SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 7
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
พระประวัติในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก
ตอนที่ ๒๐ ยโสธราเถริยาปทาน
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ
๘. ยโสธราเถริยาปทาน
ประวัติในอดีตชาติของพระยโสธราเถรี
เกริ่นนา
ท่านฤาษีผู้เป็นใหญ่ อุบาสิกาผู้นี้ จักเป็นผู้มีจิตเสมอกัน มีการกระทาเสมอกัน มีปกติทาร่วมกัน
จักเป็นที่น่ารักเพราะการกระทาเพื่อประโยชน์แก่ท่าน จักเป็นหญิงมีรูปร่างน่าดู น่าชม น่ารักยิ่ง น่าชอบใจ
มีวาจาอ่อนหวาน มีฤทธิ์ เป็นธรรมทายาทของท่าน อุบาสิกาผู้นี้ จักรักษากุศลธรรมทั้งหลาย เหมือนพวก
เจ้าของรักษาเครื่องสมุก จะอนุเคราะห์ท่าน จักบาเพ็ญบารมีเพื่อท่าน ละกิเลสได้ดังพญาราชสีห์ละกรงแล้ว
จักบรรลุพระโพธิญาณ
(พระยโสธราเถรี เมื่อจะประกาศประวัติในอดีตชาติของตน จึงกล่าวว่า)
[๓๑๔] สมัยหนึ่ง เมื่อพระผู้ทรงเป็นผู้นาแห่งนรชน ประทับอยู่ ณ เงื้อมภูเขาที่ประเสริฐแห่งหนึ่ง
ใกล้กรุงราชคฤห์ ที่น่ารื่นรมย์ มั่งคั่ง
[๓๑๕] ยโสธราภิกษุณี ผู้อยู่ในสานักของภิกษุณี ในนครที่น่ารื่นรมย์นั้น ได้มีความราพึงอย่างนี้ ว่า
[๓๑๖] ‘พระเจ้าสุทโธทนมหาราชและพระนางมหาปชาบดีโคตรมี พระมหาเถระผู้มีชื่อเสียง และ
พระเถรีผู้มีฤทธิ์มาก
[๓๑๗] ท่านเหล่านั้น ล้วนนิพพานไปแล้ว เหมือนเปลวประทีปหมดเชื้อดับไปฉะนั้น เมื่อพระ
โลกนาถยังทรงพระชนม์อยู่ แม้เราก็จักบรรลุถึงสิวบท (นิพพาน)’
[๓๑๘] ยโสธราภิกษุณีนั้นครั้นคิดแล้ว จึงพิจารณาดูอายุของตน เห็นอายุสังขาร จะถึงความสิ้นไป
ในวันนั้นเอง
[๓๑๙] จึงถือบาตรและจีวรออกจากที่อยู่ของตน มีภิกษุณี ๑๐๐,๐๐๐ รูปห้อมล้อม
[๓๒๐] มีฤทธิ์มาก มีปัญญามาก เข้าเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถวายอภิวาทที่ลายลักษณ์กงจักร
ของพระศาสดาแล้วนั่ง ณ ที่สมควร ได้กราบทูลคานี้ ว่า
[๓๒๑] ‘หม่อมฉันมีอายุได้ ๗๘ ปี ล่วงเข้าปัจฉิมวัยแล้ว ถึงความเป็นผู้มีกายค้อมลงโดยลาดับ ขอ
กราบทูลลาพระมหามุนี
2
[๓๒๒] หม่อมฉันมีวัยแก่หง่อม ชีวิตของหม่อมฉันมีอยู่นิดหน่อย หม่อมฉันจักละพระองค์ไป ที่พึ่ง
ของตนหม่อมฉันทาไว้แล้ว
[๓๒๓] ในกาลปัจฉิมวัยนี้ ความตายเข้ามาปิดล้อมไว้แล้ว ข้าแต่พระมหาวีระ หม่อมฉันจักนิพพาน
ในคืนวันนี้
[๓๒๔] ข้าแต่พระมหามุนี หม่อมฉันไม่มีชาติ ชรา พยาธิ และมรณะ หม่อมฉันจักเข้าถึงนิพพานที่
ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง เป็นบุรีที่ไม่มีความแก่ ความตาย และไม่มีภัย
[๓๒๕] บริษัทที่เข้าเฝ้าพระองค์อยู่ รู้จักความผิด จึงขอประทานโทษ เฉพาะพระพักตร์ของพระ
ศาสดา
[๓๒๖] ข้าแต่พระมหาวีระ เมื่อหม่อมฉันเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในสงสาร หากมีความผิดพลาดใน
