 อัน ก้านชู
อับเรณูเชื่อมติดกัน ยาว 1.5-2 มม. ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 3-4 มม.
กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1.5-2 มม. จานฐานดอกรูปเบาะ จัก
มน รังไข่ย่น ก้านเกสรเพศเมียแยกเป็น 3 แฉก ยาวประมาณ 1 มม. ผลจัก
3 พู กลมแป้ น ผิวย่น เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 มม. มี 2 เมล็ดในแต่ละซีก
รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1 มม.
1
ผู้รับผิดชอบ นางสาวสิรินดา ลีสุรวณิช ม.6/125 เลขที่ 23
• ประโยชน์ : ใบอ่อนต้มเป็นยาขับเสมหะ แก้เหน็บชา รากแก้ไข้ ใบเป็นยาระบาย
• แหล่งที่พบ : เวียดนามตอนล่าง ในไทยพบกระจายแทบทุกภาค ยกเว้นภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบน ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร
• ชื่ออื่น : แขนงพร้อย, ค่างเต้น, ช้าขามป้ อม (ประจวบคีรีขันธ์),เสียว (สระบุรี)
• ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล
แขนงพร้อย
Phyllanthus collinsae Craib
2
ผู้รับผิดชอบ นางสาวสิรินดา ลีสุรวณิช ม.6/125 เลขที่ 23
ขี้เหล็กฤาษี
Phyllanthus mirabilis Müll. Arg.
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus mirabilis Müll. Arg.
• วงศ์ : Phyllanthaceae
• ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล
• ลักษณะ :ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. โคนอวบหนา ใบเรียงเป็น
กระจุกที่ปลายกิ่ง ใบรูปขอบขนาน ยาว 6.5-13 ซม. โคนเบี้ยว แผ่นใบมี
ขนสั้นนุ่ม ยอดที่มีดอก (orthotropic shoot) คล้ายช่อดอกขนาด
ใหญ่ ใบประดับรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 2 ซม. ดอกออกเป็น
กระจุกตามซอกใบ ไม่มีกลีบดอก กลีบเลี้ยงมีปุ่มเล็ก ๆ จานฐานดอกเป็น
ต่อมรูปกระบอง ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปรี
ยาวประมาณ 3 มม. ปลายแหลมยาว จานฐานดอกมี 5 ต่อม เกสรเพศผู้
6 อัน เชื่อมติดกันที่โคน แกนอับเรณูปลายมีรยางค์ ดอกเพศเมียคล้าย
ดอกเพศผู้ ก้านดอกยาว 2-3 มม. กลีบเลี้ยง 6 กลีบ ยาว 4-5.5 มม. ติด
ทน จานฐานดอกมี 6 ต่อม ยอดเกสรเพศเมีย 6 อัน ยาวประมาณ 1 มม.
ผลรูปรีกว้าง จัก 3 พู ยาวได้ถึง 1 ซม.
1
ผู้รับผิดชอบ นางสาวสิรินดา ลีสุรวณิช ม.6/125 เลขที่ 23
ขี้เหล็กฤาษี
Phyllanthus mirabilis Müll. Arg.
• ประโยชน์ : ไม้ดอกไม้ประดับคล้ายบอนไซ
• แหล่งที่พบ : พบที่ลาว ในไทยพบกระจายยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามเขาหินปูนที่แห้งแล้ง ความสูงไม่เกิน 1000 เมตร
• ชื่ออื่น : ขี้เหล็กฤๅษี (สระบุรี), ไอ้เทา (เพชรบุรี)
• ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล
2
ตะไคร้หางสิงห์
Phyllanthus taxodiifolius Beille
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus taxodiifolius Beille
• วงศ์ : Phyllanthaceae
• ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล
• ลักษณะ : ไม้พุ่ม สูง 0.5-2 ม. แยกเพศร่วมต้น กิ่งเป็นเหลี่ยม หูใบรูปใบ
หอก ยาว 1-2 มม. ใบเรียงสลับระนาบเดียวรูปใบหอกหรือรูปแถบ เบี้ยว
ยาว 3-5 มม. ปลายมีติ่งแหลม เส้นแขนงใบข้างละ3-4 เส้น ก้านใบสั้น
มาก ดอกออกเป็นกลุ่มตามซอกใบ ไม่มีกลีบดอก ก้านดอกยาว 2-3
มม. ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่ ยาวประมาณ 0.5 มม. จานฐาน
ดอกเป็นแผ่นต่อม 4 อัน ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันที่โคน ดอกเพศเมีย
กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5 มม. จานฐานดอกรูป
ถ้วย จักมน รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียปลายแยกเป็น3 แฉก ยาว 0.2-
