SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 43
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา ว30246 ชีววิทยา 6
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
ครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กรุงเทพมหานคร
แผนการจัดการเรียนรู้
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
รหัสวิชา ว 30246 รายวิชา ชีววิทยา 6
เวลาเรียน 3 คาบ/สัปดาห์/คาบ จานวน 1.5 หน่วยการเรียน รวมเวลาเรียน 60 คาบ/ภาคเรียน
...............................................................................................................................................................
ชื่อครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ :
แบบเรียนหลัก 1. เอกสารหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบสืบค้น วิชาชีววิทยา สาระการเรียนรู้
เพิ่มเติม ว 30246 ผู้เขียน นางถนิมาภรณ์ ตั้งตรัยรัตนกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
2. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
3. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
หน่วยการเรียนรู้ :
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DNA
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
จานวน 6 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 18 ชั่วโมง ประกอบด้วย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
เรื่อง ความแปรผันทางพันธุกรรม ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
เรื่อง ส่วนขยายของหลักเมนเดล (1) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
เรื่อง ส่วนขยายของหลักเมนเดล (2) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
เรื่อง ลักษณะพันธุกรรมบนโครโมโซม ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
เรื่อง พันธุประวัติและการขยายไบโนเมียล ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30246 ชีววิทยา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล เวลา 3 ชั่วโมง
ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิด
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายกระบวนการและและความสาคัญของการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล และเขียนข้อ
ค้นพบจากผลการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายกระบวนการและความสาคัญของการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดลได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนข้อค้นพบจากผลการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดลได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักความสาคัญของการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดลต่อการพัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
 พันธุศาสตร์ ( Genetics ) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
(Inheritance) ในสิ่งมีชีวิต จากบรรพบุรุษไปยังลูกหลานในรุ่นต่อ ๆ ไป
 เกรกอร์ เมนเดล ( Gregor Johann Mendel ) นักบวชชาวออสเตรีย และเป็นนักคณิตศาสตร์
ซึ่งได้ทาการสังเกตพบว่าพันธุ์ถั่วลันเตามีลักษณะบางอย่างเหมือนกัน และลักษณะบางอย่างไม่
เหมือนกัน จึงได้ทาการทดลองผสมพันธุ์เกสรแต่ละลักษณะจนได้เมล็ด แล้วนาเมล็ดไปเพาะปลูก
จากนั้นทาการสังเกต/บันทึกลักษณะต่าง ๆ ที่ปรากฏของต้นถั่วในแต่ละรุ่นไว้
 ถั่วลันเตามีลักษณะที่เหมาะสมในการทดลอง เช่น มีการเจริญเติบโตเร็ว มีความหลากหลายทาง
พันธุกรรม (variation) เห็นความแตกต่างกันอย่างชัดเจน มีการปฏิสนธิตนเอง (perfect flower)
หรือ self-fertilization เป็นต้น
 Mendel ทาการทดลองเป็นระยะเวลา 7 ปี โดย Mendel ใช้คณิตศาสตร์เกี่ยวกับเรื่องโอกาส
ความน่าจะเป็น และสถิติมาวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทดลอง แต่กลับไม่มีผู้ใดสนใจงานของ
Mendel เนื่องจากการศึกษาชีววิทยาในอดีตไม่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
 Mendel ถึงแก่กรรม 1884 ซึ่งต่อมานักชีววิทยารุ่นหลัง ได้ทาการทดลองผสมพันธุ์ถั่วลันเตาและ
พืชชนิดอื่น โดยใช้หลักการวิเคราะห์คล้าย Mendel และได้ผลสอดคล้องกับกฎการถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรมที่ Mendel ตั้งไว้
 กฎการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดล
1. กฎข้อที่ 1 ของเมนเดล คือ การแยกตัวของยีน ( Law of segregation of gene )
2. กฎข้อที่ 2 ของเมนเดล คือ การรวมกลุ่มกันอย่างเป็นอิสระ ( Law of independent
assortment )
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายกระบวนการและและความสาคัญของการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนข้อค้นพบจากผลการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักความสาคัญของการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดลต่อการ
พัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> พันธุกรรมคืออะไร มีกระบวนการถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งได้อย่างไร
> ลองยกตัวอย่างการประยุกต์ในหลักการทางพันธุศาสตร์ต่อการดารงชีวิตในปัจจุบัน
> นักเรียนคิดว่าลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่งเกิดความ
แตกต่างกันได้อย่างไร
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าลักษณะทางพันธุกรรมใดบ้างที่ตัว
นักเรียนมีเหมือนพ่อแม่และลักษณะใดบ้างที่มีความแตกต่าง เพราะเหตุใด
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
การศึกษากระบวนการถ่ายทอดทางพันธุกรรมในปัจจุบันมีเทคโนโลยีใดบ้างที่เกี่ยวข้อง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล” ว่า
 พันธุศาสตร์ ( Genetics ) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
(Inheritance) ในสิ่งมีชีวิต จากบรรพบุรุษไปยังลูกหลานในรุ่นต่อ ๆ ไป
 เกรกอร์ เมนเดล ( Gregor Johann Mendel ) นักบวชชาวออสเตรีย และเป็นนักคณิตศาสตร์
ซึ่งได้ทาการสังเกตพบว่าพันธุ์ถั่วลันเตามีลักษณะบางอย่างเหมือนกัน และลักษณะบางอย่างไม่
เหมือนกัน จึงได้ทาการทดลองผสมพันธุ์เกสรแต่ละลักษณะจนได้เมล็ด แล้วนาเมล็ดไปเพาะปลูก
จากนั้นทาการสังเกต/บันทึกลักษณะต่าง ๆ ที่ปรากฏของต้นถั่วในแต่ละรุ่นไว้
 Mendel ทาการทดลองเป็นระยะเวลา 7 ปี โดย Mendel ใช้คณิตศาสตร์เกี่ยวกับเรื่องโอกาส
ความน่าจะเป็น และสถิติมาวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทดลอง แต่กลับไม่มีผู้ใดสนใจงานของ
Mendel เนื่องจากการศึกษาชีววิทยาในอดีตไม่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
 Mendel ถึงแก่กรรม 1884 ซึ่งต่อมานักชีววิทยารุ่นหลัง ได้ทาการทดลองผสมพันธุ์ถั่วลันเตาและ
พืชชนิดอื่น โดยใช้หลักการวิเคราะห์คล้าย Mendel และได้ผลสอดคล้องกับกฎการถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรมที่ Mendel ตั้งไว้
 Mendel จึงได้รับการยกย่องจากนักชีววิทยารุ่นหลังว่าเป็น“ บิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์ ”
 ถั่วลันเตาต้นสูงเป็นลักษณะเด่น ( Dominant ) ซึ่งถูกควบคุมโดย ถั่วลันเตาต้นเตี้ยแคระเป็น
ลักษณะด้อย ( Recessive ) ซึ่งถูกควบคุมโดย factor คนละตัว การแสดงออกของลักษณะทาง
พันธุกรรม คือ ลักษณะเด่นจะข่มลักษณะด้อย 100% ( Complete dominant ) และลักษณะ
เด่นจะปรากฏให้เห็นในแต่ละรุ่นเป็นจานวนมาก ต่อมาในปีพ.ศ.2454 โจแฮน เซน ได้เปลี่ยนมา
ใช้ gene แทน factor
 กฎข้อที่ 1 ของเมนเดล
1. กฎการแยกตัวของยีน ( Law of segregation of gene ) กล่าวว่ายีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆ
จะอยู่เป็นคู่เสมอ เมื่อถึงระยะที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ (meiosis) ยีนจะแยกไปอยู่ในสภาพเดี่ยวในเซลล์
สืบพันธุ์ (2nn) เมื่อเกิดการปฏิสนธิเป็นไซโกต (จึงมารวมกันอีก (เข้าคู่ homologous
chromosome)
2. กฏการรวมกลุ่มกันอย่างเป็นอิสระ ( Law of independent assortment ) ในการสร้างเซลล์
สืบพันธุ์นั้น ยีนบนโครโมโซมซึ่งอยู่ต่างคู่กัน (ควบคุมลักษณะต่างกัน) จะมีความเป็นอิสระที่จะเข้ารวมตัว
กันในเซลล์สืบพันธุ์ (variation) และเป็นอิสระในการเข้ามารวมตัวกันระหว่างการปฏิสนธิ
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับกระบวนการและความสาคัญของ
การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล ข้อค้นพบจากผลการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดลอีกทั้งการประยุกต์ใช้ใน
การศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม
กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการและความสาคัญของการศึกษา
พันธุศาสตร์ของเมนเดล ข้อค้นพบจากผลการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดลอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษา
ชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบสืบค้น วิชาชีววิทยา สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ว
30246 ผู้เขียน นางถนิมาภรณ์ ตั้งตรัยรัตนกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล: google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล: youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30246 ชีววิทยา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม เรื่อง ความแปรผันทางพันธุกรรม เวลา 3 ชั่วโมง
ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิด
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายกระบวนการและและความสาคัญของความแปรผันทางพันธุกรรม และเขียน
เปรียบเทียบความแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่องและแบบไม่ต่อเนื่อง
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายกระบวนการและความสาคัญของความแปรผันทางพันธุกรรมได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนเปรียบเทียบความแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่องและแบบไม่ต่อเนื่องได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักความสาคัญของการศึกษาความแปรผันทางพันธุกรรมต่อการพัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
 โครโมโซม (โครมาทิน = DNA + histone protein : nucleosome) อยู่ภายในนิวเคลียสของ
เซลล์สิ่งมีชีวิต (พบระหว่างที่เซลล์เกิดกระบวนการแบ่งตัว) ในโครโมโซมมีสารพันธุกรรม เรียกว่า
DNA (Deoxyribonucleic acid : polynucleotide)
 คุณลักษณะบางประการที่สาคัญที่สุดของสิ่งมีชีวิต คือ กระบวนการสืบพันธุ์ (reproduction :
sexual or asexual) ในเซลล์สืบพันธุ์ (sperm and egg cell) มีสารพันธุกรรมที่ถ่ายทอด
ลักษณะของพ่อและแม่ไปสู่ลูก ทาให้ลูกมีลักษณะคล้ายกับพ่อแม่หรือบรรพบุรุษ (genetic
variation)
 เซลล์สืบพันธุ์ของพ่อและแม่ถูกสร้างขึ้นจากการแบ่งเซลล์แบบ Meiosis ภายในเซลล์สืบพันธุ์จะมี
โครโมโซมอยู่ซึ่งมียีนลักษณะเฉพาะ อยู่บนโครโมโซมทาให้เกิดการถ่ายทอดไปพร้อมกัน
 ความแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation) สามารถจาแนกได้ 2 ประเภท
1. ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation) เป็น
ลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจนเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์
เพียงอย่างเดียว เรียกลักษณะแบบนี้ว่า ลักษณะทางคุณภาพ (qualitative trait)
2. ความผันแปรทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (continuous variation) เป็นลักษณะทาง
พันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด เช่น ความสูง น้าหนัก โครงร่าง สีผิว
เป็นต้น ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์ที่มียีนหลายตาแหน่งควบคุม และสิ่งแวดล้อมร่วมกัน
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายกระบวนการและและความสาคัญของความแปรผันทางพันธุกรรม
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนเปรียบเทียบความแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่องและแบบไม่
ต่อเนื่อง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักความสาคัญของการศึกษาความแปรผันทางพันธุกรรมต่อการ
พัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> เพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตจึงมีความหลากหลายทางชีวภาพในปัจจุบัน
> กระบวนการแบ่งเซลล์มีความเกี่ยวข้องกับความแปรผันทางพันธุกรรมอย่างไร
> นักเรียนคิดว่าความแปรผันทางพันธุกรรมส่งผลกระทบอย่างไรบ้างต่อกระบวนการดารงชีวิต
ของสิ่งมีชีวิต
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าสาเหตุสาคัญใดบ้างที่ส่งผลให้สิ่งมีชีวิต
เกิดความแปรผันทางพันธุกรรม
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
ความแปรผันทางพันธุกรรมมีกระบวนการเกิดอย่างไร เราสามารถแบ่งออกเป็นกี่แบบ อะไรบ้าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ความแปรผันทางพันธุกรรม” ว่า
 โครโมโซม (โครมาทิน = DNA + histone protein : nucleosome) อยู่ภายในนิวเคลียสของ
เซลล์สิ่งมีชีวิต (พบระหว่างที่เซลล์เกิดกระบวนการแบ่งตัว) ในโครโมโซมมีสารพันธุกรรม เรียกว่า
DNA (Deoxyribonucleic acid : polynucleotide)
 คุณลักษณะบางประการที่สาคัญที่สุดของสิ่งมีชีวิต คือ กระบวนการสืบพันธุ์ (reproduction :
sexual or asexual) ในเซลล์สืบพันธุ์ (sperm and egg cell) มีสารพันธุกรรมที่ถ่ายทอด
ลักษณะของพ่อและแม่ไปสู่ลูก ทาให้ลูกมีลักษณะคล้ายกับพ่อแม่หรือบรรพบุรุษ (genetic
variation)
 เซลล์สืบพันธุ์ของพ่อและแม่ถูกสร้างขึ้นจากการแบ่งเซลล์แบบ Meiosis ภายในเซลล์สืบพันธุ์จะมี
โครโมโซมอยู่ซึ่งมียีนลักษณะเฉพาะ อยู่บนโครโมโซมทาให้เกิดการถ่ายทอดไปพร้อมกัน
 ความแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation) สามารถจาแนกได้ 2 ประเภท
1. ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation) เป็นลักษณะ
ทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจนเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์เพียง
อย่างเดียว เรียกลักษณะแบบนี้ว่า ลักษณะทางคุณภาพ (qualitative trait) เช่น มีลักยิ้ม - ไม่มี
ลักยิ้ม มีติ่งหู -ไม่มีติ่งหู ห่อลิ้นได้ - ห่อลิ้นไม่ได้ เป็นต้น
2. ความผันแปรทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (continuous variation) เป็นลักษณะทาง
พันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด เช่น ความสูง น้าหนัก โครงร่าง สีผิว
เป็นต้น ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์ที่มียีนหลายตาแหน่งควบคุม และสิ่งแวดล้อมร่วมกัน
เช่น ความสูงถ้าได้รับสารอาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการและมีการออกกาลังกายก็จะทาให้มี
ร่างกายสูงได้ ลักษณะที่แตกต่างกันมีการกระจายตัวแบบต่อเนื่อง สามารถเขียนเป็นกราฟรูปโค้ง
ปกติได้ ซึ่งเรียกลักษณะแบบนี้ว่า ลักษณะทางปริมาณ (quantitative trait)
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับกระบวนการและ
ความสาคัญของความแปรผันทางพันธุกรรม การเปรียบเทียบลักษณะที่แตกต่างกันระหว่างความแปรผันทาง
พันธุกรรมแบบต่อเนื่องและแบบไม่ต่อเนื่องอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม
กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการและความสาคัญของความแปรผัน
ทางพันธุกรรม การเปรียบเทียบลักษณะที่แตกต่างกันระหว่างความแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่องและ
แบบไม่ต่อเนื่องอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบสืบค้น วิชาชีววิทยา สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
ว 30246 ผู้เขียน นางถนิมาภรณ์ ตั้งตรัยรัตนกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง ความแปรผันทางพันธุกรรม: google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ความแปรผันทางพันธุกรรม: youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ความแปรผันทางพันธุกรรม
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302446 ชีววิทยา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม เรื่อง ส่วนขยายของหลักเมนเดล (1) เวลา 6 ชั่วโมง
ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิด
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมายและและความสาคัญของส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดล และเขียน
แสดงรูปแบบการถ่ายทอดพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่เป็นส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดล
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนรูปแบบแสดงลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักความสาคัญของการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลต่อการ
พัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
 การข่มแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant) คือ การแสดงออกของ gene ที่เป็น gene
เด่นไม่สามารถข่ม gene ด้อยได้อย่างสมบูรณ์ ทาให้มีการแสดงออกของ gene ทั้งสองแบบเป็น
ผสมกันหรือเป็นแบบกลางๆ ระหว่างสองลักษณะ เช่น สีดอกลิ้นมังกร
 มัลติเพิลแอลลีล (Multiple alleles) คือ การที่ยีน (Gene) 1 โลคัส (Locus) มีจานวนของแอล
ลีล (Allele) มากกว่า 2 แบบ เช่น ในหมู่เลือดระบบ ABO มีจานวนของแอลลีล (Allele)อยู่ 3
แบบ คือ IA , IB และ i
 การข่มร่วมกัน (CO – dominant) การถ่ายทอดนี้ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล ยีนทั้งสองที่
ควบคุมลักษณะจะไม่ข่มซึ่งกันและกันแต่สามารถแสดงความเด่นได้ เท่าๆกันจึงปรากฏลักษณะ
ออกมาร่วมกัน
 พอลิยีน (polygenes) หมายถึง กลุ่มของยีนหรือยีนหลาย ๆ คู่ที่กระจายอยู่บนโครโมโซมคู่
เดียวกันหรือต่างคู่กัน ต่างทาหน้าที่ร่วมกันในการควบคุมลักษณะพันธุกรรมหนึ่ง ๆ ของสิ่งมีชีวิต
 ปฏิกิริยาการข่มของยีนต่างตาแหน่ง (epistasis) คือ การเกิดปฏิกิริยาร่วมระหว่างยีนที่อยู่คนละ
ตาแหน่ง (locus) ซึ่งมีผลให้ยีนจากตาแหน่งหนึ่งไปเปลี่ยนแปลงอิทธิพลของยีน ณ อีกตาแหน่ง
หนึ่งได้ ซึ่งอาจเกิดขึ้นระหว่างยีนจาก 2 ตาแหน่งหรือมากกว่าก็ได้ ที่ควบคุมลักษณะปรากฎ
(phenotype) เดียวกัน ยีนที่ข่มตัวอื่นเรียกว่า epistatic gene ส่วนยีนที่ถูกข่ม เรียกว่า
“hypostatic gene”
 ลีทัลจีน (lethal gene) เป็นจีนที่ทาให้เกิดความผิดปกติในการเจริญของเอมบริโอ มีผลทาให้
เอมบริโอตายก่อน จะทาการสืบพันธุ์ได้เมื่ออยู่ในสภาพฮอมอไซโกตหรือเมื่ออยู่ในสภาพเฮเทอโร
ไซโกต อาจจะแสดงออกหรือไม่ก็ได้ ลีทัลจีน อาจแสดงเป็นลักษณะเด่นหรือด้อยก็ได้ แต่พวกที่มี
ลักษณะเด่นมักจะทาให้สิ่งมีชีวิตที่มีจีนนั้นตายไปทันที จีนนี้เมื่อเกิดขึ้นจึงไม่มีโอกาสถูกถ่ายทอด
ไปสู่รุ่นลูกต่อไปได้
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมายและความสาคัญของส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดล
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนรูปแบบที่แสดงถึงลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลัก
พันธุศาสตร์เมนเดล
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักความสาคัญของการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมในส่วน
ขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลต่อการพัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นไปตามหลักของเมนเดล หมายถึงอะไร
> กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตแต่ละเหมือนหรือแตกต่างกัน
อย่างไรบ้าง
> นักเรียนคิดว่ามีลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตแบบใดบ้างที่ไม่เป็นไปตาม
หลักของเมนเดล
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตจึงต้องมีลักษณะ
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบางอย่างไม่เป็นไปตามหลักของเมนเดล
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
นักเรียนคิดว่าลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมบางอย่างไม่เป็นไปตามหลักของเมนเดลปัจจุบันมีอะไรบ้าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ส่วนขยายของหลักเมนเดล (1)” ว่า
 การข่มแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant) คือ การแสดงออกของ gene ที่เป็น gene
เด่นไม่สามารถข่ม gene ด้อยได้อย่างสมบูรณ์ ทาให้มีการแสดงออกของ gene ทั้งสองแบบเป็น
ผสมกันหรือเป็นแบบกลางๆ ระหว่างสองลักษณะ เช่น สีดอกลิ้นมังกร
 เมื่อนาดอกลิ้นมังกรรุ่น ลูก F1 สีชมพู 2 ต้นมาผสมกันจะได้รุ่นลูก F2 อัตราส่วนฟีโนไทป์ คือ
ดอกสีขาว : ดอกสีชมพู : ดอกสีแดง เท่ากับ 1 : 2 : 1 (ซึ่งเท่ากับอัตราส่วนจีโนไทป์)
 ตัวอย่างลักษณะการข่มแบบไม่สมบูรณ์ เช่น ลักษณะเส้นผมของมนุษย์
 มัลติเพิลแอลลีล ( Multiple alleles ) คือ การที่ยีน (Gene) 1 โลคัส (Locus) มีจานวนของแอล
ลีล (Allele) มากกว่า 2 แบบ เช่น ในหมู่เลือดระบบ ABO มีจานวนของแอลลีล (Allele)อยู่ 3
แบบ คือ IA , IB และ i
 การคานวณจีโนไทป์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดในมัลติเปิลแอลลีล ขึ้นอยู่กับจานวนแอลลีลที่มีอยู่ในยีน
นั้น เช่น ถ้าจานวนแอลลีลในยีนที่เราสนใจศึกษาประกอบด้วย 4 แอลลีล คือ A1 , A2 , A3 , A4
จานวนจีโนไทป์ทั้งหมด = ½ n (n+1)เมื่อ n = จานวนแอลลีลที่มีอยู่ทั้งหมดในยีนที่สนใจ = 10
จีโนไทป์ ได้แก่ จีโนไทป์ A1A1 , A1A2 , A1A3 , A1A4 ,A2A2 , A2A3 , A2A4 ,A3A3 , A3A4 และ
A4A4
 การข่มร่วมกัน (CO – dominant) การถ่ายทอดนี้ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล ยีนทั้งสองที่
ควบคุมลักษณะจะไม่ข่มซึ่งกันและกันแต่สามารถแสดงความเด่นได้ เท่าๆกันจึงปรากฏลักษณะ
ออกมาร่วมกัน
 ตัวอย่างลักษณะการข่มร่วมกัน เช่น ลักษณะหมู่เลือดเอ็มเอ็นในมนุษย์
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ
ส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดล รูปแบบที่แสดงถึงลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลักพันธุ
ศาสตร์เมนเดลอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม
กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของส่วนขยายของ
หลักพันธุศาสตร์เมนเดล รูปแบบที่แสดงถึงลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลอีก
ทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบสืบค้น วิชาชีววิทยา สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ว
30246 ผู้เขียน นางถนิมาภรณ์ ตั้งตรัยรัตนกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง ส่วนขยายของหลักเมนเดล: google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ส่วนขยายของหลักเมนเดล: youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ส่วนขยายของหลักเมนเดล
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302446 ชีววิทยา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม เรื่อง ส่วนขยายของหลักเมนเดล (2) เวลา 6 ชั่วโมง
ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิด
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมายและและความสาคัญของส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดล และเขียน