พระองค์ หม่อมฉันกราบทูลว่า ขอพระองค์โปรดยกโทษให้แก่หม่อมฉันด้วยเถิด’
[๓๒๗] พระจอมมุนีทรงสดับคาของพระยโสธราภิกษุณีแล้ว จึงตรัสดังนี้ ว่า ‘เมื่อเธอบอกว่าจะลา
นิพพาน ตถาคตจะไปว่าอะไรเธอให้มากเล่า
[๓๒๘] เธอผู้ปฏิบัติตามคาสั่งสอนของเรา จงแสดงฤทธิ์ และตัดความสงสัยของบริษัททั้งปวงใน
ศาสนาเถิด’
[๓๒๙] พระยโสธราภิกษุณีนั้น ได้ฟังพระดารัสของพระมุนีพระองค์นั้นแล้ว จึงไหว้พระราชมุนีนั้น
กราบทูลคานี้ ว่า
[๓๓๐] ‘ข้าแต่พระมหาวีระ หม่อมฉันชื่อยโสธรา เมื่อสมัยที่ยังทรงครองฆราวาสวิสัย เป็นปชาบดี
ของพระองค์ เกิดในตระกูลศากยะ ตั้งอยู่ในองค์สมบัติของผู้หญิง
[๓๓๑] ข้าแต่พระมหาวีระ บรรดาหญิงจานวน ๑๙๖,๐๐๐ นาง หม่อมฉันเป็นประธาน เป็นใหญ่
กว่าหญิงทั้งปวง ในพระราชนิเวศน์ของพระองค์
[๓๓๒] สตรีทั้งหมดประกอบด้วยรูปสมบัติและอาจารสมบัติ แม้ดารงอยู่ในวัยสาว ก็ยาเกรงหม่อม
ฉันทุกเมื่อ เหมือนมนุษย์ทั้งหลายยาเกรงเทวดา
[๓๓๓] หญิงเหล่านั้นมีนางกษัตริย์ ๑,๐๐๐ นาง เป็นประธาน ร่วมสุขร่วมทุกข์กันอยู่ในพระราช
นิเวศน์ของศากยบุตร ปานประหนึ่งเทวดาทั้งหลายในสวนนันทวัน
[๓๓๔] เว้นพระองค์ผู้ทรงเป็นผู้นาสัตว์โลกแล้ว เหล่าสตรีผู้ฉลาดล่วงเลยกามภูมิ ตั้งอยู่ในรูปภูมิ
มีรูปเช่นกับหม่อมฉันไม่มี’
[๓๓๕] พระยโสธราเถรี ถวายอภิวาทพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว แสดงฤทธิ์ถวายพระศาสดา แล้ว
แสดงฤทธิ์มากมายหลายอย่าง
[๓๓๖] คือ แสดงกายเท่าภูเขาจักรวาล ศีรษะเท่าอุตตรกุรุทวีป ทวีปทั้ง ๒ ให้เป็นปีกทั้ง ๒ ข้าง
ชมพูทวีปให้เป็นลาตัว
[๓๓๗] แสดงมหาสมุทรด้านทิศใต้ให้เป็นกาหาง กิ่งไม้ต่างๆ ให้เป็นขนปีก ดวงจันทร์และดวง
อาทิตย์ให้เป็นนัยน์ตา ภูเขาพระสุเมรุให้เป็นหงอน
3
[๓๓๘] แสดงภูเขาจักรวาลให้เป็นจะงอยปาก นาต้นหว้า พร้อมทั้งรากเข้ามาใกล้แล้วไหว้และพัดวี
พระผู้เป็นผู้นาสัตว์โลก
[๓๓๙] แสดงเป็นช้าง ม้า ภูเขา ทะเล ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ภูเขาพระสุเมรุ และเป็นท้าวสักกะ
จอมเทพ
[๓๔๐] กราบทูลว่า ‘ข้าแต่พระมหาวีระ ผู้มีพระจักษุ หม่อมฉันชื่อว่ายโสธรา ขอกราบพระยุคล
บาท’ แล้วใช้ดอกบัวบานปิด ๑,๐๐๐ โลกธาตุไว้
[๓๔๑] เนรมิตเป็นพรหมแสดงสุญญตธรรมอยู่ กราบทูลว่า ‘ข้าแต่พระวีระ ผู้มีพระจักษุ หม่อมฉัน
ชื่อว่ายโสธรา ขอกราบพระยุคลบาท’
[๓๔๒] ข้าแต่พระมหามุนี หม่อมฉันเป็นผู้มีความชานาญในฤทธิ์ ในทิพพโสตธาตุ และมีความ
ชานาญในเจโตปริยญาณ
[๓๔๓] รู้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ทิพยจักษุหม่อมฉันก็ชาระให้หมดจดแล้ว อาสวะทั้งปวงก็สิ้นไป
แล้ว บัดนี้ ภพใหม่ไม่มี
[๓๔๔] ข้าแต่พระมหาวีระ อัตถปฏิสัมภิทาญาณ ธัมมปฏิสัมภิทาญาณ นิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
และปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณของหม่อมฉัน เกิดขึ้นแล้วในสานักของพระองค์