0.3 มม. ผลแห้งแตก รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-7 มม. มี 6 ริ้ว แตก
เป็น 3 ซีก ก้านผลยาวประมาณ 3 มม. มี 2 เมล็ดในแต่ละซีก รูป
สามเหลี่ยม ยาวประมาณ 2.5 มม. มีเส้นใยฝอย
ผู้รับผิดชอบ นางสาวสิรินดา ลีสุรวณิช ม.6/125 เลขที่ 23
1
ตะไคร้หางสิงห์
Phyllanthus taxodiifolius Beille
• ประโยชน์ : รสจืดเย็นปร่า ขับปัสสาวะ แก้กระษัย บารุงไตให้ทางานดีขึ้น ล้างกระเพาะปัสสาวะ
• แหล่งที่พบ : พบที่จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาค
กลาง ขึ้นตามที่โล่งใกล้แหล่งน้า ความสูง 50-700 เมตร
• ชื่ออื่น : ไคร้หางนาค (ปราจีนบุรี), ตะไคร้หางสิงห์ (สุพรรณบุรี), เสียว (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), เสียวน้อย
(ขอนแก่น), เสียวน้า (ปราจีนบุรี), เสียวเล็ก (ขอนแก่น)
• ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล ผู้รับผิดชอบ นางสาวสิรินดา ลีสุรวณิช ม.6/125 เลขที่ 23
2
บรรณานุกรม
• http://www.dnp.go.th/botany/
• van Welzen, P.C. (2007). Euphorbiaceae (Sauropus). In Flora of Thailand Vol. 8(2): 527-539.
• Li, B. and M.G. Gilbert. (2008). Euphorbiaceae (Phyllanthus). In Flora of China Vol. 11: 182, 183.
• Hoffman, P. (2007). Euphorbiaceae (Antidesma). In Flora of Thailand Vol. 8(2): 51-81.
• Chantaranothai, P. (2007). Euphorbiaceae (Phyllanthus). In Flora of Thailand Vol. 8(2): 473-507
งานสืบค้นพืชสวนพฤกษศาสตร์จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ ถ้าไม่ได้รับความ
ร่วมมือจากสมาชิกในกลุ่ม และการช่วยเหลือจากอาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู
ประจาวิชา ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขและคอยชี้แนะปัญหาต่าง ๆ
ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ให้ความช่วยเหลือในการจัดหาต้นไม้และอุปกรณ์
ต่างๆและให้กาลังใจตลอดมาและถ้าหากมีการผิดพลาดประการใดคณะผู้จัดทา
ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
กิตติกรรมประกาศ
คณะผู้จัดทา
Plant ser 125_60_1

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt? (20)

Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 

Ähnlich wie Plant ser 125_60_1 (20)

Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
931 pre5
931 pre5931 pre5
931 pre5
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 

Mehr von Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Mehr von Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 125_60_1

  • 1. ผักหวานบ้าน Family : Phyllanthaceae งานกลุ่มสืบค้นความหลากหลายทาง พันธุกรรมของพืชสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 6 (ว 30246) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. อาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นาเสนอครูผู้สอน
  • 3. สมาชิกในกลุ่ม 1. น.ส.ธนภรณ์ มีจันทร์ (5) 2. น.ส.นภัสสร สะตะ (9) 3. น.ส.ผกาสิริ สิทธิรินทร์ (13) 4. น.ส.สิรินดา ลีสุรวณิช (23) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
  • 4. คานา รายงานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 6 รหัสวิชา ว 30246 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในหัวข้อวงศ์พืช Phyllanthaceae การบูรณาการชีววิทยา กับสวนพฤกษศาสตร์ คณะผู้จัดทา ได้มีการใส่รายละเอียดเกี่ยวกับต้นแต่ละต้นที่อยู่ใน วงศ์นี้ โดยมีรายละเอียด อย่างชื่อวิทยาศาสตร์ลักษณะ แหล่งที่พบ ประโยชน์และ สรรพคุณ รวมทั้งรูปภาพประกอบด้วย คณะผู้จัดทา