แสดงรูปแบบการถ่ายทอดพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่เป็นส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดล
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนรูปแบบแสดงลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักความสาคัญของการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลต่อการ
พัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
 การข่มแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant) คือ การแสดงออกของ gene ที่เป็น gene
เด่นไม่สามารถข่ม gene ด้อยได้อย่างสมบูรณ์ ทาให้มีการแสดงออกของ gene ทั้งสองแบบเป็น
ผสมกันหรือเป็นแบบกลางๆ ระหว่างสองลักษณะ เช่น สีดอกลิ้นมังกร
 มัลติเพิลแอลลีล (Multiple alleles) คือ การที่ยีน (Gene) 1 โลคัส (Locus) มีจานวนของแอล
ลีล (Allele) มากกว่า 2 แบบ เช่น ในหมู่เลือดระบบ ABO มีจานวนของแอลลีล (Allele)อยู่ 3
แบบ คือ IA , IB และ i
 การข่มร่วมกัน (CO – dominant) การถ่ายทอดนี้ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล ยีนทั้งสองที่
ควบคุมลักษณะจะไม่ข่มซึ่งกันและกันแต่สามารถแสดงความเด่นได้ เท่าๆกันจึงปรากฏลักษณะ
ออกมาร่วมกัน
 พอลิยีน (polygenes) หมายถึง กลุ่มของยีนหรือยีนหลาย ๆ คู่ที่กระจายอยู่บนโครโมโซมคู่
เดียวกันหรือต่างคู่กัน ต่างทาหน้าที่ร่วมกันในการควบคุมลักษณะพันธุกรรมหนึ่ง ๆ ของสิ่งมีชีวิต
 ปฏิกิริยาการข่มของยีนต่างตาแหน่ง (epistasis) คือ การเกิดปฏิกิริยาร่วมระหว่างยีนที่อยู่คนละ
ตาแหน่ง (locus) ซึ่งมีผลให้ยีนจากตาแหน่งหนึ่งไปเปลี่ยนแปลงอิทธิพลของยีน ณ อีกตาแหน่ง
หนึ่งได้ ซึ่งอาจเกิดขึ้นระหว่างยีนจาก 2 ตาแหน่งหรือมากกว่าก็ได้ ที่ควบคุมลักษณะปรากฎ
(phenotype) เดียวกัน ยีนที่ข่มตัวอื่นเรียกว่า epistatic gene ส่วนยีนที่ถูกข่ม เรียกว่า
“hypostatic gene”
 ลีทัลจีน (lethal gene) เป็นจีนที่ทาให้เกิดความผิดปกติในการเจริญของเอมบริโอ มีผลทาให้
เอมบริโอตายก่อน จะทาการสืบพันธุ์ได้เมื่ออยู่ในสภาพฮอมอไซโกตหรือเมื่ออยู่ในสภาพเฮเทอโร
ไซโกต อาจจะแสดงออกหรือไม่ก็ได้ ลีทัลจีน อาจแสดงเป็นลักษณะเด่นหรือด้อยก็ได้ แต่พวกที่มี
ลักษณะเด่นมักจะทาให้สิ่งมีชีวิตที่มีจีนนั้นตายไปทันที จีนนี้เมื่อเกิดขึ้นจึงไม่มีโอกาสถูกถ่ายทอด
ไปสู่รุ่นลูกต่อไปได้
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมายและความสาคัญของส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดล
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนรูปแบบที่แสดงถึงลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลัก
พันธุศาสตร์เมนเดล
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักความสาคัญของการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมในส่วน
ขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลต่อการพัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นไปตามหลักของเมนเดล หมายถึงอะไร
> กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตแต่ละเหมือนหรือแตกต่างกัน
อย่างไรบ้าง
> นักเรียนคิดว่ามีลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตแบบใดบ้างที่ไม่เป็นไปตาม
หลักของเมนเดล
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตจึงต้องมีลักษณะ
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบางอย่างไม่เป็นไปตามหลักของเมนเดล
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
นักเรียนคิดว่าลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมบางอย่างไม่เป็นไปตามหลักของเมนเดลปัจจุบันมีอะไรบ้าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ส่วนขยายของหลักเมนเดล (2)” ว่า
 ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตมีมากมาย แต่มิใช่ว่า แต่ละลักษณะจะต้องถูกควบคุมโดยยีน
เพียงคู่เดียวเสมอไป บางลักษณะถูกควบคุมด้วยยีนหลายคู่ เช่น ความสูงของคน สีผิวของคน
น้าหนักและขนาดของผลไม้ เป็นต้น ลักษณะเหล่านี้เป็นลักษณะที่มีความแปรผันต่อเนื่อง
การศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมเหล่านี้จะต้องอาศัยวิเคราะห์ข้อมูลจากการวัดขนาด การชั่ง
น้าหนัก และการคานวณต่างๆ จึงเรียกลักษณะแบบนี้ว่า ลักษณะทางปริมาณ (quantitative
trait หรือ metric trait) ยีนที่ควบคุมลักษณะแบบนี้เรียกว่า พอลิยีน (polygene) หรือ มัลติเปิล
ยีน (multiple gene) ซึ่งอาจมีตั้งแต่ 2 ถึง 40 คู่ และอาจอยู่บนโครโมโซมคู่เดียวกันหรือกระจัด
กระจายอยู่บนโครโมโซมหลายคู่ การแสดงออกของลักษณะที่ควบคุมโดยพอลิยีนนี้มักแปรผันไป
ตามอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม
 ตัวอย่างหนึ่งของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยพอลิยีน คือสีของเมล็ดข้าว
สาลี ซึ่งมียีนควบคุม 3 คู่ ถ้ากาหนดให้ R1 R2 R3 เป็นยีนที่ทาให้เมล็ดข้าวสาลีมีสีแดงส่วนแอลลีล
ของยีนเหล่านี้ คือ r1 r2 และ r3 เป็นยีนที่ทาให้เมล็ดข้าวสาลีไม่มีสี ยีนที่ควบคุมการมีสีหรือไม่มี
สีจะแสดงออกได้เท่าๆกัน ดังนั้นเมล็ดข้าวสาลีที่มีจีโนไทป์ r1 r1 r2 r2 r3r3 จะแสดงลักษณะ
เมล็ดสีขาว ส่วนพวกที่มีจีโนไทป์ R1R1 R2R2 R3R3 จะแสดงลักษณะเมล็ดสีแดงเข้ม ถ้าจีโนไทป์
มียีนควบคุมสีแดงจานวนมากขึ้น สีของเมล็ดจะเข้มขึ้นเป็นลาดับ
 ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยพอลิยีน ยีนแต่ละคู่แสดงผลแบบบวกสะสม (additive
effect) ถ้ากาหนดให้ยีน 3 ตาแหน่งจะได้สัดส่วนทาง ฟีโนไทป์ ของลูกรุ่น F2 คือ 1/64 , 6/64
, 15/64 20/64 , 15/64 , 6/64 1/64 ตามลาดับ
 ปฏิกิริยาการข่มของยีนต่างตาแหน่ง (epistasis) คือ การเกิดปฏิกิริยาร่วมระหว่างยีนที่อยู่คนละ
ตาแหน่ง (locus) ซึ่งมีผลให้ยีนจากตาแหน่งหนึ่งไปเปลี่ยนแปลงอิทธิพลของยีน ณ อีกตาแหน่ง
หนึ่งได้ ซึ่งอาจเกิดขึ้นระหว่างยีนจาก 2 ตาแหน่งหรือมากกว่าก็ได้ ที่ควบคุมลักษณะปรากฎ
(phenotype) เดียวกัน ยีนที่ข่มตัวอื่นเรียกว่า epistatic gene ส่วนยีนที่ถูกข่ม เรียกว่า
“hypostatic gene”
 ประเภทของ Epistasis
1. Complementary epistasis : ต้องการผลิตผลที่สร้างจากยีนทั้งสองตาแหน่งเพื่อการแสดง
phenotype เช่น หงอนไก่ หรือ non epistatic interaction
2. Recessive epistasis : ควบคุมด้วยยีน 2 คู่ โดย homozygous recessive ของยีนตาแหน่ง
หนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตาแหน่งหนึ่งได้ เช่น สีขนแมว
3. Dominant epistasis : ควบคุมด้วยยีน 2 คู่ โดย dominance allele ของตาแหน่งหนึ่ง
สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตาแหน่งหนึ่งได้ เช่น สีขนแกะ
4. Duplicate recessive epistasis : ยีนทั้ง 2 ตาแหน่ง ทาให้เกิด phenotype ที่เหมือนกัน แต่
homozygous recessive genotype ของยีนตาแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีก
ตาแหน่งหนึ่งได้เช่นเดียวกันกับ recessive epistasis ทั่วไป เช่น ยีนที่ควบคุมลักษณะขน
กามะหยี่ของกระต่าย
5. Duplicate dominant epistasis : ยีนทั้ง 2 ตาแหน่ง ทาให้เกิด phenotype ที่เหมือนกัน
แต่ dominant allele ของตาแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตาแหน่งหนึ่งได้
เช่นเดียวกันกับ dominant epistasis ทั่วไป เช่น ยีนที่ควบคุมลักษณะหน้าสีขาวของวัวแบบ
Simmental และ แบบ Hereford
 ลีทัลจีน (lethal gene) เป็นจีนที่ทาให้เกิดความผิดปกติในการเจริญของเอมบริโอ มีผลทาให้
เอมบริโอตายก่อน จะทาการสืบพันธุ์ได้เมื่ออยู่ในสภาพฮอมอไซโกตหรือเมื่ออยู่ในสภาพเฮเทอโร
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอBiobiome
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 