[๓๔๕] ความพร้อมเพรียงแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ผู้ทรงเป็นที่พึ่งของสัตว์โลก พระองค์ทรง
แสดงแล้ว ข้าแต่พระมหามุนี อธิการเป็นอันมากของหม่อมฉันเพื่อประโยชน์แก่พระองค์
[๓๔๖] ข้าแต่พระมหาวีระผู้เป็นพระมุนี ขอพระองค์พึงหวนระลึกถึงกุศลกรรมเก่าของหม่อมฉัน
เถิด หม่อมฉันสั่งสมบุญไว้ก็เพื่อประโยชน์แก่พระองค์
[๓๔๗] ข้าแต่พระมหาวีระ หม่อมฉันงดเว้นอนาจารในสถานที่ไม่สมควร แม้ชีวิตก็ยอมสละได้เพื่อ
ประโยชน์แก่พระองค์
[๓๔๘] ข้าแต่พระมหามุนี พระองค์ประทานหม่อมฉัน เพื่อต้องการให้เป็นภรรยาของผู้อื่นหลาย
พันโกฏิกัป ก็เพื่อประโยชน์แก่พระองค์ หม่อมฉันไม่เคยเสียใจในเรื่องนั้นเลย
[๓๔๙] ข้าแต่พระมหามุนี พระองค์ประทานหม่อมฉัน เพื่ออุดหนุนผู้อื่นหลายพันโกฏิกัป ก็เพื่อ
ประโยชน์แก่พระองค์ หม่อมฉันไม่เคยเสียใจในเรื่องนั้นเลย
[๓๕๐] ข้าแต่พระมหามุนี พระองค์ประทานหม่อมฉัน เพื่อประโยชน์เป็นอาหารหลายพันโกฏิกัป
ก็เพื่อประโยชน์แก่พระองค์ หม่อมฉันไม่เคยเสียใจในเรื่องนั้นเลย
[๓๕๑] หม่อมฉันยอมสละชีวิตหลายพันโกฏิกัป ด้วยคิดว่าจักกระทาความพ้นภัย จึงยอมสละชีวิต
ตนเอง
[๓๕๒] ข้าแต่พระมหามุนี หม่อมฉันไม่เคยหวงเครื่องประดับ มีผ้านานาชนิดที่ติดตัวอยู่
และภัณฑะของหญิง เพื่อประโยชน์แก่พระองค์
[๓๕๓] ข้าแต่พระมหามุนี ทรัพย์ ข้าวเปลือก ปัจจัยเครื่องบริจาค บ้าน นิคม ไร่ นา บุตร ธิดา
หม่อมฉันก็บริจาคแล้ว
4
[๓๕๔] ช้าง ม้า โค ทาสี นางบาเรอ มากมายนับไม่ถ้วน หม่อมฉันก็บริจาคแล้ว เพื่อประโยชน์แก่
พระองค์
[๓๕๕] พระองค์ทรงปรึกษาหม่อมฉันว่า ‘เราจะให้ทานแก่พวกยาจก’ เมื่อพระองค์ให้ทานที่
ประเสริฐอยู่ หม่อมฉันก็ไม่เคยเสียใจ
[๓๕๖] ข้าแต่พระมหาวีระ หม่อมฉันยอมรับทุกข์ทรมาน มากมายหลายอย่างจนนับไม่ถ้วน ใน
สงสารเป็นอเนก ก็เพื่อประโยชน์แก่พระองค์
[๓๕๗] ข้าแต่พระมหามุนี หม่อมฉันได้รับสุขก็อนุโมทนา และคราวที่ได้รับทุกข์ก็ไม่เสียใจ เป็นผู้
ยินดีแล้วทุกอย่าง เพื่อประโยชน์แก่พระองค์
[๓๕๘] ข้าแต่พระมหามุนี พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบาเพ็ญธรรม โดยมรรคที่สมควร เสวยสุข
และทุกข์แล้ว ได้บรรลุพระโพธิญาณ
[๓๕๙] การที่พระองค์และหม่อมฉันพบพระสัมพุทธเจ้า ทรงเป็นผู้นาสัตว์โลกพระนามว่าพรหม
เทพ และพระนามว่าโคดม แล้วพบพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นที่พึ่งสัตว์โลกเหล่าอื่นอีกก็มาก
[๓๖๐] ข้าแต่พระมหามุนี อธิการของหม่อมฉันมีมาก เพื่อประโยชน์แก่พระองค์ หม่อมฉันเมื่อ
แสวงหาพุทธธรรมอยู่ ก็ได้เป็นบาทบริจาริกาของพระองค์
[๓๖๑] ใน ๔ อสงไขยและอีก ๑๐๐,๐๐๐ กัป พระมหาวีระพระนามว่าทีปังกร ทรงเป็นผู้นาสัตว์
โลก เสด็จอุบัติขึ้นแล้ว
[๓๖๒] ประชาชนในปัจจันตประเทศ ต่างมีใจยินดีทูลนิมนต์พระตถาคตแล้ว ช่วยกันแผ้วถางทาง