  • 5. สารบัญ • ผักหวานบ้าน • มะขามป้ อม • มะยม • แขนงพร้อย • ขี้เหล็กฤาษี • ตะไคร้หางสิงห์ • ผักหวานดง • ผักหวานนก • มะเม่าดง • มะไฟ • มะไฟกา • มะไฟลิง
  • 6. ผักหวานดง Phyllanthus elegans Wall. ผู้รับผิดชอบ : นางสาวธนภรณ์ มีจันทร์ ม. 6/125 เลขท • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus elegans Wal. • ชื่อวงศ์ : Phyllanthaceae • ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล • ลักษณะทางพันธุศาสตร์ : ผักหวานดง เป็นไม้ล้มลุก สูง 0.6-3 เมตร กิ่งอ่อนมีสีเขียว ใบผักหวานดง เป็นใบเดี่ยว รูปไข่ โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบ เรียบ แผ่นใบบางท้องใบสีขาวนวล มีหูใบยาว ปลายใบแหลม ดอกผักหวานดง ดอกแยกเพศ แต่อยู่บนต้นเดียวกัน ดอกตัวผู้ออกเป็น กระจุกที่ซอกใบ ดอกย่อยกลม มีขนาดเล็ก มีกลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่ ขอบกลีบเว้าลึก ดอกเพศเมียเป็นดอกเดี่ยวออกตอนบนของกิ่ง มีกลีบ เลี้ยงเป็นรูปไข่ใส ขอบเว้าลึก 6 กลีบ ผลผักหวานดง เป็นรูปทรงกลม ผิวเรียบ พองลม เมล็ดมีลายตามยาว 1
  • 7. ผักหวานดง Phyllanthus elegans Wall. ผู้รับผิดชอบ : นางสาวธนภรณ์ มีจันทร์ ม. 6/125 เลขที่ 5 • ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล • ชื่ออื่น : จ๊าผักหวาน, ต้นใต้ใบ, ผักหวานช้าง • แหล่งที่พบ : พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายูในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบ แล้ง และป่าดิบชื้นความสูงถึงประมาณ 600 เมตร • ประโยชน์ : ใบ รสหวานเย็น ใช้ยางกวาดปากแก้เด็กลิ้นเป็นฝ้ าขาว ใช้ปรุงเป็นอาหาร รากรสเย็น ต้มดื่มแก้ไข้ 2
  • 8. ผู้รับผิดชอบ : นางสาวธนภรณ์ มีจันทร์ ม. 6/125 เลขที่ 5 ผักหวานนก Breynia hirsuta (Beille) Welzen & Pruesapan • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Breynia hirsuta (Beille) Welzen & Pruesapan • ชื่อวงศ์ : Phyllanthaceae • ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล • ลักษณะทางพันธุศาสตร์ ไม้พุ่มเตี้ย สูงได้ถึง 2 ม. แตกกิ่งต่า มีขนหยาบหนาแน่น หูใบยาว 2-4 มม. ใบส่วนมากรูปรี บางครั้งรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 1.5- 7.5 ซม. ปลายแหลมสั้น มีติ่งแหลม โคนรูปลิ่ม มน หรือกลม แผ่นใบมีขนกระจายด้านล่างกลีบเลี้ยงมีขนด้านนอก สีเขียวหรือ น้าตาลแดง ดอกเพศผู้เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม. ก้านดอกยาว 3-4 มม. ดอกเพศเมียเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. ก้าน ดอกยาวประมาณ 3 มม. ขยายในผลได้ถึง 7 มม. กลีบเลี้ยง 3 กลีบยาวประมาณ 2.5 มม. ขยายในผลได้ถึง 6 มม. กลีบใหญ่ 3 กลีบ ยาว 3-4.5 มม. ขยายในผลได้เกือบ 1 ซม. ยอดเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.5 มม. บานออกตามแนวระนาบ ม้วนงอ ผลรูป ไข่ ยาว 6-8 มม. เมล็ดยาวประมาณ 5 มม. 1
  • 9. ผู้รับผิดชอบ : นางสาวธนภรณ์ มีจันทร์ ม. 6/125 เลขที่ 5 • ชื่อพ้อง : Sauropus hirsutus Beille • ชื่ออื่น : กองกอยลอดขอน (ภาคกลาง); ก่อมก้อย (เพชรบุรี); ใต้ใบ, ผักหวานนก (กาญจนบุรี); ระงับมนุษย์ (ชุมพร) • แหล่งที่พบ : พบเฉพาะในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามที่โล่งในป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร • ประโยชน์ : รากมีรสจืดเย็น สรรพคุณเป็นยาแก้ไข้ตัวร้อน ใบแห้งนามาบดให้เป็นผง ใช้แทรกพิมเสนกวาดคอ เด็ก เพื่อลดไข้ รักษาอาการตัวร้อน ผักหวานนก Breynia hirsuta (Beille) Welzen & Pruesapan 2
