SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 29
Downloaden Sie, um offline zu lesen
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
7 กรกฎาคม 2561
By Daniel H. Pink
Penguin Putnam Inc. U.S.A.
Jan 9, 2018
When: The Scientific Secrets of Perfect Timing breaks down the science of time
so you can stop guessing when to do things and pick the best times to work,
eat, sleep, have your coffee and even quit your job.
เกี่ยวกับผู้ประพันธ์
 Daniel H. Pink เป็นผู้เขียนหนังสือที่สร้างกาลังใจ
หกเล่ม รวมทั้งหนังสือที่ขายดีเป็นเวลานานของ
New York Times คือ A Whole New Mind และ
หนังสือที่ขายดีที่สุดอันดับ 1 คือ Drive และ To
Sell is Human
 หนังสือของเขาได้รับรางวัลหลายรางวัล และ
ได้รับการแปลถึง 35 ภาษา
 เขาอาศัยอยู่ใน Washington, DC กับภรรยาและ
ลูกสามคน
เกริ่นนา
 ทุกคนรู้ดีว่า เวลาเป็นทุกอย่าง แต่เราไม่รู้เกี่ยวกับเรื่องของเวลา
 ชีวิตของเรา มีเรื่องให้ตัดสินใจที่ไม่เคยสิ้นสุด เช่น เริ่มต้นธุรกิจ
กาหนดเวลาเรียน และเรื่องที่จริงจังของบุคคล ถึงกระนั้น เราก็
ตัดสินใจตามพื้นฐานของสัญชาตญาณและการคาดเดา
 เวลา มักจะสันนิษฐานว่าเป็นศิลปะ ในหนังสือเล่มนี้ Pink แสดง
ให้เห็นว่า เวลาเป็นวิทยาศาสตร์
รูปแบบของวัน
 จากงานวิจัยที่หลากหลายของนักจิตวิทยา ชีววิทยา และ
เศรษฐศาสตร์ Pink แสดงให้เห็นถึงวิธีการที่ดีที่สุด ในการใช้ชีวิต
ในการทางาน และในการประสบความสาเร็จ
 เราจะใช้รูปแบบในแต่ละวัน เพื่อสร้างตารางเวลาที่เหมาะได้
อย่างไร? ทาไมการหยุดพัก จึงช่วยปรับปรุงคะแนนการทดสอบ
ของนักเรียนได้ดีขึ้น? เราจะเปลี่ยนจุดเริ่มต้นที่สะดุด ให้เป็น
จุดเริ่มต้นใหม่ได้อย่างไร? ทาไมเราควรหลีกเลี่ยงที่จะไป
โรงพยาบาลในช่วงบ่าย? ทาไมต้องฝึกหัดร้องเพลงกับคนอื่น?
และเมื่อใดคือช่วงเวลาที่เหมาะที่จะลาออกจากงาน เปลี่ยนอาชีพ
หรือแต่งงาน?
เมื่อใด?
 เมื่อพูดถึงการวางแผนเพื่อความสาเร็จ เรามักมุ่งเน้นไปที่ อะไร
และ อย่างไร (what and how ) เช่น เมื่อเรากาหนดเป้ าหมายการ
ออกกาลังกาย เราจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับการออกกาลังกายที่
เราจะทา หรือวางแผนการชาระหนี้ ว่าจะทาอย่างไร
 แต่การประสบความสาเร็จใด ๆ ไม่ได้เป็นเพียงการตัดสินใจโดย
อะไรหรืออย่างไร แต่เป็น เมื่อใด (when) ด้วย
การศึกษาของนักสังคมวิทยา
 ในหนังสือเล่มนี้ เขาอ้างถึงการศึกษาที่สาคัญโดยนักสังคมวิทยา
ของ Cornell University สองคน ที่ตรวจสอบ 500 ล้านทวีต โดย
ผู้ใช้ 2.4 ล้านคนใน 84 ประเทศ ในช่วงสองปี เพื่อวัดอารมณ์
ของผู้คนในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ
 พวกเขาพบรูปแบบที่สอดคล้องกันอย่างน่าทึ่งของคน ทัศนคติใน
แง่ดี และการมีส่วนร่วมของทวีตเตอร์ (โดยทั่วไปจะเพิ่มขึ้น
ในช่วงเช้า ลดลงในช่วงบ่าย และเพิ่มขึ้นอีกครั้งในช่วงตอนเย็น)
รูปแบบประจาวันที่ซ่อนอยู่
 Pink กล่าวว่า "จากการศึกษาข้ามทวีปและโซนเวลา สามารถ
คาดการณ์ได้ เหมือนกับการแกว่งตัวในแต่ละวันของกระแสน้า
ในมหาสมุทรคือ ยอดสูงสุด เป็นแอ่ง และการฟื้ นตัว (a peak, a
trough and a rebound)"
 กล่าวได้ว่า อารมณ์ของเราไม่คงที่ตลอดทั้งวัน เรามีประสิทธิผล
และสร้างสรรค์ในบางช่วงเวลาของวัน
รูปแบบประจาวันที่ซ่อนอยู่
 จากการสารวจในอังกฤษ แสดงให้เห็นว่า ผู้ปฏิบัติงานทั่วไปเมื่อ