ซึ่งเป็นที่เสด็จพุทธดาเนิน
[๓๖๓] ครั้งนั้น พระองค์เกิดเป็นพราหมณ์นามว่าสุเมธะ กาลังตกแต่งหนทางเพื่อพระสุคต ผู้ทรง
เห็นธรรมทั้งปวงกาลังเสด็จมา
[๓๖๔] ครั้งนั้น หม่อมฉันได้เกิดในตระกูลพราหมณ์ เป็นหญิงสาวมีนามว่าสุมิตตา เข้าไปสู่
สมาคม
[๓๖๕] ถือดอกอุบลไป ๘ กาเพื่อบูชาพระศาสดา ได้เห็นพระองค์ผู้เป็นฤาษีผู้ประเสริฐ ใน
ท่ามกลางหมู่ชน
[๓๖๖] ครั้งนั้น หม่อมฉันได้เห็นพระองค์ผู้น่าพอใจ ผู้มีความเอ็นดูประทับอยู่นาน ดาเนินผ่านไป
จึงได้สาคัญว่าชีวิตของเรามีผล
[๓๖๗] ครั้งนั้น หม่อมฉันเห็นความพยายามที่มีผล ของพระองค์ผู้เป็นพระฤาษี ด้วยบุพกรรม แม้
จิตของหม่อมฉันก็เลื่อมใสในพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
[๓๖๘] หม่อมฉันทาจิตให้เลื่อมใสอย่างยิ่ง ในพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้เป็นพระฤๅษี มีพระทัยเบิก
บาน ข้าแต่พระฤาษี หม่อมฉันมิได้เห็นสิ่งอื่นที่ควรถวาย จึงถวายดอกอุบลแด่พระองค์ พร้อมกับกล่าวว่า
[๓๖๙] ‘ข้าแต่พระฤๅษี ดอกอุบล ๕ กา จงเป็นของท่าน ดอกอุบล ๓ กา จงเป็นของหม่อมฉัน ข้า
แต่พระฤๅษี ดอกบัว ๓ กาของหม่อมฉัน กับดอกบัว ๕ กาของท่านนั้น จงมีผลเสมอกัน เพื่อประโยชน์แก่
พระโพธิญาณของท่าน’
5
[๓๗๐] สุเมธมหาฤาษีรับดอกอุบลแล้วบูชาพระพุทธเจ้าพระนามว่าทีปังกร ผู้แสวงหาคุณอัน
ยิ่งใหญ่ มีบริวารยศมากมาย เสด็จดาเนินมาท่ามกลางชุมชน เพื่อประโยชน์แก่พระโพธิญาณ
[๓๗๑] พระมหามุนีผู้มีความเพียรมากพระนามว่าวีรทีปังกร ทอดพระเนตรเห็นพระฤาษี ผู้มีใจสูง
แล้ว จึงตรัสพยากรณ์ในท่ามกลางชุมชน
[๓๗๒] ข้าแต่พระมหามุนี ในกัปที่หาประมาณมิได้นับจากกัปนี้ ไป พระมหามุนีพระนามว่าทีปังกร
ทรงพยากรณ์กรรม คือความเป็นผู้ซื่อตรงของหม่อมฉันไว้ว่า
[๓๗๓] ‘ท่านฤาษีผู้เป็นใหญ่ อุบาสิกาผู้นี้ จักเป็นผู้มีจิตเสมอกัน มีการกระทาเสมอกัน มีปกติทา
ร่วมกัน จักเป็นที่น่ารักเพราะการกระทาเพื่อประโยชน์แก่ท่าน
[๓๗๔] จักเป็นหญิงมีรูปร่างน่าดู น่าชม น่ารักยิ่ง น่าชอบใจ มีวาจาอ่อนหวาน มีฤทธิ์ เป็นธรรม
ทายาทของท่าน
[๓๗๕] อุบาสิกาผู้นี้ จักรักษากุศลธรรมทั้งหลาย เหมือนพวกเจ้าของรักษาเครื่องสมุก
[๓๗๖] จะอนุเคราะห์ท่าน จักบาเพ็ญบารมีเพื่อท่าน ละกิเลสได้ดังพญาราชสีห์ละกรงแล้ว จัก
บรรลุพระโพธิญาณ’
[๓๗๗] ในกัปที่หาประมาณมิได้นับจากกัปนี้ ไป พระพุทธเจ้าทรงพยากรณ์ดารัสใดกับหม่อมฉัน
หม่อมฉันเมื่ออนุโมทนาพระดารัสนั้น เป็นผู้ทาอย่างนี้
[๓๗๘] หม่อมฉันทาจิตให้เลื่อมใสในกุศลกรรมที่ได้ทาไว้ดีแล้วนั้น ได้บังเกิดในกาเนิดเทวดาและ
มนุษย์มากมาย
[๓๗๙] ได้เสวยสุขและทุกข์ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เมื่อถึงภพสุดท้ายได้เกิดในศากยตระกูล
[๓๘๐] หม่อมฉันมีรูปสมบัติ มีโภคสมบัติ มียศ มีศีล สมบูรณ์ด้วยองค์สมบัติทั้งปวง แต่นั้นได้รับ