  • 10. ผู้รับผิดชอบ : นางสาวธนภรณ์ มีจันทร์ ม. 6/125 เลขที่ 5 มะเม่าดง Antidesma bunius (L.) Spreng • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Antidesma bunius (L.) Spreng • ชื่อวงศ์ : Phyllanthaceae • ชื่อสามัญ : Chinese laurel,Currentwood • ลักษณะทางพันธุศาสตร์ ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. แยกเพศต่างต้น ลาต้นมักมีร่องและพูพอน มีขนสั้นนุ่มสี น้าตาลแดงประปรายหรือหนาแน่นตามกิ่งอ่อน หูใบ ก้านใบ แผ่นใบด้านล่าง ใบ ประดับ และกลีบเลี้ยง หูใบรูปแถบ ยาว 4-6 มม. ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูป ใบหอกหรือแกมรูปไข่กลับ ส่วนมากยาว 10-18 ซม. ปลายแหลมยาว โคนแหลม หรือกลม ก้านใบสั้นหรือยาวกว่า 1 ซม. ช่อดอกคล้ายช่อกระจะออกตามซอกใบ ใบประดับขนาดเล็กแต่ละใบประดับมีดอกเดียว ไร้ก้าน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเกิน กึ่งหนึ่ง ปลายแยกเป็น 3 กลีบ ปลายมนกลม ไม่มีกลีบดอก ช่อดอกเพศผู้ยาวได้ ถึง 25 ซม. แยกแขนง ดอกไร้ก้าน กลีบเลี้ยงยาว 3-4 มม. จานฐานดอกเป็นวง หรือจักเป็นพู เกสรเพศผู้ 3-4 อัน ยื่นพ้นหลอดกลีบเลี้ยงเล็กน้อย ช่อดอกเพศเมีย สั้นกว่าเพศผู้ ก้านดอกยาว 0.5-2 มม. ขยายในผล จานฐานดอกเป็นวง รังไข่ เกลี้ยงหรือมีขนประปราย มีช่องเดียว ออวุล 2 เม็ด ยอดเกสรเพศเมีย 3-4 อัน สั้น ติดทน ผลรูปรี ยาว 0.5-1.2 ซม. ผลแก่สีแดงเปลี่ยนเป็นสีดา ส่วนมากมีเมล็ด เดียว 1
  • 11. ผู้รับผิดชอบ : นางสาวธนภรณ์ มีจันทร์ ม. 6/125 เลขที่ 5 • ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล • ชื่ออื่น : บ่าเม่าฤๅษี,เม่าช้าง, แมงเม่าควาย • แหล่งที่พบ : อินเดียรวมหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน บอร์เนียว ชวา ฟิลิปปินส์ นิวกินี หมู่เกาะแปซิฟิก และฮาวาย ในไทยพบแทบทุกภาคยกเว้นภาคใต้ • ประโยชน์ : สรรพคุณแก้แผลฟกช้า ช่วยบารุงสายตา 2 มะเม่าดง Antidesma bunius (L.) Spreng
  • 12. มะไฟ Baccaurea ramiflora Lour. • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baccaurea ramiflora • วงศ์ : Phyllanthaceae • ชื่อสามัญ : Burmese Grape • ลักษณะ :ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก หรือแกมรูป ไข่กลับ ยาว 7-25 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม เส้นแขนงใบ ข้างละ 4-9 เส้น ก้านใบยาว 1-6 ซม. ช่อดอกออกเป็นกระจุกหลาย ช่อ ยาว 8-15 ซม. ช่อดอกเพศเมียยาวไม่เกิน 10 ซม. ดอกสีเหลือง ใบประดับยาว 3-4.5 มม. ไม่มีใบประดับย่อย ดอกเพศผู้ก้านดอก ยาว 1-2.5 มม. กลีบเลี้ยง ยาว 1-2.5 มม. ดอกเพศเมียก้านดอก และกลีบเลี้ยงยาวกว่าเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 5-8 อัน ไร้ก้านเกสรเพศ เมีย ยอดเกสรยาวประมาณ 0.5 มม. เรียบ ผลกลมหรือรูปไข่ ปลายมีติ่งแหลม เส้นผ่านศูนย์กลาง2-2.8 ซม. สุกสีเหลือง เมล็ด ยาว 1-1.5 ซม. เยื่อหุ้มสีขาวหรืออมเหลือง ผู้รับผิดชอบ : นางสาวนภัสสร สะตะ ม.6/125 เลขที่ 8 1
  • 13. มะไฟ Baccaurea ramiflora Lour. • ประโยชน์ : เปลือกและเนื้อไม้มีสรรพคุณต้านอนุมูลอิสระ • แหล่งที่พบ : อินเดียรวมหมู่เกาะนิโคบาร์ ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายูในไทยพบทุก ภาค ขึ้นตามป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1700 เมตร • ชื่ออื่น : ขี้หมี (ภาคเหนือ); แซเครือแซ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); ผะยิ้ว (เขมร-สุรินทร์); มะไฟ (ทั่วไป); มะไฟกา (ภาคใต้); มะไฟป่า (ภาคตะวันออก, ภาคตะวันออกเฉียงใต้); ส้มไฟ (ภาคใต้); หัมกัง (เพชรบูรณ์) • ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล ผู้รับผิดชอบ : นางสาวนภัสสร สะตะ ม.6/125 เลขที่ 8 2