ถึงช่วงเวลา 2.55 น. จะมีผลผลิตน้อยที่สุดของวัน
 ในทานองเดียวกัน เด็กนักเรียนชาวเดนมาร์กที่เข้ารับการสอบ
ในช่วงบ่าย มีคะแนนต่ากว่าผู้ที่ได้รับการทดสอบในตอนเช้า
 เราทุกคนทาตามรูปแบบโดยไม่รู้ตัว แต่ถ้าเรารู้ตัวว่า เมื่อใดที่เรา
อยู่จุดสูงสุดหรือต่าสุด เราสามารถสร้างช่วงเวลาที่เหมาะกับเรา
ได้ดีขึ้น
กาแฟในตอนบ่าย
 การงีบหลับ ไปเดินเล่น และหยุดพัก (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พัก
กลางวัน) ไม่ได้เป็นการเสียเวลา
 เวลาที่ดีที่สุดที่จะดื่มกาแฟตามที่ผู้เขียนแนะนา ไม่ได้เป็นสิ่งแรก
ในตอนเช้า แต่เป็นหลังจากที่คุณตื่นขึ้นหนึ่งชั่วโมงหรือ 90 นาที
 จากนั้น การผลิต cortisol ของคุณจะเพิ่มขึ้น และคาเฟอีนจะ
ทางานได้อย่างมหัศจรรย์
3 บทเรียนจากหนังสือ
 การรู้เรื่องเกี่ยวกับเวลา จะช่วยให้คุณจัดการชีวิตได้ดีขึ้นโดย
 1. รู้วงรอบอารมณ์ ที่ทางานเหมือนกันทุกวัน
 2. รู้เวลาที่คุณ "พร้อมสุด (tick)" จะช่วยให้คุณทางานได้ดีที่สุด
 3. การหยุดพักหรือการงีบช่วงบ่าย ไม่ได้เป็นอุปสรรค แต่ยังช่วย
ประหยัดเวลาอีกด้วย
1. เรามีรูปแบบอารมณ์ของแต่ละคนที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน
 จากการศึกษาโดย Cornell University ที่วิเคราะห์ 500 ล้านของ
การ tweets พบรูปแบบเวลาดังนี้
 สูงสุดตอนเช้า (Morning peak) ผู้คนส่วนใหญ่จะรู้สึกดีในตอนเช้า
ไม่ว่าจะเป็นหลังจากตื่นนอน หรืออีก 1-2 ชั่วโมงต่อมา
 หย่อนช่วงบ่าย (Afternoon trough) คุณรู้ไหมว่ามันยากที่จะตื่นตัว
หลังอาหารกลางวัน
 ฟื้ นตัวยามค่าคืน (Evening rebound) เมื่อคุณผ่านการทางานไป
แล้ว แม้ในวันที่ยากที่สุด คุณสามารถฟื้ นตัวได้
สามช่วงเวลาของวัน
 อารมณ์และประสิทธิภาพการทางานมีสามขั้นตอนในแต่ละวันคือ
สูงสุด หย่อนลง และฟื้ นตัว (a peak, trough and recovery)
 ช่วงสูงสุด อารมณ์และประสิทธิภาพจะเพิ่มขึ้น เวลานี้ เหมาะ
สาหรับงานวิเคราะห์ที่ต้องการความสนใจเป็นพิเศษ ช่วงหย่อน
ตัวเกิดขึ้นประมาณเจ็ดชั่วโมงหลังจากที่ตื่นขึ้นมา อารมณ์และ
ประสิทธิภาพจะลดลง ดังนั้นจึงเป็นเวลาที่ดีที่สุดสาหรับการ
บริหารงาน แต่ในระหว่างการฟื้ นตัว อารมณ์จะยกระดับขึ้ นอีก
ครั้ง เป็นเวลาที่ดีสาหรับงานสร้างสรรค์ เช่นการระดมความคิด
ในแต่ละวัน
 ไม่ว่าอายุ เชื้อชาติ เพศ และสัญชาติ เราทุกคนต่างก็เจอรูปแบบ
นี้ ในแต่ละวัน
 Daniel Kahneman ผู้ได้รับรางวัลโนเบล ประพันธ์เรื่อง Thinking
Fast and Slow ยืนยันเรื่องนี้ ด้วย Day Reconstruction Method
 นี่เป็นข้อสรุป สาหรับวิธีการที่เราควรดาเนินการเกี่ยวกับวันของ
เรา เป็นรูปแบบที่ดีในการรับมือกับอารมณ์ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
2. รู้ถึงนาฬิกาในตัวของคุณ เพื่อให้ได้ผลงานที่ดีที่สุด
 การรู้วัฏจักรชีวิตประจาวันของเรา ทาให้เราสามารถเรียนรู้
เกี่ยวกับตัวเราได้มากขึ้น ถ้าได้รวมกับ จังหวะการทางานของเรา
(our circadian rhythm)
 เมื่อเวลาผ่านไป เราจะมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า เมื่อใดที่เรา
มีความคิดฟุ้ งซ่านหรือตกต่า เช่น "ฉันไม่สามารถลุกขึ้ นก่อน 7
โมงเช้า" "ฉันเป็นพวกนกฮูกกลางคืน" หรือ "ฉันชอบตื่นเช้ามืด"
เป็นสิ่งที่เราเคยพูด หรือได้ยินมาก่อน
เวลาของชีวิต
 "Chronobiology" คือการศึกษาเวลาในสิ่งมีชีวิต และการปรับตัว
ให้เข้ากับจังหวะที่เกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตย์และดวงจันทร์