Was ist angesagt? (20)

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 

Andere mochten auch

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมWichai Likitponrak
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้พันธุกรรม
แผนการจัดการเรียนรู้พันธุกรรมแผนการจัดการเรียนรู้พันธุกรรม
แผนการจัดการเรียนรู้พันธุกรรมJiraporn
 
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์Wichai Likitponrak
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1kasidid20309
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมSuntharee Yodkham
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้นเฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้นWichai Likitponrak
 
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมMaikeed Tawun
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยWichai Likitponrak
 

Andere mochten auch (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60
 
แผนการจัดการเรียนรู้พันธุกรรม
แผนการจัดการเรียนรู้พันธุกรรมแผนการจัดการเรียนรู้พันธุกรรม
แผนการจัดการเรียนรู้พันธุกรรม
 
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบคำบรรยายติวสอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้นเฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
 
Worksheet human heart
Worksheet human heartWorksheet human heart
Worksheet human heart
 
Worksheet human kidney
Worksheet human kidneyWorksheet human kidney
Worksheet human kidney
 
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
 

Ähnlich wie แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์Wichai Likitponrak
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1Bhayubhong
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc Aobinta In
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 

Ähnlich wie แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม (20)

Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
Practicsproject gstu62
Practicsproject gstu62Practicsproject gstu62
Practicsproject gstu62
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
Surapol3
Surapol3Surapol3
Surapol3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
A
AA
A
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษานวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 