ความยาเกรงจากเจ้านายในตระกูลทั้งหลาย
[๓๘๑] พรั่งพร้อมด้วยโลกธรรม คือ ลาภ สักการะ สรรเสริญ มีจิตไม่ประกอบด้วยทุกข์ อยู่อย่างผู้
ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ
[๓๘๒] สมจริงตามพระดารัสที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า ‘ข้าแต่พระพระองค์ผู้แกล้วกล้า ในครั้ง
นั้น พระองค์ทรงแสดงอุปการะของนารีทั้งหลาย ไว้ภายในพระราชมณเฑียรและในขัตติยบุรีว่า
[๓๘๓] นารีผู้มีอุปการะ ๑ นารีผู้เป็นเพื่อนร่วมสุขร่วมทุกข์ ๑ นารีผู้แนะนาประโยชน์ให้ ๑ นารี
ผู้ทาความอนุเคราะห์ให้ ๑’
[๓๘๔] พระพุทธเจ้ามีจานวนถึง ๕๐๐ โกฏิ และ ๙๐๐ โกฏิ หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแด่
พระพุทธเจ้าเหล่านั้น
[๓๘๕] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย พระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็น
ผู้นาชั้นเลิศของชาวโลก มีจานวนถึง ๑,๑๐๐ โกฏิ
[๓๘๖] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแด่พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ ข้าแต่มหาราช
ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย
6
[๓๘๗] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแก่พระพุทธเจ้า ๒,๐๐๐ โกฏิ และแก่พระพุทธเจ้า ๓,๐๐๐ โกฏิ
ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ
[๓๘๘] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย พระพุทธเจ้ามีจานวน
ถึง ๔,๐๐๐ โกฏิ และ ๕,๐๐๐ โกฏิ
[๓๘๙] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแก่พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ ข้าแต่มหาราช
ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย
[๓๙๐] พระพุทธเจ้ามีจานวนถึง ๖,๐๐๐ โกฏิ และ ๗,๐๐๐ โกฏิ หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแด่
พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ
[๓๙๑] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย พระพุทธเจ้ามีจานวนถึง
๘,๐๐๐ โกฏิ และ ๙,๐๐๐ โกฏิ
[๓๙๒] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแด่พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ ข้าแต่มหาราช
ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย
[๓๙๓] พระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็นผู้นาชั้นเลิศของชาวโลก มีจานวนถึง ๑๐๐,๐๐๐ โกฏิ หม่อมฉันจัด
ถวายมหาทานแด่พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ
[๓๙๔] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย พระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็น
ผู้นาอื่นๆ มีจานวนถึง ๙,๐๐๐ โกฏิ
[๓๙๕] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแด่พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ ข้าแต่มหาราช
ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย
[๓๙๖] พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่จานวน ๑๐๐,๐๐๐ โกฏิ ๘๕ องค์ ๘,๕๐๐ โกฏิ ๓๐
โกฏิ
[๓๙๗] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแด่พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ ข้าแต่มหาราช
ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย
[๓๙๘] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแก่พระปัจเจกพุทธเจ้า ผู้ปราศจากราคะจานวน ๘๘ โกฏิ ข้า
แต่มหาราช ขอพระองค์ทรงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย
[๓๙๙] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแก่พระขีณาสพ ผู้ปราศจากมลทิน ซึ่งเป็นพุทธสาวกมากมาย
นับไม่ถ้วน ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงสดับอธิการหม่อมฉันมีมากมาย
[๔๐๐] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแด่พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ผู้สั่งสมไว้ดีแล้ว
ในธรรมทั้งหลาย และแด่พระอริยสงฆ์ทั้งหลายผู้ประพฤติพระสัทธรรมทุกเมื่อ ด้วยประการฉะนี้ บุคคลผู้
ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุขทั้งในโลกนี้ และโลกหน้า
[๔๐๑] บุคคลควรประพฤติธรรมให้สุจริต ไม่ควรประพฤติธรรมให้ทุจริต เพราะบุคคลผู้ประพฤติ
ธรรม ย่อมอยู่เป็นสุขทั้งในโลกนี้ และโลกหน้า
7
[๔๐๒] ข้าพระองค์เบื่อหน่ายในสังสารวัฏ จึงออกบวชเป็นบรรพชิตพร้อมด้วยบริวาร ๑,๐๐๐ ครั้น
บวชแล้วก็หมดกังวล (กังวล หมายถึงกังวล ๓ คือ (๑) กังวลคือราคะ (๒) กังวลคือโทสะ (๓) กังวลคือ
โมหะ)
[๔๐๓] หม่อมฉันละการครองเรือนแล้วบวชเป็นบรรพชิต ยังไม่ทันถึงกึ่งเดือน ก็ได้บรรลุสัจจะ ๔
[๔๐๔] ‘คนเป็นอันมากนาจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และปัจจัยเข้ามาถวายมากมายมิใช่น้อย
เหมือนคลื่นในมหาสมุทร
[๔๐๕] กิเลสทั้งหลายหม่อมฉันก็เผาได้แล้ว ภพทั้งปวงหม่อมฉันก็ถอนได้แล้ว หม่อมฉันตัดกิเลส
เครื่องผูกพันได้แล้วอยู่อย่างผู้ไม่มีอาสวะ ดุจพญาช้างตัดเครื่องพันธนาการได้แล้วอยู่อย่างอิสระ
[๔๐๖] การที่หม่อมฉันมาในสานักของพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐที่สุด เป็นการมาดีแล้วโดยแท้
วิชชา ๓ หม่อมฉันได้บรรลุแล้วโดยลาดับ คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หม่อมฉันก็ได้ทาสาเร็จแล้ว
[๔๐๗] คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ หม่อมฉันก็ได้ทาให้แจ้งแล้ว
คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หม่อมฉันก็ได้ทาสาเร็จแล้ว ดังนี้ แล
[๔๐๘] หม่อมฉันได้รับทุกข์หลายอย่าง และสุขสมบัติหลายอย่าง ถึงความเป็นผู้บริสุทธิ์ ได้สมบัติ
ทุกอย่างด้วยประการฉะนี้