  • 14. มะไฟกา Baccaurea parviflora Müll. Arg. • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baccaurea parviflora Müll. Arg. • วงศ์ : Phyllanthaceae • ชื่อสามัญ : Chinese lantern tree • ลักษณะ : ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 5-23 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่มหรือ เรียวสอบ เส้นแขนงใบข้างละ 5-10 เส้น ก้านใบยาว 0.5-5.5 ซม. ช่อดอกออกเป็นกระจุกหลายช่อที่โคนต้น ยาวได้ถึง 30 ซม. ใบ ประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก ดอกสีขาว อมเหลือง หรือแดง ก้านดอกส่วนมากยาวได้ถึง6 มม. ดอกเพศผู้กลีบเลี้ยงยาว 0.5-3 มม. ดอกเพศเมียแคบและยาวกว่าเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 5-7 อัน เกสรเพศเมียไร้ก้านหรือยาวได้ถึง 2 มม. ยอดเกสรยาวได้ถึง 1.5 มม. จัก 2 พู ผลรูปกระสวย เส้นผ่านศูนย์กลาง1-1.5 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. มีสันตามยาว 4-6 สัน สีน้าตาลแดง เปลี่ยนเป็นสีม่วง เมล็ดยาว 1-1.5 ซม. เยื่อหุ้มสีแดงหรือม่วง ผู้รับผิดชอบ : นางสาวนภัสสร สะตะ ม.6/125 เลขที่ 8 1
  • 15. • ประโยชน์ : ไม้ดอกไม้ประดับคล้ายบอนไซ • แหล่งที่พบ : พบที่อินเดีย คาบสมุทรมลายูสุมาตรา และ บอร์เนียว ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1250 เมตร • ชื่ออื่น : มะไฟกา (ภาคใต้); มะไฟเต่า (สตูล); ส้มไฟดิน, ส้ม ไฟป่า (นครศรีธรรมราช) • ชื่อพ้อง : Pierardia parviflora Müll. Arg. ผู้รับผิดชอบ : นางสาวนภัสสร สะตะ ม.6/125 เลขที่ 8 มะไฟกา Baccaurea parviflora Müll. Arg. 2
  • 16. มะไฟลิง Baccaurea racemosa (Reinw. ex Blume) Müll. Arg. • ชื่อวิทยาศาสตร์ :Baccaurea racemosa (Reinw. ex Blume) Müll. Arg. • วงศ์ : Phyllanthaceae • ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล • ลักษณะ :ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน แกมรูปไข่หรือรูป ไข่กลับ ยาว 5-22 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม เส้นแขนงใบข้างละ4- 10 เส้น ก้านใบยาว 1.2-7.5 ซม. ช่อดอกออกเป็นกระจุก 1-5 ช่อ ตามลา ต้นหรือใต้ใบ ช่อเพศผู้ยาวได้ถึง 10 ซม. ช่อเพศเมียยาวได้ถึง 30 ซม. ใบ ประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก ดอกสีเหลืองอมเขียว ก้านดอกยาว ได้ถึง 7 มม. กลีบเลี้ยงยาว 1-6 มม. ในดอกเพศเมียก้านดอกและกลีบ เลี้ยงยาวกว่าในดอกเพศผู้ เกสรเพศผู้ 5-7 อัน เกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มม. ยอดเกสรยาวประมาณ 0.3 มม. เรียบ ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม. สุกสีเหลืองอมส้มหรือชมพูอมแดง เมล็ดยาวประมาณ1 ซม. เยื่อหุ้มสีม่วงหรืออมฟ้ า ผู้รับผิดชอบ : นางสาวนภัสสร สะตะ ม.6/125 เลขที่ 8 1
  • 17. มะไฟลิง Baccaurea racemosa (Reinw. ex Blume) Müll. Arg. • ประโยชน์ : มีวิตามินซีสูง ช่วยในสังเคราะห์คอลลาเจน ช่วยขับเสมหะ รักษาอาการอาหารไม่ย่อย ท้องอืด ท้องเฟ้ อ ลดอาการอักเสบ • แหล่งที่พบ : พบที่คาบสมุทรมลายูสุมาตรา ชวา บอร์เนียว ซูลาเวซี ในไทยพบทางภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูง ระดับต่า ๆ และป่าพรุน้าจืด • ชื่ออื่น : - • ชื่อพ้อง :Coccomelia racemosa Reinw. Ex Blume ผู้รับผิดชอบ : นางสาวนภัสสร สะตะ ม.6/125 เลขที่ 8 2