 การทาความเข้าใจเกี่ยวกับ "นาฬิกาในตัว (chronotype)" หรือ
จังหวะทางชีวภาพ (biological rhythm) ของคุณ เป็นขั้นตอนแรก
ในการทาความเข้าใจว่า คุณควรทาอะไร และช่วงเวลาใด
 ตัวอย่างเช่น การล้างมือในโรงพยาบาลจะลดลงอย่างมากในช่วง
บ่าย แพทย์มีแนวโน้มที่จะสั่งยาปฏิชีวนะผิดในตอนบ่าย และ
ข้อผิดพลาดในการดมยาระงับความรู้สึก มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น
ในเวลาบ่ายสามโมงมากกว่าเวลา 9.00 น
เวลาของชีวิต
 นาฬิกาในตัว (chronotype) แบ่งได้เป็นสามชนิดคือ
 1. The lark คนที่ชอบที่จะตื่นแต่เช้ามืด และมีระดับความรู้สึก
ทางอารมณ์ก่อนคนอื่น ๆ หลายชั่วโมง
 2. The owl ถ้าคุณไม่ชอบตื่นแต่เช้า แต่สามารถทางานได้ดีตอน
21.00 น. เป็นต้นไป นั่นคือคุณ
 3. The third bird ผู้คนส่วนใหญ่ ที่ไม่ช้าหรือเร็ว และทาตาม
รูปแบบมาตรฐาน
ประเภทของนก
 การวิจัยแสดงให้เห็นว่า ประมาณสองในสามของคนเราคือคน
ตอนเช้า (larks) ในขณะที่ส่วนที่เหลือมีประสิทธิผลมากขึ้ นใน
ตอนท้ายของวัน (owls)
 larks ควรทางานสาคัญในตอนเช้า ในขณะที่ owls อาจต้องการ
ทางานตอนดึก
 ไม่ว่าคุณจะทาแบบไหน การทาสิ่งที่น่าเบื่อ ควรเป็นช่วงบ่าย!
3. หยุดพักบ่อย ๆ และ nappuccinos จะช่วยให้คุณประหยัดเวลา
 ความตระหนักของสาธารณชนเกี่ยวกับสุขภาพ ได้เพิ่มขึ้นอย่าง
มากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ดังนั้น มุมมองที่ว่าการหยุดพักว่าเป็น
การเสียเวลาจึงเป็นสิ่งที่ล้าสมัย แต่ก็ยังแพร่หลายในบริษัทและ
สถาบันที่เก่าแก่บางแห่ง
 การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ที่อยู่เบื้องหลังว่า เราควรจะทางาน
เท่าไหร่ และเราควรจะผ่อนคลายเท่าไหร่ เป็นเรื่องที่น่าแปลกใจ
มาก
การหยุดพักที่สมบูรณ์แบบ
 บริษัท DeskTime ทาการศึกษาโดยใช้ข้อมูลนับล้านจาก
ซอฟต์แวร์ของพวกเขา พบว่า ช่วงเวลาหยุดพักที่เหมาะจะเป็น
17 นาทีสาหรับทุกๆ การทางาน 52 นาที
 นั่นเป็นเวลาหนึ่งชั่วโมง ในทุกสามชั่วโมงที่คุณทางาน!
 แม้ว่าจะเป็นเรื่องง่ายที่จะคิดว่า ไม่มีทางที่จะนาไปสู่ผลลัพธ์ที่ดี
ขึ้นได้ แต่จากการศึกษาพบว่า คุณภาพของงานโดยรวมเพิ่มขึ้น
เมื่อเทียบกับช่วงพักที่สั้นหรือน้อยกว่า
ความสาคัญของการหยุดพัก
 การหยุดพักไม่ได้เป็นสัญญาณของความเฉื่อยชา แต่เป็นการ
แสดงถึงความแข็งแกร่ง
 นักวิจัยกล่าวว่า การพักรับประทานอาหารกลางวัน เป็นการตั้งค่า
การกู้คืนที่สาคัญ เพื่อส่งเสริมสุขภาพและอาชีวอนามัย (นัก
ดับเพลิงกล่าวว่า การรับประทานอาหารด้วยกัน ช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพของทีม)
 การหยุดพัก ควรเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว และว่างจากการ
ทางานหรือการศึกษา พูดคุยเกี่ยวกับหัวข้อที่ไม่เกี่ยวกับการ
ทางานกับคนอื่น ๆ หรือการเดินออกไปข้างนอก
การหยุดพักหลังรับประทานมื้ อเที่ยง
 แม้ว่าเจ้านายของคุณจะไม่ยอมให้ "หยุดพัก" ควรใช้เวลาห้า
นาทีทุกชั่วโมง ในการลุกขึ้นเดินไปรอบ ๆ เดินไปข้างนอกรับ
อากาศบริสุทธิ์และดื่มน้าสักแก้ว สามารถสร้างความแตกต่างใน
การผลิตของคุณได้
 สุดท้ายนี้ Dan แนะนา 'nappuccino' หลังจากรับประทานอาหาร
กลางวัน คือดื่มกาแฟแล้วตั้งเวลาไว้ 20 นาที ใช้เวลาเจ็ดนาทีใน
การเข้าสู่การหลับแล้วตื่นตามเวลาที่ตั้งไว้ คุณจะตื่นขึ้นมาอย่าง
สดชื่นและมีฤทธิ์ของคาเฟอีนที่ส่งผลอย่างเต็มที่