Mehr von Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Mehr von Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ว30246 ชีววิทยา 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 รหัสวิชา ว 30246 รายวิชา ชีววิทยา 6 เวลาเรียน 3 คาบ/สัปดาห์/คาบ จานวน 1.5 หน่วยการเรียน รวมเวลาเรียน 60 คาบ/ภาคเรียน ............................................................................................................................................................... ชื่อครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ : แบบเรียนหลัก 1. เอกสารหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบสืบค้น วิชาชีววิทยา สาระการเรียนรู้ เพิ่มเติม ว 30246 ผู้เขียน นางถนิมาภรณ์ ตั้งตรัยรัตนกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 2. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 3. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ หน่วยการเรียนรู้ : หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DNA หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
  • 3. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม จานวน 6 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 18 ชั่วโมง ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความแปรผันทางพันธุกรรม ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ส่วนขยายของหลักเมนเดล (1) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง ส่วนขยายของหลักเมนเดล (2) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ลักษณะพันธุกรรมบนโครโมโซม ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง พันธุประวัติและการขยายไบโนเมียล ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
  • 4. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30246 ชีววิทยา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล เวลา 3 ชั่วโมง ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิด ความหลากหลายทางชีวภาพ ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายกระบวนการและและความสาคัญของการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล และเขียนข้อ ค้นพบจากผลการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายกระบวนการและความสาคัญของการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดลได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนข้อค้นพบจากผลการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดลได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักความสาคัญของการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดลต่อการพัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ  พันธุศาสตร์ ( Genetics ) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (Inheritance) ในสิ่งมีชีวิต จากบรรพบุรุษไปยังลูกหลานในรุ่นต่อ ๆ ไป  เกรกอร์ เมนเดล ( Gregor Johann Mendel ) นักบวชชาวออสเตรีย และเป็นนักคณิตศาสตร์ ซึ่งได้ทาการสังเกตพบว่าพันธุ์ถั่วลันเตามีลักษณะบางอย่างเหมือนกัน และลักษณะบางอย่างไม่ เหมือนกัน จึงได้ทาการทดลองผสมพันธุ์เกสรแต่ละลักษณะจนได้เมล็ด แล้วนาเมล็ดไปเพาะปลูก จากนั้นทาการสังเกต/บันทึกลักษณะต่าง ๆ ที่ปรากฏของต้นถั่วในแต่ละรุ่นไว้  ถั่วลันเตามีลักษณะที่เหมาะสมในการทดลอง เช่น มีการเจริญเติบโตเร็ว มีความหลากหลายทาง พันธุกรรม (variation) เห็นความแตกต่างกันอย่างชัดเจน มีการปฏิสนธิตนเอง (perfect flower) หรือ self-fertilization เป็นต้น  Mendel ทาการทดลองเป็นระยะเวลา 7 ปี โดย Mendel ใช้คณิตศาสตร์เกี่ยวกับเรื่องโอกาส ความน่าจะเป็น และสถิติมาวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทดลอง แต่กลับไม่มีผู้ใดสนใจงานของ Mendel เนื่องจากการศึกษาชีววิทยาในอดีตไม่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์  Mendel ถึงแก่กรรม 1884 ซึ่งต่อมานักชีววิทยารุ่นหลัง ได้ทาการทดลองผสมพันธุ์ถั่วลันเตาและ พืชชนิดอื่น โดยใช้หลักการวิเคราะห์คล้าย Mendel และได้ผลสอดคล้องกับกฎการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมที่ Mendel ตั้งไว้  กฎการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดล
  • 5. 1. กฎข้อที่ 1 ของเมนเดล คือ การแยกตัวของยีน ( Law of segregation of gene ) 2. กฎข้อที่ 2 ของเมนเดล คือ การรวมกลุ่มกันอย่างเป็นอิสระ ( Law of independent assortment ) 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายกระบวนการและและความสาคัญของการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนข้อค้นพบจากผลการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักความสาคัญของการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดลต่อการ พัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > พันธุกรรมคืออะไร มีกระบวนการถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งได้อย่างไร > ลองยกตัวอย่างการประยุกต์ในหลักการทางพันธุศาสตร์ต่อการดารงชีวิตในปัจจุบัน > นักเรียนคิดว่าลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่งเกิดความ แตกต่างกันได้อย่างไร ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าลักษณะทางพันธุกรรมใดบ้างที่ตัว นักเรียนมีเหมือนพ่อแม่และลักษณะใดบ้างที่มีความแตกต่าง เพราะเหตุใด นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
  • 6. การศึกษากระบวนการถ่ายทอดทางพันธุกรรมในปัจจุบันมีเทคโนโลยีใดบ้างที่เกี่ยวข้อง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล” ว่า  พันธุศาสตร์ ( Genetics ) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (Inheritance) ในสิ่งมีชีวิต จากบรรพบุรุษไปยังลูกหลานในรุ่นต่อ ๆ ไป  เกรกอร์ เมนเดล ( Gregor Johann Mendel ) นักบวชชาวออสเตรีย และเป็นนักคณิตศาสตร์ ซึ่งได้ทาการสังเกตพบว่าพันธุ์ถั่วลันเตามีลักษณะบางอย่างเหมือนกัน และลักษณะบางอย่างไม่ เหมือนกัน จึงได้ทาการทดลองผสมพันธุ์เกสรแต่ละลักษณะจนได้เมล็ด แล้วนาเมล็ดไปเพาะปลูก จากนั้นทาการสังเกต/บันทึกลักษณะต่าง ๆ ที่ปรากฏของต้นถั่วในแต่ละรุ่นไว้  Mendel ทาการทดลองเป็นระยะเวลา 7 ปี โดย Mendel ใช้คณิตศาสตร์เกี่ยวกับเรื่องโอกาส ความน่าจะเป็น และสถิติมาวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทดลอง แต่กลับไม่มีผู้ใดสนใจงานของ Mendel เนื่องจากการศึกษาชีววิทยาในอดีตไม่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์  Mendel ถึงแก่กรรม 1884 ซึ่งต่อมานักชีววิทยารุ่นหลัง ได้ทาการทดลองผสมพันธุ์ถั่วลันเตาและ พืชชนิดอื่น โดยใช้หลักการวิเคราะห์คล้าย Mendel และได้ผลสอดคล้องกับกฎการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมที่ Mendel ตั้งไว้  Mendel จึงได้รับการยกย่องจากนักชีววิทยารุ่นหลังว่าเป็น“ บิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์ ”
  • 7.  ถั่วลันเตาต้นสูงเป็นลักษณะเด่น ( Dominant ) ซึ่งถูกควบคุมโดย ถั่วลันเตาต้นเตี้ยแคระเป็น ลักษณะด้อย ( Recessive ) ซึ่งถูกควบคุมโดย factor คนละตัว การแสดงออกของลักษณะทาง พันธุกรรม คือ ลักษณะเด่นจะข่มลักษณะด้อย 100% ( Complete dominant ) และลักษณะ เด่นจะปรากฏให้เห็นในแต่ละรุ่นเป็นจานวนมาก ต่อมาในปีพ.ศ.2454 โจแฮน เซน ได้เปลี่ยนมา ใช้ gene แทน factor  กฎข้อที่ 1 ของเมนเดล 1. กฎการแยกตัวของยีน ( Law of segregation of gene ) กล่าวว่ายีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆ จะอยู่เป็นคู่เสมอ เมื่อถึงระยะที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ (meiosis) ยีนจะแยกไปอยู่ในสภาพเดี่ยวในเซลล์ สืบพันธุ์ (2nn) เมื่อเกิดการปฏิสนธิเป็นไซโกต (จึงมารวมกันอีก (เข้าคู่ homologous chromosome)
  • 8. 2. กฏการรวมกลุ่มกันอย่างเป็นอิสระ ( Law of independent assortment ) ในการสร้างเซลล์ สืบพันธุ์นั้น ยีนบนโครโมโซมซึ่งอยู่ต่างคู่กัน (ควบคุมลักษณะต่างกัน) จะมีความเป็นอิสระที่จะเข้ารวมตัว กันในเซลล์สืบพันธุ์ (variation) และเป็นอิสระในการเข้ามารวมตัวกันระหว่างการปฏิสนธิ นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับกระบวนการและความสาคัญของ การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล ข้อค้นพบจากผลการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดลอีกทั้งการประยุกต์ใช้ใน การศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการและความสาคัญของการศึกษา พันธุศาสตร์ของเมนเดล ข้อค้นพบจากผลการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดลอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษา ชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบสืบค้น วิชาชีววิทยา สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ว 30246 ผู้เขียน นางถนิมาภรณ์ ตั้งตรัยรัตนกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล: google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล: youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล
  • 9. 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 10. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30246 ชีววิทยา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม เรื่อง ความแปรผันทางพันธุกรรม เวลา 3 ชั่วโมง ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิด ความหลากหลายทางชีวภาพ ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายกระบวนการและและความสาคัญของความแปรผันทางพันธุกรรม และเขียน เปรียบเทียบความแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่องและแบบไม่ต่อเนื่อง 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายกระบวนการและความสาคัญของความแปรผันทางพันธุกรรมได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนเปรียบเทียบความแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่องและแบบไม่ต่อเนื่องได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักความสาคัญของการศึกษาความแปรผันทางพันธุกรรมต่อการพัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ  โครโมโซม (โครมาทิน = DNA + histone protein : nucleosome) อยู่ภายในนิวเคลียสของ เซลล์สิ่งมีชีวิต (พบระหว่างที่เซลล์เกิดกระบวนการแบ่งตัว) ในโครโมโซมมีสารพันธุกรรม เรียกว่า DNA (Deoxyribonucleic acid : polynucleotide)  คุณลักษณะบางประการที่สาคัญที่สุดของสิ่งมีชีวิต คือ กระบวนการสืบพันธุ์ (reproduction : sexual or asexual) ในเซลล์สืบพันธุ์ (sperm and egg cell) มีสารพันธุกรรมที่ถ่ายทอด ลักษณะของพ่อและแม่ไปสู่ลูก ทาให้ลูกมีลักษณะคล้ายกับพ่อแม่หรือบรรพบุรุษ (genetic variation)  เซลล์สืบพันธุ์ของพ่อและแม่ถูกสร้างขึ้นจากการแบ่งเซลล์แบบ Meiosis ภายในเซลล์สืบพันธุ์จะมี โครโมโซมอยู่ซึ่งมียีนลักษณะเฉพาะ อยู่บนโครโมโซมทาให้เกิดการถ่ายทอดไปพร้อมกัน  ความแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation) สามารถจาแนกได้ 2 ประเภท 1. ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation) เป็น ลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจนเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์ เพียงอย่างเดียว เรียกลักษณะแบบนี้ว่า ลักษณะทางคุณภาพ (qualitative trait) 2. ความผันแปรทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (continuous variation) เป็นลักษณะทาง พันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด เช่น ความสูง น้าหนัก โครงร่าง สีผิว เป็นต้น ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์ที่มียีนหลายตาแหน่งควบคุม และสิ่งแวดล้อมร่วมกัน
  • 11. 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายกระบวนการและและความสาคัญของความแปรผันทางพันธุกรรม ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนเปรียบเทียบความแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่องและแบบไม่ ต่อเนื่อง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักความสาคัญของการศึกษาความแปรผันทางพันธุกรรมต่อการ พัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > เพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตจึงมีความหลากหลายทางชีวภาพในปัจจุบัน > กระบวนการแบ่งเซลล์มีความเกี่ยวข้องกับความแปรผันทางพันธุกรรมอย่างไร > นักเรียนคิดว่าความแปรผันทางพันธุกรรมส่งผลกระทบอย่างไรบ้างต่อกระบวนการดารงชีวิต ของสิ่งมีชีวิต ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าสาเหตุสาคัญใดบ้างที่ส่งผลให้สิ่งมีชีวิต เกิดความแปรผันทางพันธุกรรม นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น ความแปรผันทางพันธุกรรมมีกระบวนการเกิดอย่างไร เราสามารถแบ่งออกเป็นกี่แบบ อะไรบ้าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ความแปรผันทางพันธุกรรม” ว่า
  • 12.  โครโมโซม (โครมาทิน = DNA + histone protein : nucleosome) อยู่ภายในนิวเคลียสของ เซลล์สิ่งมีชีวิต (พบระหว่างที่เซลล์เกิดกระบวนการแบ่งตัว) ในโครโมโซมมีสารพันธุกรรม เรียกว่า DNA (Deoxyribonucleic acid : polynucleotide)  คุณลักษณะบางประการที่สาคัญที่สุดของสิ่งมีชีวิต คือ กระบวนการสืบพันธุ์ (reproduction : sexual or asexual) ในเซลล์สืบพันธุ์ (sperm and egg cell) มีสารพันธุกรรมที่ถ่ายทอด ลักษณะของพ่อและแม่ไปสู่ลูก ทาให้ลูกมีลักษณะคล้ายกับพ่อแม่หรือบรรพบุรุษ (genetic variation)  เซลล์สืบพันธุ์ของพ่อและแม่ถูกสร้างขึ้นจากการแบ่งเซลล์แบบ Meiosis ภายในเซลล์สืบพันธุ์จะมี โครโมโซมอยู่ซึ่งมียีนลักษณะเฉพาะ อยู่บนโครโมโซมทาให้เกิดการถ่ายทอดไปพร้อมกัน
  • 13.  ความแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation) สามารถจาแนกได้ 2 ประเภท 1. ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation) เป็นลักษณะ ทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจนเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์เพียง อย่างเดียว เรียกลักษณะแบบนี้ว่า ลักษณะทางคุณภาพ (qualitative trait) เช่น มีลักยิ้ม - ไม่มี ลักยิ้ม มีติ่งหู -ไม่มีติ่งหู ห่อลิ้นได้ - ห่อลิ้นไม่ได้ เป็นต้น 2. ความผันแปรทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (continuous variation) เป็นลักษณะทาง พันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด เช่น ความสูง น้าหนัก โครงร่าง สีผิว เป็นต้น ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์ที่มียีนหลายตาแหน่งควบคุม และสิ่งแวดล้อมร่วมกัน เช่น ความสูงถ้าได้รับสารอาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการและมีการออกกาลังกายก็จะทาให้มี ร่างกายสูงได้ ลักษณะที่แตกต่างกันมีการกระจายตัวแบบต่อเนื่อง สามารถเขียนเป็นกราฟรูปโค้ง ปกติได้ ซึ่งเรียกลักษณะแบบนี้ว่า ลักษณะทางปริมาณ (quantitative trait) นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับกระบวนการและ ความสาคัญของความแปรผันทางพันธุกรรม การเปรียบเทียบลักษณะที่แตกต่างกันระหว่างความแปรผันทาง พันธุกรรมแบบต่อเนื่องและแบบไม่ต่อเนื่องอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการและความสาคัญของความแปรผัน
  • 14. ทางพันธุกรรม การเปรียบเทียบลักษณะที่แตกต่างกันระหว่างความแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่องและ แบบไม่ต่อเนื่องอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบสืบค้น วิชาชีววิทยา สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ว 30246 ผู้เขียน นางถนิมาภรณ์ ตั้งตรัยรัตนกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง ความแปรผันทางพันธุกรรม: google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ความแปรผันทางพันธุกรรม: youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ความแปรผันทางพันธุกรรม 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 15. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302446 ชีววิทยา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม เรื่อง ส่วนขยายของหลักเมนเดล (1) เวลา 6 ชั่วโมง ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิด ความหลากหลายทางชีวภาพ ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมายและและความสาคัญของส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดล และเขียน แสดงรูปแบบการถ่ายทอดพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่เป็นส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดล 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนรูปแบบแสดงลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักความสาคัญของการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลต่อการ พัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ  การข่มแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant) คือ การแสดงออกของ gene ที่เป็น gene เด่นไม่สามารถข่ม gene ด้อยได้อย่างสมบูรณ์ ทาให้มีการแสดงออกของ gene ทั้งสองแบบเป็น ผสมกันหรือเป็นแบบกลางๆ ระหว่างสองลักษณะ เช่น สีดอกลิ้นมังกร  มัลติเพิลแอลลีล (Multiple alleles) คือ การที่ยีน (Gene) 1 โลคัส (Locus) มีจานวนของแอล ลีล (Allele) มากกว่า 2 แบบ เช่น ในหมู่เลือดระบบ ABO มีจานวนของแอลลีล (Allele)อยู่ 3 แบบ คือ IA , IB และ i  การข่มร่วมกัน (CO – dominant) การถ่ายทอดนี้ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล ยีนทั้งสองที่ ควบคุมลักษณะจะไม่ข่มซึ่งกันและกันแต่สามารถแสดงความเด่นได้ เท่าๆกันจึงปรากฏลักษณะ ออกมาร่วมกัน  พอลิยีน (polygenes) หมายถึง กลุ่มของยีนหรือยีนหลาย ๆ คู่ที่กระจายอยู่บนโครโมโซมคู่ เดียวกันหรือต่างคู่กัน ต่างทาหน้าที่ร่วมกันในการควบคุมลักษณะพันธุกรรมหนึ่ง ๆ ของสิ่งมีชีวิต  ปฏิกิริยาการข่มของยีนต่างตาแหน่ง (epistasis) คือ การเกิดปฏิกิริยาร่วมระหว่างยีนที่อยู่คนละ ตาแหน่ง (locus) ซึ่งมีผลให้ยีนจากตาแหน่งหนึ่งไปเปลี่ยนแปลงอิทธิพลของยีน ณ อีกตาแหน่ง หนึ่งได้ ซึ่งอาจเกิดขึ้นระหว่างยีนจาก 2 ตาแหน่งหรือมากกว่าก็ได้ ที่ควบคุมลักษณะปรากฎ (phenotype) เดียวกัน ยีนที่ข่มตัวอื่นเรียกว่า epistatic gene ส่วนยีนที่ถูกข่ม เรียกว่า “hypostatic gene”
  • 16.  ลีทัลจีน (lethal gene) เป็นจีนที่ทาให้เกิดความผิดปกติในการเจริญของเอมบริโอ มีผลทาให้ เอมบริโอตายก่อน จะทาการสืบพันธุ์ได้เมื่ออยู่ในสภาพฮอมอไซโกตหรือเมื่ออยู่ในสภาพเฮเทอโร ไซโกต อาจจะแสดงออกหรือไม่ก็ได้ ลีทัลจีน อาจแสดงเป็นลักษณะเด่นหรือด้อยก็ได้ แต่พวกที่มี ลักษณะเด่นมักจะทาให้สิ่งมีชีวิตที่มีจีนนั้นตายไปทันที จีนนี้เมื่อเกิดขึ้นจึงไม่มีโอกาสถูกถ่ายทอด ไปสู่รุ่นลูกต่อไปได้ 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมายและความสาคัญของส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดล ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนรูปแบบที่แสดงถึงลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลัก พันธุศาสตร์เมนเดล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักความสาคัญของการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมในส่วน ขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลต่อการพัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นไปตามหลักของเมนเดล หมายถึงอะไร > กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตแต่ละเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไรบ้าง
  • 17. > นักเรียนคิดว่ามีลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตแบบใดบ้างที่ไม่เป็นไปตาม หลักของเมนเดล ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตจึงต้องมีลักษณะ การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบางอย่างไม่เป็นไปตามหลักของเมนเดล นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น นักเรียนคิดว่าลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมบางอย่างไม่เป็นไปตามหลักของเมนเดลปัจจุบันมีอะไรบ้าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ส่วนขยายของหลักเมนเดล (1)” ว่า  การข่มแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant) คือ การแสดงออกของ gene ที่เป็น gene เด่นไม่สามารถข่ม gene ด้อยได้อย่างสมบูรณ์ ทาให้มีการแสดงออกของ gene ทั้งสองแบบเป็น ผสมกันหรือเป็นแบบกลางๆ ระหว่างสองลักษณะ เช่น สีดอกลิ้นมังกร  เมื่อนาดอกลิ้นมังกรรุ่น ลูก F1 สีชมพู 2 ต้นมาผสมกันจะได้รุ่นลูก F2 อัตราส่วนฟีโนไทป์ คือ ดอกสีขาว : ดอกสีชมพู : ดอกสีแดง เท่ากับ 1 : 2 : 1 (ซึ่งเท่ากับอัตราส่วนจีโนไทป์)  ตัวอย่างลักษณะการข่มแบบไม่สมบูรณ์ เช่น ลักษณะเส้นผมของมนุษย์