  • 18. ผักหวานบ้าน Breynia androgyna (L.) Chakrab. & N. P. Balakr. • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Breynia androgyna (L.) Chakrab. & N. P. Balakr. • ชื่อสามัญ Sweet leaf bush • วงศ์ : Phyllanthaceae • ลักษณะ : ไม้พุ่มสูง 1-4 ม. หูใบยาว 2-3 มม. ใบรูปไข่ ยาว 2-9 ซม. ปลายแหลมหรือมน โคนกลมหรือตัด แผ่นใบด้านล่างสีเขียวอ่อน ก้านใบ ยาว 2-3 มม. ดอกสีเขียวอมเหลืองหรือแดง กลีบหนา ดอกเพศผู้เส้นผ่าน ศูนย์กลาง 0.5-1.8 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1.3 ซม. ดอกเพศเมียเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ 3 มม. ขยายในผลได้ถึง 1.4 ซม. กลีบเลี้ยงกลีบเล็กยาว 2-4 มม. กลีบใหญ่ยาว 2.5-5.5 ซม. เรียวแคบ กว่าเล็กน้อย ยอดเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.2 มม. บานออกตามแนว ระนาบ ม้วนงอ ผลรูปรีกว้างเกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. เกลี้ยง สีขาว เมล็ดยาว 7-8 มม. ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาสิริ สิทธิรินทร์ ม.6/125 เลขที่ 13 1
  • 19. ผักหวานบ้าน Breynia androgyna (L.) Chakrab. & N. P. Balakr. • แหล่งที่พบ อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่า ที่ โล่ง ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร • ประโยชน์ ใบและดอกบารุงสุขภาพแก้ไอ รากแก้ปัสสาวะอักเสบ ลดไข้ ช่วยป้ องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ และความ ดันโลหิตสูง • ชื่อพ้อง Clutia androgyna L., Sauropus androgynus (L.) Merr. • ชื่ออื่น ก้านตง, จ๊าผักหวาน โถหลุ่ยกะนีเด๊าะ นานาเซียม ผักหวาน ผักหวานใต้ใบ มะยมป่า ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาสิริ สิทธิรินทร์ ม.6/125 เลขที่ 13 2
  • 20. มะขามป้ อม Phyllanthus emblica L. • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus emblica L. • ชื่อสามัญ : Indian gooseberry, Malacca tree • วงศ์ : Phyllanthaceae • ลักษณะ : ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. หูใบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็กใบเรียง สลับระนาบเดียว รูปแถบ ยาวได้ถึง 2 ซม. ปลายมน โคนเว้าตื้น เบี้ยว ก้านใบยาว 0.2-0.8 มม. ช่อดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบช่วงโคนกิ่ง ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 1.5-3 มม. กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูป ไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 1.2-2 มม. จานฐานดอกเป็นต่อมรูปกระบอง 6 ต่อม เกสรเพศผู้ 3 อัน เชื่อมติดกันที่โคน ดอกเพศเมียก้านสั้นกว่าในดอก เพศผู้ กลีบเลี้ยงยาวกว่าเล็กน้อย จานฐานดอกเป็นวงมีสัน รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 1-1.5 ม. ยอดเกสรแยก 2 แฉก ผลรูปกลม เส้น ผ่านศูนย์กลาง 2-3 ซม. เมล็ดขนาดไม่เท่ากัน ยาว 4-6 มม. ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาสิริ สิทธิรินทร์ ม.6/125 เลขที่ 13 1
  • 21. ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาสิริ สิทธิรินทร์ ม.6/125 เลขที่ 13 มะขามป้ อม Phyllanthus emblica L. • แหล่งที่พบ : อินเดีย ภูฏาน ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ขึ้นในป่าหลาย ประเภท ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร • ประโยชน์ : มีสรรพคุณด้านสมุนไพรโดยเฉพาะผลที่เป็นส่วนประกอบในสมุนไพรหลายขนาน • ชื่อพ้อง : - • ชื่ออื่น : กันโตด, กาทวด, มั่งลู่, สันยาส่า 2
  • 22. ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาสิริ สิทธิรินทร์ ม.6/125 เลขที่ 13 มะยม Phyllanthus acidus (L.) Skeels • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus acidus (L.) Skeels • ชื่อสามัญ : Otaheite gooseberry, Star gooseberry • วงศ์ : Phyllanthaceae • ลักษณะ : ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 2.5- 10 ซม. ปลายมีติ่งแหลม โคนมน ช่อดอกมีดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุก 2-6 ดอกมักออกที่โคนช่อตามซอกใบหรือตามกิ่ง