Coffee + Nap = Nappuccino
 หลังดื่มกาแฟ จะใช้เวลาประมาณ 25 นาทีสาหรับคาเฟอีนใน
การเข้าสู่กระแสเลือด ดังนั้นถ้าคุณดื่มกาแฟสักแก้ว จากนั้นงีบ
หลับยาว 25 นาที จะเป็นเทคนิคที่เหมาะสาหรับการงีบหลับและ
เพิ่มสมรรถนะ
 บริษัทบางแห่ง (Uber, Zappos, Nike ... ) ได้สร้างห้องงีบหลับ
สาหรับพนักงานในสานักงานของตน
 การวิจัยหลายชิ้นแสดงให้เห็นว่า การเตรียมพร้อมและผลิตผล
เพิ่มขึ้นหลังจากงีบหลับ นอกจากนี้ การงีบหลับยังเสริมสร้าง
ระบบภูมิคุ้มกันของเราอีกด้วย!
ประโยชน์ของการงีบหลับ
 การงีบหลับเหมาะอย่างยิ่งสาหรับการเพิ่มประสิทธิผลและ
ประสิทธิภาพ โดยปกติจะใช้เวลาระหว่างสิบถึงยี่สิบนาที
 เมื่องีบหลับเป็นเวลานานกว่านั้น เราเริ่มประสบปัญหา "ความ
เฉื่อยชาจากการนอนหลับ (sleep inertia)" จะรู้สึกสับสนและ
เลอะเลือนเมื่อตื่นขึ้ นมา
 ดูเหมือนว่าการงีบหลับเป็นศิลปะ และคุณจาเป็นต้องค้นหาความ
สมดุลที่มีความสุขของคุณ เพียงพอที่จะรู้สึกพักผ่อน แต่ไม่มาก
เกินไปที่จะเข้าสู่ความเฉื่อยชาจากการนอนหลับ
การงีบหลับที่สมบูรณ์แบบ
นี่คือ 5 ขั้นตอนที่คุณสามารถปฏิบัติตามเพื่อการงีบหลับที่สมบูรณ์
แบบ
 1. หาเวลาที่ดีที่สุด โดยปกติประมาณ 7 ชั่วโมงหลังตื่นนอน
 2. สร้างสภาพแวดล้อมที่เงียบสงบ
 3. ดื่มกาแฟสักแก้ว
 4. ตั้งเวลาสาหรับการงีบหลับ ยี่สิบห้านาที
 5. ทาซ้าอย่างต่อเนื่องทุกวัน
Daniel Pink ได้ให้คาแนะนาดังต่อไปนี้ :
 หยุดพักระยะสั้น ๆ (Take micro breaks) การพักระยะสั้น ๆ ป้ องกัน
ไม่ให้เกิดความเคยชิน ช่วยให้เรารักษาความตั้งใจ และมีความมุ่งมั่น
ต่อเป้ าหมายของเราได้อีกครั้ง
 เดินระหว่างช่วงพัก (Move during your break) เดินห้านาที ช่วยเพิ่ม
พลังงาน เพิ่มแรงจูงใจและสมาธิ
 หลายหัวดีกว่าหัวเดียว (Social beats solo) ในอาชีพที่เครียดสูง เช่น
การพยาบาล เพื่อลดความผิดพลาดทางการแพทย์
 ภายนอกดีกว่าภายใน (Outside beats inside) การอยู่ใกล้กับต้นไม้
พืช และแม่น้า เป็นการฟื้ นฟูจิตใจ
 หยุดพักโดยไม่มีเทคโนโลยี (Take a tech free break) การหลุดจาก
การทางานชั่วคราว เพื่อลดความเหนื่อยล้า
สรุป
 คนเรามักใช้ความรู้สึกของเราในการตัดสินใจที่สาคัญหลายอย่าง
เช่นเมื่อต้องการกิน นอนหลับ หรือยกเลิกโครงการ บัดนี้ ในทาง
วิทยาศาสตร์มีคาตอบให้แล้ว
 ในหนังสือเล่มนี้ Pink นาเสนอการวิจัยที่ทันสมัยและมีข้อมูล
เกี่ยวกับจังหวะเวลา เขาได้สังเคราะห์เรื่องราวเหล่านี้ ไว้เป็นเรื่อง
เล่าที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยเรื่องที่ไม่อาจปฏิเสธได้และเป็น
ประโยชน์ ทาให้ผู้อ่านเข้าใจได้ถึงวิธีการที่เราสามารถมีชีวิตที่
สมบูรณ์และอยู่อย่างมีความหมายมากขึ้น
การนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์
 คนเราจะตื่นตัวและมีความสุขในตอนเช้า (People are more alert and
happier in the mornings)
 มีคนสองประเภทที่โดดเด่นคือ นก Larks และนก Owls (There
are two dominant types of people as Larks (morning people)
and Owls (night people)
 ผลงานจะแตกต่างกันไปขึ้นกับช่วง สูงสุด หย่อนลง และ ฟื้ นตัว
(Performance varies drastically in a peak, trough, and recovery phase
of the day)
 การหยุดพัก คือคาตอบสาหรับการมีประสิทธิภาพสูงสุด (Breaks are
the answer to top performance)
 เวลางีบหลับที่เหมาะสมคือ 10 ถึง 20 นาที (The ideal nap length is
10 to 20 minutes!)
Buddha