  • 18.  มัลติเพิลแอลลีล ( Multiple alleles ) คือ การที่ยีน (Gene) 1 โลคัส (Locus) มีจานวนของแอล ลีล (Allele) มากกว่า 2 แบบ เช่น ในหมู่เลือดระบบ ABO มีจานวนของแอลลีล (Allele)อยู่ 3 แบบ คือ IA , IB และ i  การคานวณจีโนไทป์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดในมัลติเปิลแอลลีล ขึ้นอยู่กับจานวนแอลลีลที่มีอยู่ในยีน นั้น เช่น ถ้าจานวนแอลลีลในยีนที่เราสนใจศึกษาประกอบด้วย 4 แอลลีล คือ A1 , A2 , A3 , A4 จานวนจีโนไทป์ทั้งหมด = ½ n (n+1)เมื่อ n = จานวนแอลลีลที่มีอยู่ทั้งหมดในยีนที่สนใจ = 10 จีโนไทป์ ได้แก่ จีโนไทป์ A1A1 , A1A2 , A1A3 , A1A4 ,A2A2 , A2A3 , A2A4 ,A3A3 , A3A4 และ A4A4  การข่มร่วมกัน (CO – dominant) การถ่ายทอดนี้ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล ยีนทั้งสองที่ ควบคุมลักษณะจะไม่ข่มซึ่งกันและกันแต่สามารถแสดงความเด่นได้ เท่าๆกันจึงปรากฏลักษณะ ออกมาร่วมกัน
  • 19.  ตัวอย่างลักษณะการข่มร่วมกัน เช่น ลักษณะหมู่เลือดเอ็มเอ็นในมนุษย์ นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ ส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดล รูปแบบที่แสดงถึงลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลักพันธุ ศาสตร์เมนเดลอีกทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของส่วนขยายของ หลักพันธุศาสตร์เมนเดล รูปแบบที่แสดงถึงลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลอีก ทั้งการประยุกต์ใช้ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบสืบค้น วิชาชีววิทยา สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ว 30246 ผู้เขียน นางถนิมาภรณ์ ตั้งตรัยรัตนกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 20. 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง ส่วนขยายของหลักเมนเดล: google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ส่วนขยายของหลักเมนเดล: youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ส่วนขยายของหลักเมนเดล 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 21. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302446 ชีววิทยา 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม เรื่อง ส่วนขยายของหลักเมนเดล (2) เวลา 6 ชั่วโมง ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิด ความหลากหลายทางชีวภาพ ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมายและและความสาคัญของส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดล และเขียน แสดงรูปแบบการถ่ายทอดพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่เป็นส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดล 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนรูปแบบแสดงลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักความสาคัญของการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลต่อการ พัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ  การข่มแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant) คือ การแสดงออกของ gene ที่เป็น gene เด่นไม่สามารถข่ม gene ด้อยได้อย่างสมบูรณ์ ทาให้มีการแสดงออกของ gene ทั้งสองแบบเป็น ผสมกันหรือเป็นแบบกลางๆ ระหว่างสองลักษณะ เช่น สีดอกลิ้นมังกร  มัลติเพิลแอลลีล (Multiple alleles) คือ การที่ยีน (Gene) 1 โลคัส (Locus) มีจานวนของแอล ลีล (Allele) มากกว่า 2 แบบ เช่น ในหมู่เลือดระบบ ABO มีจานวนของแอลลีล (Allele)อยู่ 3 แบบ คือ IA , IB และ i  การข่มร่วมกัน (CO – dominant) การถ่ายทอดนี้ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล ยีนทั้งสองที่ ควบคุมลักษณะจะไม่ข่มซึ่งกันและกันแต่สามารถแสดงความเด่นได้ เท่าๆกันจึงปรากฏลักษณะ ออกมาร่วมกัน  พอลิยีน (polygenes) หมายถึง กลุ่มของยีนหรือยีนหลาย ๆ คู่ที่กระจายอยู่บนโครโมโซมคู่ เดียวกันหรือต่างคู่กัน ต่างทาหน้าที่ร่วมกันในการควบคุมลักษณะพันธุกรรมหนึ่ง ๆ ของสิ่งมีชีวิต  ปฏิกิริยาการข่มของยีนต่างตาแหน่ง (epistasis) คือ การเกิดปฏิกิริยาร่วมระหว่างยีนที่อยู่คนละ ตาแหน่ง (locus) ซึ่งมีผลให้ยีนจากตาแหน่งหนึ่งไปเปลี่ยนแปลงอิทธิพลของยีน ณ อีกตาแหน่ง หนึ่งได้ ซึ่งอาจเกิดขึ้นระหว่างยีนจาก 2 ตาแหน่งหรือมากกว่าก็ได้ ที่ควบคุมลักษณะปรากฎ (phenotype) เดียวกัน ยีนที่ข่มตัวอื่นเรียกว่า epistatic gene ส่วนยีนที่ถูกข่ม เรียกว่า “hypostatic gene”
  • 22.  ลีทัลจีน (lethal gene) เป็นจีนที่ทาให้เกิดความผิดปกติในการเจริญของเอมบริโอ มีผลทาให้ เอมบริโอตายก่อน จะทาการสืบพันธุ์ได้เมื่ออยู่ในสภาพฮอมอไซโกตหรือเมื่ออยู่ในสภาพเฮเทอโร ไซโกต อาจจะแสดงออกหรือไม่ก็ได้ ลีทัลจีน อาจแสดงเป็นลักษณะเด่นหรือด้อยก็ได้ แต่พวกที่มี ลักษณะเด่นมักจะทาให้สิ่งมีชีวิตที่มีจีนนั้นตายไปทันที จีนนี้เมื่อเกิดขึ้นจึงไม่มีโอกาสถูกถ่ายทอด ไปสู่รุ่นลูกต่อไปได้ 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมายและความสาคัญของส่วนขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดล ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนรูปแบบที่แสดงถึงลักษณะทางพันธุกรรมในส่วนขยายของหลัก พันธุศาสตร์เมนเดล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักความสาคัญของการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมในส่วน ขยายของหลักพันธุศาสตร์เมนเดลต่อการพัฒนาด้านเทคโนโลยีทางชีวภาพ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นไปตามหลักของเมนเดล หมายถึงอะไร > กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตแต่ละเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไรบ้าง
  • 23. > นักเรียนคิดว่ามีลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตแบบใดบ้างที่ไม่เป็นไปตาม หลักของเมนเดล ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตจึงต้องมีลักษณะ การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบางอย่างไม่เป็นไปตามหลักของเมนเดล นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น นักเรียนคิดว่าลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมบางอย่างไม่เป็นไปตามหลักของเมนเดลปัจจุบันมีอะไรบ้าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ส่วนขยายของหลักเมนเดล (2)” ว่า  ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตมีมากมาย แต่มิใช่ว่า แต่ละลักษณะจะต้องถูกควบคุมโดยยีน เพียงคู่เดียวเสมอไป บางลักษณะถูกควบคุมด้วยยีนหลายคู่ เช่น ความสูงของคน สีผิวของคน น้าหนักและขนาดของผลไม้ เป็นต้น ลักษณะเหล่านี้เป็นลักษณะที่มีความแปรผันต่อเนื่อง การศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมเหล่านี้จะต้องอาศัยวิเคราะห์ข้อมูลจากการวัดขนาด การชั่ง น้าหนัก และการคานวณต่างๆ จึงเรียกลักษณะแบบนี้ว่า ลักษณะทางปริมาณ (quantitative trait หรือ metric trait) ยีนที่ควบคุมลักษณะแบบนี้เรียกว่า พอลิยีน (polygene) หรือ มัลติเปิล ยีน (multiple gene) ซึ่งอาจมีตั้งแต่ 2 ถึง 40 คู่ และอาจอยู่บนโครโมโซมคู่เดียวกันหรือกระจัด กระจายอยู่บนโครโมโซมหลายคู่ การแสดงออกของลักษณะที่ควบคุมโดยพอลิยีนนี้มักแปรผันไป ตามอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม  ตัวอย่างหนึ่งของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยพอลิยีน คือสีของเมล็ดข้าว สาลี ซึ่งมียีนควบคุม 3 คู่ ถ้ากาหนดให้ R1 R2 R3 เป็นยีนที่ทาให้เมล็ดข้าวสาลีมีสีแดงส่วนแอลลีล ของยีนเหล่านี้ คือ r1 r2 และ r3 เป็นยีนที่ทาให้เมล็ดข้าวสาลีไม่มีสี ยีนที่ควบคุมการมีสีหรือไม่มี สีจะแสดงออกได้เท่าๆกัน ดังนั้นเมล็ดข้าวสาลีที่มีจีโนไทป์ r1 r1 r2 r2 r3r3 จะแสดงลักษณะ เมล็ดสีขาว ส่วนพวกที่มีจีโนไทป์ R1R1 R2R2 R3R3 จะแสดงลักษณะเมล็ดสีแดงเข้ม ถ้าจีโนไทป์ มียีนควบคุมสีแดงจานวนมากขึ้น สีของเมล็ดจะเข้มขึ้นเป็นลาดับ
  • 24.  ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยพอลิยีน ยีนแต่ละคู่แสดงผลแบบบวกสะสม (additive effect) ถ้ากาหนดให้ยีน 3 ตาแหน่งจะได้สัดส่วนทาง ฟีโนไทป์ ของลูกรุ่น F2 คือ 1/64 , 6/64 , 15/64 20/64 , 15/64 , 6/64 1/64 ตามลาดับ  ปฏิกิริยาการข่มของยีนต่างตาแหน่ง (epistasis) คือ การเกิดปฏิกิริยาร่วมระหว่างยีนที่อยู่คนละ ตาแหน่ง (locus) ซึ่งมีผลให้ยีนจากตาแหน่งหนึ่งไปเปลี่ยนแปลงอิทธิพลของยีน ณ อีกตาแหน่ง หนึ่งได้ ซึ่งอาจเกิดขึ้นระหว่างยีนจาก 2 ตาแหน่งหรือมากกว่าก็ได้ ที่ควบคุมลักษณะปรากฎ (phenotype) เดียวกัน ยีนที่ข่มตัวอื่นเรียกว่า epistatic gene ส่วนยีนที่ถูกข่ม เรียกว่า “hypostatic gene”  ประเภทของ Epistasis 1. Complementary epistasis : ต้องการผลิตผลที่สร้างจากยีนทั้งสองตาแหน่งเพื่อการแสดง phenotype เช่น หงอนไก่ หรือ non epistatic interaction
  • 25. 2. Recessive epistasis : ควบคุมด้วยยีน 2 คู่ โดย homozygous recessive ของยีนตาแหน่ง หนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตาแหน่งหนึ่งได้ เช่น สีขนแมว 3. Dominant epistasis : ควบคุมด้วยยีน 2 คู่ โดย dominance allele ของตาแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตาแหน่งหนึ่งได้ เช่น สีขนแกะ 4. Duplicate recessive epistasis : ยีนทั้ง 2 ตาแหน่ง ทาให้เกิด phenotype ที่เหมือนกัน แต่ homozygous recessive genotype ของยีนตาแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีก ตาแหน่งหนึ่งได้เช่นเดียวกันกับ recessive epistasis ทั่วไป เช่น ยีนที่ควบคุมลักษณะขน กามะหยี่ของกระต่าย 5. Duplicate dominant epistasis : ยีนทั้ง 2 ตาแหน่ง ทาให้เกิด phenotype ที่เหมือนกัน แต่ dominant allele ของตาแหน่งหนึ่ง สามารถข่มการแสดงออกของยีนอีกตาแหน่งหนึ่งได้ เช่นเดียวกันกับ dominant epistasis ทั่วไป เช่น ยีนที่ควบคุมลักษณะหน้าสีขาวของวัวแบบ Simmental และ แบบ Hereford  ลีทัลจีน (lethal gene) เป็นจีนที่ทาให้เกิดความผิดปกติในการเจริญของเอมบริโอ มีผลทาให้ เอมบริโอตายก่อน จะทาการสืบพันธุ์ได้เมื่ออยู่ในสภาพฮอมอไซโกตหรือเมื่ออยู่ในสภาพเฮเทอโร