ช่อดอกเพศเมียส่วนมากออก ตามกิ่ง ก้านดอกยาว 0.5-3 มม. ขยายในผลยาว 2-5 มม. กลีบเลี้ยงสีแดง รูปไข่ ยาว 1-2 มม. ดอกเพศผู้มี 4 กลีบ แคบกว่าในดอกเพศเมียเล็กน้อย จานฐานดอกเป็นต่อม 4 ต่อม ดอกเพศเมียมี 4-6 กลีบ จานฐานดอกเป็น ต่อม 4-6 ต่อม เกสรเพศผู้ 4 อัน แยกกัน ยาวประมาณ 5 มม. บางครั้งมี 1-2 อันในดอกเพศเมีย ลดรูป รังไข่จัก 6-8 พู ก้านเกสรเพศเมีย 3-4 อัน ยาว 1-6 มม. ผลจัก 6-8 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.7 ซม. เมล็ดกลมแกมรูป สามเหลี่ยมมน ยาว 5-8 มม. 1
  • 23. • แหล่งที่พบ : อเมริกาใต้ ทั่วไปในเขตร้อน • ประโยชน์ : มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง • ชื่อพ้อง : Averrhoa acida L. • ชื่ออื่น : - มะยม Phyllanthus acidus (L.) Skeels ผู้รับผิดชอบ นางสาวผกาสิริ สิทธิรินทร์ ม.6/125 เลขที่ 13 2
  • 24. ผู้รับผิดชอบ นางสาวสิรินดา ลีสุรวณิช ม.6/125 เลขที่ 23 แขนงพร้อย Phyllanthus collinsae Craib • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus collinsae Craib • วงศ์ : Phyllanthaceae • ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล • ลักษณะ : ไม้พุ่ม อาจสูงได้ถึง 6 ม. หูใบโคนเป็นติ่ง ใบเรียงสลับระนาบ เดียว รูปขอบขนานถึงรูปใบหอก ยาว 0.5-2.2 ซม. ปลายมนมีติ่งแหลม โคนเบี้ยว ก้านใบสั้นมาก ดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบ ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 2-4 มม. กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว ประมาณ 1 มม. จานฐานดอกเป็นต่อม 6 ต่อม เกสรเพศผู้ 4-6 อัน ก้านชู อับเรณูเชื่อมติดกัน ยาว 1.5-2 มม. ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 3-4 มม. กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1.5-2 มม. จานฐานดอกรูปเบาะ จัก มน รังไข่ย่น ก้านเกสรเพศเมียแยกเป็น 3 แฉก ยาวประมาณ 1 มม. ผลจัก 3 พู กลมแป้ น ผิวย่น เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 มม. มี 2 เมล็ดในแต่ละซีก รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1 มม. 1
  • 25. ผู้รับผิดชอบ นางสาวสิรินดา ลีสุรวณิช ม.6/125 เลขที่ 23 • ประโยชน์ : ใบอ่อนต้มเป็นยาขับเสมหะ แก้เหน็บชา รากแก้ไข้ ใบเป็นยาระบาย • แหล่งที่พบ : เวียดนามตอนล่าง ในไทยพบกระจายแทบทุกภาค ยกเว้นภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร • ชื่ออื่น : แขนงพร้อย, ค่างเต้น, ช้าขามป้ อม (ประจวบคีรีขันธ์),เสียว (สระบุรี) • ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล แขนงพร้อย Phyllanthus collinsae Craib 2
  • 26. ผู้รับผิดชอบ นางสาวสิรินดา ลีสุรวณิช ม.6/125 เลขที่ 23 ขี้เหล็กฤาษี Phyllanthus mirabilis Müll. Arg. • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus mirabilis Müll. Arg. • วงศ์ : Phyllanthaceae • ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล • ลักษณะ :ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. โคนอวบหนา ใบเรียงเป็น กระจุกที่ปลายกิ่ง ใบรูปขอบขนาน ยาว 6.5-13 ซม. โคนเบี้ยว แผ่นใบมี ขนสั้นนุ่ม ยอดที่มีดอก (orthotropic shoot) คล้ายช่อดอกขนาด ใหญ่ ใบประดับรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 2 ซม. ดอกออกเป็น กระจุกตามซอกใบ ไม่มีกลีบดอก กลีบเลี้ยงมีปุ่มเล็ก ๆ จานฐานดอกเป็น ต่อมรูปกระบอง ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปรี ยาวประมาณ 3 มม. ปลายแหลมยาว จานฐานดอกมี 5 ต่อม เกสรเพศผู้ 6 อัน เชื่อมติดกันที่โคน แกนอับเรณูปลายมีรยางค์ ดอกเพศเมียคล้าย ดอกเพศผู้ ก้านดอกยาว 2-3 มม. กลีบเลี้ยง 6 กลีบ ยาว 4-5.5 มม. ติด ทน จานฐานดอกมี 6 ต่อม ยอดเกสรเพศเมีย 6 อัน ยาวประมาณ 1 มม. ผลรูปรีกว้าง จัก 3 พู ยาวได้ถึง 1 ซม. 1