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie เมื่อใด When

ใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวันใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
pa1705
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Watpadhammaratana Pittsburgh
 

Ähnlich wie เมื่อใด When (14)

ใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวันใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
 
Inc281
Inc281Inc281
Inc281
 
Inc281
Inc281Inc281
Inc281
 
สาเหตุของปัญหาความเครียด
สาเหตุของปัญหาความเครียดสาเหตุของปัญหาความเครียด
สาเหตุของปัญหาความเครียด
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
คู่มือดับทุกข์
คู่มือดับทุกข์คู่มือดับทุกข์
คู่มือดับทุกข์
 
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมองเทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
Brain
BrainBrain
Brain
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
 
วารสาร"พลังใจดี เริ่มที่มนารมย์" ปีที่ 7 ฉบับที่ 17 โรงพยาบาลมนารมย์
วารสาร"พลังใจดี เริ่มที่มนารมย์" ปีที่ 7 ฉบับที่ 17 โรงพยาบาลมนารมย์วารสาร"พลังใจดี เริ่มที่มนารมย์" ปีที่ 7 ฉบับที่ 17 โรงพยาบาลมนารมย์
วารสาร"พลังใจดี เริ่มที่มนารมย์" ปีที่ 7 ฉบับที่ 17 โรงพยาบาลมนารมย์
 
เวลานอนท่หมาะสม
เวลานอนท่หมาะสมเวลานอนท่หมาะสม
เวลานอนท่หมาะสม
 
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐเตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
เตรียมสอบครูผู้ช่วย สพฐ
 

Mehr von maruay songtanin

300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 

Mehr von maruay songtanin (20)