[๔๐๙] บุคคลผู้ถวายตนของตนแด่พระพุทธเจ้า ผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ เพื่อต้องการบุญก็ย่อม
พรั่งพร้อมด้วยสหาย บรรลุพระนิพพานซึ่งเป็นอสังขตะ
[๔๑๐] กรรมทั้งที่เป็นอดีต ปัจจุบันและอนาคตสิ้นไปแล้ว กรรมทั้งปวงของหม่อมฉันสิ้นไปแล้ว
ข้าแต่พระองค์ผู้มีพระจักษุ หม่อมฉันขอกราบไหว้พระยุคลบาท
ได้ทราบว่า พระยโสธราภิกษุณีได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ เฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคด้วย
ประการฉะนี้
ยโสธราเถริยาปทานที่ ๘ จบ
---------------------------------------------------

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von maruay songtanin

102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
093 วิสสาสโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
093 วิสสาสโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...093 วิสสาสโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
093 วิสสาสโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
082 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
082 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...082 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
082 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

Mehr von maruay songtanin (20)

102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
094 โลมหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
093 วิสสาสโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
093 วิสสาสโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...093 วิสสาสโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
093 วิสสาสโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
092 มหาสารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
091 ลิตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
090 อกตัญญุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
086 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
085 กิมปักกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
084 อัตถัสสทวารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
083 กาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
082 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
082 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...082 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
082 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

(๒๔) พระยโสธราเถรี มจร.pdf