  • 27. ผู้รับผิดชอบ นางสาวสิรินดา ลีสุรวณิช ม.6/125 เลขที่ 23 ขี้เหล็กฤาษี Phyllanthus mirabilis Müll. Arg. • ประโยชน์ : ไม้ดอกไม้ประดับคล้ายบอนไซ • แหล่งที่พบ : พบที่ลาว ในไทยพบกระจายยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามเขาหินปูนที่แห้งแล้ง ความสูงไม่เกิน 1000 เมตร • ชื่ออื่น : ขี้เหล็กฤๅษี (สระบุรี), ไอ้เทา (เพชรบุรี) • ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล 2
  • 28. ตะไคร้หางสิงห์ Phyllanthus taxodiifolius Beille • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus taxodiifolius Beille • วงศ์ : Phyllanthaceae • ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล • ลักษณะ : ไม้พุ่ม สูง 0.5-2 ม. แยกเพศร่วมต้น กิ่งเป็นเหลี่ยม หูใบรูปใบ หอก ยาว 1-2 มม. ใบเรียงสลับระนาบเดียวรูปใบหอกหรือรูปแถบ เบี้ยว ยาว 3-5 มม. ปลายมีติ่งแหลม เส้นแขนงใบข้างละ3-4 เส้น ก้านใบสั้น มาก ดอกออกเป็นกลุ่มตามซอกใบ ไม่มีกลีบดอก ก้านดอกยาว 2-3 มม. ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่ ยาวประมาณ 0.5 มม. จานฐาน ดอกเป็นแผ่นต่อม 4 อัน ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันที่โคน ดอกเพศเมีย กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5 มม. จานฐานดอกรูป ถ้วย จักมน รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียปลายแยกเป็น3 แฉก ยาว 0.2- 0.3 มม. ผลแห้งแตก รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-7 มม. มี 6 ริ้ว แตก เป็น 3 ซีก ก้านผลยาวประมาณ 3 มม. มี 2 เมล็ดในแต่ละซีก รูป สามเหลี่ยม ยาวประมาณ 2.5 มม. มีเส้นใยฝอย ผู้รับผิดชอบ นางสาวสิรินดา ลีสุรวณิช ม.6/125 เลขที่ 23 1
  • 29. ตะไคร้หางสิงห์ Phyllanthus taxodiifolius Beille • ประโยชน์ : รสจืดเย็นปร่า ขับปัสสาวะ แก้กระษัย บารุงไตให้ทางานดีขึ้น ล้างกระเพาะปัสสาวะ • แหล่งที่พบ : พบที่จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาค กลาง ขึ้นตามที่โล่งใกล้แหล่งน้า ความสูง 50-700 เมตร • ชื่ออื่น : ไคร้หางนาค (ปราจีนบุรี), ตะไคร้หางสิงห์ (สุพรรณบุรี), เสียว (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), เสียวน้อย (ขอนแก่น), เสียวน้า (ปราจีนบุรี), เสียวเล็ก (ขอนแก่น) • ชื่อพ้อง : ไม่ปรากฏข้อมูล ผู้รับผิดชอบ นางสาวสิรินดา ลีสุรวณิช ม.6/125 เลขที่ 23 2
  • 30. บรรณานุกรม • http://www.dnp.go.th/botany/ • van Welzen, P.C. (2007). Euphorbiaceae (Sauropus). In Flora of Thailand Vol. 8(2): 527-539. • Li, B. and M.G. Gilbert. (2008). Euphorbiaceae (Phyllanthus). In Flora of China Vol. 11: 182, 183. • Hoffman, P. (2007). Euphorbiaceae (Antidesma). In Flora of Thailand Vol. 8(2): 51-81. • Chantaranothai, P. (2007). Euphorbiaceae (Phyllanthus). In Flora of Thailand Vol. 8(2): 473-507
  • 31. งานสืบค้นพืชสวนพฤกษศาสตร์จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ ถ้าไม่ได้รับความ ร่วมมือจากสมาชิกในกลุ่ม และการช่วยเหลือจากอาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู ประจาวิชา ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขและคอยชี้แนะปัญหาต่าง ๆ ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ให้ความช่วยเหลือในการจัดหาต้นไม้และอุปกรณ์ ต่างๆและให้กาลังใจตลอดมาและถ้าหากมีการผิดพลาดประการใดคณะผู้จัดทา ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย กิตติกรรมประกาศ คณะผู้จัดทา