300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

เมื่อใด When

  • 2. By Daniel H. Pink Penguin Putnam Inc. U.S.A. Jan 9, 2018 When: The Scientific Secrets of Perfect Timing breaks down the science of time so you can stop guessing when to do things and pick the best times to work, eat, sleep, have your coffee and even quit your job.
  • 3. เกี่ยวกับผู้ประพันธ์  Daniel H. Pink เป็นผู้เขียนหนังสือที่สร้างกาลังใจ หกเล่ม รวมทั้งหนังสือที่ขายดีเป็นเวลานานของ New York Times คือ A Whole New Mind และ หนังสือที่ขายดีที่สุดอันดับ 1 คือ Drive และ To Sell is Human  หนังสือของเขาได้รับรางวัลหลายรางวัล และ ได้รับการแปลถึง 35 ภาษา  เขาอาศัยอยู่ใน Washington, DC กับภรรยาและ ลูกสามคน
  • 4. เกริ่นนา  ทุกคนรู้ดีว่า เวลาเป็นทุกอย่าง แต่เราไม่รู้เกี่ยวกับเรื่องของเวลา  ชีวิตของเรา มีเรื่องให้ตัดสินใจที่ไม่เคยสิ้นสุด เช่น เริ่มต้นธุรกิจ กาหนดเวลาเรียน และเรื่องที่จริงจังของบุคคล ถึงกระนั้น เราก็ ตัดสินใจตามพื้นฐานของสัญชาตญาณและการคาดเดา  เวลา มักจะสันนิษฐานว่าเป็นศิลปะ ในหนังสือเล่มนี้ Pink แสดง ให้เห็นว่า เวลาเป็นวิทยาศาสตร์
  • 5. รูปแบบของวัน  จากงานวิจัยที่หลากหลายของนักจิตวิทยา ชีววิทยา และ เศรษฐศาสตร์ Pink แสดงให้เห็นถึงวิธีการที่ดีที่สุด ในการใช้ชีวิต ในการทางาน และในการประสบความสาเร็จ  เราจะใช้รูปแบบในแต่ละวัน เพื่อสร้างตารางเวลาที่เหมาะได้ อย่างไร? ทาไมการหยุดพัก จึงช่วยปรับปรุงคะแนนการทดสอบ ของนักเรียนได้ดีขึ้น? เราจะเปลี่ยนจุดเริ่มต้นที่สะดุด ให้เป็น จุดเริ่มต้นใหม่ได้อย่างไร? ทาไมเราควรหลีกเลี่ยงที่จะไป โรงพยาบาลในช่วงบ่าย? ทาไมต้องฝึกหัดร้องเพลงกับคนอื่น? และเมื่อใดคือช่วงเวลาที่เหมาะที่จะลาออกจากงาน เปลี่ยนอาชีพ หรือแต่งงาน?
  • 6. เมื่อใด?  เมื่อพูดถึงการวางแผนเพื่อความสาเร็จ เรามักมุ่งเน้นไปที่ อะไร และ อย่างไร (what and how ) เช่น เมื่อเรากาหนดเป้ าหมายการ ออกกาลังกาย เราจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับการออกกาลังกายที่ เราจะทา หรือวางแผนการชาระหนี้ ว่าจะทาอย่างไร  แต่การประสบความสาเร็จใด ๆ ไม่ได้เป็นเพียงการตัดสินใจโดย อะไรหรืออย่างไร แต่เป็น เมื่อใด (when) ด้วย
  • 7. การศึกษาของนักสังคมวิทยา  ในหนังสือเล่มนี้ เขาอ้างถึงการศึกษาที่สาคัญโดยนักสังคมวิทยา ของ Cornell University สองคน ที่ตรวจสอบ 500 ล้านทวีต โดย ผู้ใช้ 2.4 ล้านคนใน 84 ประเทศ ในช่วงสองปี เพื่อวัดอารมณ์ ของผู้คนในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ  พวกเขาพบรูปแบบที่สอดคล้องกันอย่างน่าทึ่งของคน ทัศนคติใน แง่ดี และการมีส่วนร่วมของทวีตเตอร์ (โดยทั่วไปจะเพิ่มขึ้น ในช่วงเช้า ลดลงในช่วงบ่าย และเพิ่มขึ้นอีกครั้งในช่วงตอนเย็น)
  • 8. รูปแบบประจาวันที่ซ่อนอยู่  Pink กล่าวว่า "จากการศึกษาข้ามทวีปและโซนเวลา สามารถ คาดการณ์ได้ เหมือนกับการแกว่งตัวในแต่ละวันของกระแสน้า ในมหาสมุทรคือ ยอดสูงสุด เป็นแอ่ง และการฟื้ นตัว (a peak, a trough and a rebound)"  กล่าวได้ว่า อารมณ์ของเราไม่คงที่ตลอดทั้งวัน เรามีประสิทธิผล และสร้างสรรค์ในบางช่วงเวลาของวัน
  • 9. รูปแบบประจาวันที่ซ่อนอยู่  จากการสารวจในอังกฤษ แสดงให้เห็นว่า ผู้ปฏิบัติงานทั่วไปเมื่อ ถึงช่วงเวลา 2.55 น. จะมีผลผลิตน้อยที่สุดของวัน  ในทานองเดียวกัน เด็กนักเรียนชาวเดนมาร์กที่เข้ารับการสอบ ในช่วงบ่าย มีคะแนนต่ากว่าผู้ที่ได้รับการทดสอบในตอนเช้า  เราทุกคนทาตามรูปแบบโดยไม่รู้ตัว แต่ถ้าเรารู้ตัวว่า เมื่อใดที่เรา อยู่จุดสูงสุดหรือต่าสุด เราสามารถสร้างช่วงเวลาที่เหมาะกับเรา ได้ดีขึ้น
  • 10. กาแฟในตอนบ่าย  การงีบหลับ ไปเดินเล่น และหยุดพัก (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พัก กลางวัน) ไม่ได้เป็นการเสียเวลา  เวลาที่ดีที่สุดที่จะดื่มกาแฟตามที่ผู้เขียนแนะนา ไม่ได้เป็นสิ่งแรก ในตอนเช้า แต่เป็นหลังจากที่คุณตื่นขึ้นหนึ่งชั่วโมงหรือ 90 นาที  จากนั้น การผลิต cortisol ของคุณจะเพิ่มขึ้น และคาเฟอีนจะ ทางานได้อย่างมหัศจรรย์
  • 11. 3 บทเรียนจากหนังสือ  การรู้เรื่องเกี่ยวกับเวลา จะช่วยให้คุณจัดการชีวิตได้ดีขึ้นโดย  1. รู้วงรอบอารมณ์ ที่ทางานเหมือนกันทุกวัน  2. รู้เวลาที่คุณ "พร้อมสุด (tick)" จะช่วยให้คุณทางานได้ดีที่สุด  3. การหยุดพักหรือการงีบช่วงบ่าย ไม่ได้เป็นอุปสรรค แต่ยังช่วย ประหยัดเวลาอีกด้วย
  • 12. 1. เรามีรูปแบบอารมณ์ของแต่ละคนที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน  จากการศึกษาโดย Cornell University ที่วิเคราะห์ 500 ล้านของ การ tweets พบรูปแบบเวลาดังนี้  สูงสุดตอนเช้า (Morning peak) ผู้คนส่วนใหญ่จะรู้สึกดีในตอนเช้า ไม่ว่าจะเป็นหลังจากตื่นนอน หรืออีก 1-2 ชั่วโมงต่อมา  หย่อนช่วงบ่าย (Afternoon trough) คุณรู้ไหมว่ามันยากที่จะตื่นตัว หลังอาหารกลางวัน  ฟื้ นตัวยามค่าคืน (Evening rebound) เมื่อคุณผ่านการทางานไป แล้ว แม้ในวันที่ยากที่สุด คุณสามารถฟื้ นตัวได้
  • 13. สามช่วงเวลาของวัน  อารมณ์และประสิทธิภาพการทางานมีสามขั้นตอนในแต่ละวันคือ สูงสุด หย่อนลง และฟื้ นตัว (a peak, trough and recovery)  ช่วงสูงสุด อารมณ์และประสิทธิภาพจะเพิ่มขึ้น เวลานี้ เหมาะ สาหรับงานวิเคราะห์ที่ต้องการความสนใจเป็นพิเศษ ช่วงหย่อน ตัวเกิดขึ้นประมาณเจ็ดชั่วโมงหลังจากที่ตื่นขึ้นมา อารมณ์และ ประสิทธิภาพจะลดลง ดังนั้นจึงเป็นเวลาที่ดีที่สุดสาหรับการ บริหารงาน แต่ในระหว่างการฟื้ นตัว อารมณ์จะยกระดับขึ้ นอีก ครั้ง เป็นเวลาที่ดีสาหรับงานสร้างสรรค์ เช่นการระดมความคิด
  • 14. ในแต่ละวัน  ไม่ว่าอายุ เชื้อชาติ เพศ และสัญชาติ เราทุกคนต่างก็เจอรูปแบบ นี้ ในแต่ละวัน  Daniel Kahneman ผู้ได้รับรางวัลโนเบล ประพันธ์เรื่อง Thinking Fast and Slow ยืนยันเรื่องนี้ ด้วย Day Reconstruction Method  นี่เป็นข้อสรุป สาหรับวิธีการที่เราควรดาเนินการเกี่ยวกับวันของ เรา เป็นรูปแบบที่ดีในการรับมือกับอารมณ์ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
  • 15. 2. รู้ถึงนาฬิกาในตัวของคุณ เพื่อให้ได้ผลงานที่ดีที่สุด  การรู้วัฏจักรชีวิตประจาวันของเรา ทาให้เราสามารถเรียนรู้ เกี่ยวกับตัวเราได้มากขึ้น ถ้าได้รวมกับ จังหวะการทางานของเรา (our circadian rhythm)  เมื่อเวลาผ่านไป เราจะมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า เมื่อใดที่เรา มีความคิดฟุ้ งซ่านหรือตกต่า เช่น "ฉันไม่สามารถลุกขึ้ นก่อน 7 โมงเช้า" "ฉันเป็นพวกนกฮูกกลางคืน" หรือ "ฉันชอบตื่นเช้ามืด" เป็นสิ่งที่เราเคยพูด หรือได้ยินมาก่อน
  • 16. เวลาของชีวิต  "Chronobiology" คือการศึกษาเวลาในสิ่งมีชีวิต และการปรับตัว ให้เข้ากับจังหวะที่เกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตย์และดวงจันทร์  การทาความเข้าใจเกี่ยวกับ "นาฬิกาในตัว (chronotype)" หรือ จังหวะทางชีวภาพ (biological rhythm) ของคุณ เป็นขั้นตอนแรก ในการทาความเข้าใจว่า คุณควรทาอะไร และช่วงเวลาใด  ตัวอย่างเช่น การล้างมือในโรงพยาบาลจะลดลงอย่างมากในช่วง บ่าย แพทย์มีแนวโน้มที่จะสั่งยาปฏิชีวนะผิดในตอนบ่าย และ ข้อผิดพลาดในการดมยาระงับความรู้สึก มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น ในเวลาบ่ายสามโมงมากกว่าเวลา 9.00 น
  • 17. เวลาของชีวิต  นาฬิกาในตัว (chronotype) แบ่งได้เป็นสามชนิดคือ  1. The lark คนที่ชอบที่จะตื่นแต่เช้ามืด และมีระดับความรู้สึก ทางอารมณ์ก่อนคนอื่น ๆ หลายชั่วโมง  2. The owl ถ้าคุณไม่ชอบตื่นแต่เช้า แต่สามารถทางานได้ดีตอน 21.00 น. เป็นต้นไป นั่นคือคุณ  3. The third bird ผู้คนส่วนใหญ่ ที่ไม่ช้าหรือเร็ว และทาตาม รูปแบบมาตรฐาน
  • 18. ประเภทของนก  การวิจัยแสดงให้เห็นว่า ประมาณสองในสามของคนเราคือคน ตอนเช้า (larks) ในขณะที่ส่วนที่เหลือมีประสิทธิผลมากขึ้ นใน ตอนท้ายของวัน (owls)  larks ควรทางานสาคัญในตอนเช้า ในขณะที่ owls อาจต้องการ ทางานตอนดึก  ไม่ว่าคุณจะทาแบบไหน การทาสิ่งที่น่าเบื่อ ควรเป็นช่วงบ่าย!
  • 19. 3. หยุดพักบ่อย ๆ และ nappuccinos จะช่วยให้คุณประหยัดเวลา  ความตระหนักของสาธารณชนเกี่ยวกับสุขภาพ ได้เพิ่มขึ้นอย่าง มากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ดังนั้น มุมมองที่ว่าการหยุดพักว่าเป็น การเสียเวลาจึงเป็นสิ่งที่ล้าสมัย แต่ก็ยังแพร่หลายในบริษัทและ สถาบันที่เก่าแก่บางแห่ง  การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ที่อยู่เบื้องหลังว่า เราควรจะทางาน เท่าไหร่ และเราควรจะผ่อนคลายเท่าไหร่ เป็นเรื่องที่น่าแปลกใจ มาก
  • 20. การหยุดพักที่สมบูรณ์แบบ  บริษัท DeskTime ทาการศึกษาโดยใช้ข้อมูลนับล้านจาก ซอฟต์แวร์ของพวกเขา พบว่า ช่วงเวลาหยุดพักที่เหมาะจะเป็น 17 นาทีสาหรับทุกๆ การทางาน 52 นาที  นั่นเป็นเวลาหนึ่งชั่วโมง ในทุกสามชั่วโมงที่คุณทางาน!  แม้ว่าจะเป็นเรื่องง่ายที่จะคิดว่า ไม่มีทางที่จะนาไปสู่ผลลัพธ์ที่ดี ขึ้นได้ แต่จากการศึกษาพบว่า คุณภาพของงานโดยรวมเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับช่วงพักที่สั้นหรือน้อยกว่า
  • 21. ความสาคัญของการหยุดพัก  การหยุดพักไม่ได้เป็นสัญญาณของความเฉื่อยชา แต่เป็นการ แสดงถึงความแข็งแกร่ง  นักวิจัยกล่าวว่า การพักรับประทานอาหารกลางวัน เป็นการตั้งค่า การกู้คืนที่สาคัญ เพื่อส่งเสริมสุขภาพและอาชีวอนามัย (นัก ดับเพลิงกล่าวว่า การรับประทานอาหารด้วยกัน ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพของทีม)  การหยุดพัก ควรเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว และว่างจากการ ทางานหรือการศึกษา พูดคุยเกี่ยวกับหัวข้อที่ไม่เกี่ยวกับการ ทางานกับคนอื่น ๆ หรือการเดินออกไปข้างนอก
  • 22. การหยุดพักหลังรับประทานมื้ อเที่ยง  แม้ว่าเจ้านายของคุณจะไม่ยอมให้ "หยุดพัก" ควรใช้เวลาห้า นาทีทุกชั่วโมง ในการลุกขึ้นเดินไปรอบ ๆ เดินไปข้างนอกรับ อากาศบริสุทธิ์และดื่มน้าสักแก้ว สามารถสร้างความแตกต่างใน การผลิตของคุณได้  สุดท้ายนี้ Dan แนะนา 'nappuccino' หลังจากรับประทานอาหาร กลางวัน คือดื่มกาแฟแล้วตั้งเวลาไว้ 20 นาที ใช้เวลาเจ็ดนาทีใน การเข้าสู่การหลับแล้วตื่นตามเวลาที่ตั้งไว้ คุณจะตื่นขึ้นมาอย่าง สดชื่นและมีฤทธิ์ของคาเฟอีนที่ส่งผลอย่างเต็มที่
  • 23. Coffee + Nap = Nappuccino  หลังดื่มกาแฟ จะใช้เวลาประมาณ 25 นาทีสาหรับคาเฟอีนใน การเข้าสู่กระแสเลือด ดังนั้นถ้าคุณดื่มกาแฟสักแก้ว จากนั้นงีบ หลับยาว 25 นาที จะเป็นเทคนิคที่เหมาะสาหรับการงีบหลับและ เพิ่มสมรรถนะ  บริษัทบางแห่ง (Uber, Zappos, Nike ... ) ได้สร้างห้องงีบหลับ สาหรับพนักงานในสานักงานของตน  การวิจัยหลายชิ้นแสดงให้เห็นว่า การเตรียมพร้อมและผลิตผล เพิ่มขึ้นหลังจากงีบหลับ นอกจากนี้ การงีบหลับยังเสริมสร้าง ระบบภูมิคุ้มกันของเราอีกด้วย!
  • 24. ประโยชน์ของการงีบหลับ  การงีบหลับเหมาะอย่างยิ่งสาหรับการเพิ่มประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพ โดยปกติจะใช้เวลาระหว่างสิบถึงยี่สิบนาที  เมื่องีบหลับเป็นเวลานานกว่านั้น เราเริ่มประสบปัญหา "ความ เฉื่อยชาจากการนอนหลับ (sleep inertia)" จะรู้สึกสับสนและ เลอะเลือนเมื่อตื่นขึ้ นมา  ดูเหมือนว่าการงีบหลับเป็นศิลปะ และคุณจาเป็นต้องค้นหาความ สมดุลที่มีความสุขของคุณ เพียงพอที่จะรู้สึกพักผ่อน แต่ไม่มาก เกินไปที่จะเข้าสู่ความเฉื่อยชาจากการนอนหลับ
  • 25. การงีบหลับที่สมบูรณ์แบบ นี่คือ 5 ขั้นตอนที่คุณสามารถปฏิบัติตามเพื่อการงีบหลับที่สมบูรณ์ แบบ  1. หาเวลาที่ดีที่สุด โดยปกติประมาณ 7 ชั่วโมงหลังตื่นนอน  2. สร้างสภาพแวดล้อมที่เงียบสงบ  3. ดื่มกาแฟสักแก้ว  4. ตั้งเวลาสาหรับการงีบหลับ ยี่สิบห้านาที  5. ทาซ้าอย่างต่อเนื่องทุกวัน
  • 26. Daniel Pink ได้ให้คาแนะนาดังต่อไปนี้ :  หยุดพักระยะสั้น ๆ (Take micro breaks) การพักระยะสั้น ๆ ป้ องกัน ไม่ให้เกิดความเคยชิน ช่วยให้เรารักษาความตั้งใจ และมีความมุ่งมั่น ต่อเป้ าหมายของเราได้อีกครั้ง  เดินระหว่างช่วงพัก (Move during your break) เดินห้านาที ช่วยเพิ่ม พลังงาน เพิ่มแรงจูงใจและสมาธิ  หลายหัวดีกว่าหัวเดียว (Social beats solo) ในอาชีพที่เครียดสูง เช่น การพยาบาล เพื่อลดความผิดพลาดทางการแพทย์  ภายนอกดีกว่าภายใน (Outside beats inside) การอยู่ใกล้กับต้นไม้ พืช และแม่น้า เป็นการฟื้ นฟูจิตใจ  หยุดพักโดยไม่มีเทคโนโลยี (Take a tech free break) การหลุดจาก การทางานชั่วคราว เพื่อลดความเหนื่อยล้า
  • 27. สรุป  คนเรามักใช้ความรู้สึกของเราในการตัดสินใจที่สาคัญหลายอย่าง เช่นเมื่อต้องการกิน นอนหลับ หรือยกเลิกโครงการ บัดนี้ ในทาง วิทยาศาสตร์มีคาตอบให้แล้ว  ในหนังสือเล่มนี้ Pink นาเสนอการวิจัยที่ทันสมัยและมีข้อมูล เกี่ยวกับจังหวะเวลา เขาได้สังเคราะห์เรื่องราวเหล่านี้ ไว้เป็นเรื่อง เล่าที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยเรื่องที่ไม่อาจปฏิเสธได้และเป็น ประโยชน์ ทาให้ผู้อ่านเข้าใจได้ถึงวิธีการที่เราสามารถมีชีวิตที่ สมบูรณ์และอยู่อย่างมีความหมายมากขึ้น
  • 28. การนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์  คนเราจะตื่นตัวและมีความสุขในตอนเช้า (People are more alert and happier in the mornings)  มีคนสองประเภทที่โดดเด่นคือ นก Larks และนก Owls (There are two dominant types of people as Larks (morning people) and Owls (night people)  ผลงานจะแตกต่างกันไปขึ้นกับช่วง สูงสุด หย่อนลง และ ฟื้ นตัว (Performance varies drastically in a peak, trough, and recovery phase of the day)  การหยุดพัก คือคาตอบสาหรับการมีประสิทธิภาพสูงสุด (Breaks are the answer to top performance)  เวลางีบหลับที่เหมาะสมคือ 10 ถึง 20 นาที (The ideal nap length is 10 to 20 minutes!)