  • 1. 1 พระประวัติในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก ตอนที่ ๒๐ ยโสธราเถริยาปทาน พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ ๘. ยโสธราเถริยาปทาน ประวัติในอดีตชาติของพระยโสธราเถรี เกริ่นนา ท่านฤาษีผู้เป็นใหญ่ อุบาสิกาผู้นี้ จักเป็นผู้มีจิตเสมอกัน มีการกระทาเสมอกัน มีปกติทาร่วมกัน จักเป็นที่น่ารักเพราะการกระทาเพื่อประโยชน์แก่ท่าน จักเป็นหญิงมีรูปร่างน่าดู น่าชม น่ารักยิ่ง น่าชอบใจ มีวาจาอ่อนหวาน มีฤทธิ์ เป็นธรรมทายาทของท่าน อุบาสิกาผู้นี้ จักรักษากุศลธรรมทั้งหลาย เหมือนพวก เจ้าของรักษาเครื่องสมุก จะอนุเคราะห์ท่าน จักบาเพ็ญบารมีเพื่อท่าน ละกิเลสได้ดังพญาราชสีห์ละกรงแล้ว จักบรรลุพระโพธิญาณ (พระยโสธราเถรี เมื่อจะประกาศประวัติในอดีตชาติของตน จึงกล่าวว่า) [๓๑๔] สมัยหนึ่ง เมื่อพระผู้ทรงเป็นผู้นาแห่งนรชน ประทับอยู่ ณ เงื้อมภูเขาที่ประเสริฐแห่งหนึ่ง ใกล้กรุงราชคฤห์ ที่น่ารื่นรมย์ มั่งคั่ง [๓๑๕] ยโสธราภิกษุณี ผู้อยู่ในสานักของภิกษุณี ในนครที่น่ารื่นรมย์นั้น ได้มีความราพึงอย่างนี้ ว่า [๓๑๖] ‘พระเจ้าสุทโธทนมหาราชและพระนางมหาปชาบดีโคตรมี พระมหาเถระผู้มีชื่อเสียง และ พระเถรีผู้มีฤทธิ์มาก [๓๑๗] ท่านเหล่านั้น ล้วนนิพพานไปแล้ว เหมือนเปลวประทีปหมดเชื้อดับไปฉะนั้น เมื่อพระ โลกนาถยังทรงพระชนม์อยู่ แม้เราก็จักบรรลุถึงสิวบท (นิพพาน)’ [๓๑๘] ยโสธราภิกษุณีนั้นครั้นคิดแล้ว จึงพิจารณาดูอายุของตน เห็นอายุสังขาร จะถึงความสิ้นไป ในวันนั้นเอง [๓๑๙] จึงถือบาตรและจีวรออกจากที่อยู่ของตน มีภิกษุณี ๑๐๐,๐๐๐ รูปห้อมล้อม [๓๒๐] มีฤทธิ์มาก มีปัญญามาก เข้าเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถวายอภิวาทที่ลายลักษณ์กงจักร ของพระศาสดาแล้วนั่ง ณ ที่สมควร ได้กราบทูลคานี้ ว่า [๓๒๑] ‘หม่อมฉันมีอายุได้ ๗๘ ปี ล่วงเข้าปัจฉิมวัยแล้ว ถึงความเป็นผู้มีกายค้อมลงโดยลาดับ ขอ กราบทูลลาพระมหามุนี
  • 2. 2 [๓๒๒] หม่อมฉันมีวัยแก่หง่อม ชีวิตของหม่อมฉันมีอยู่นิดหน่อย หม่อมฉันจักละพระองค์ไป ที่พึ่ง ของตนหม่อมฉันทาไว้แล้ว [๓๒๓] ในกาลปัจฉิมวัยนี้ ความตายเข้ามาปิดล้อมไว้แล้ว ข้าแต่พระมหาวีระ หม่อมฉันจักนิพพาน ในคืนวันนี้ [๓๒๔] ข้าแต่พระมหามุนี หม่อมฉันไม่มีชาติ ชรา พยาธิ และมรณะ หม่อมฉันจักเข้าถึงนิพพานที่ ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง เป็นบุรีที่ไม่มีความแก่ ความตาย และไม่มีภัย [๓๒๕] บริษัทที่เข้าเฝ้าพระองค์อยู่ รู้จักความผิด จึงขอประทานโทษ เฉพาะพระพักตร์ของพระ ศาสดา [๓๒๖] ข้าแต่พระมหาวีระ เมื่อหม่อมฉันเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในสงสาร หากมีความผิดพลาดใน พระองค์ หม่อมฉันกราบทูลว่า ขอพระองค์โปรดยกโทษให้แก่หม่อมฉันด้วยเถิด’ [๓๒๗] พระจอมมุนีทรงสดับคาของพระยโสธราภิกษุณีแล้ว จึงตรัสดังนี้ ว่า ‘เมื่อเธอบอกว่าจะลา นิพพาน ตถาคตจะไปว่าอะไรเธอให้มากเล่า [๓๒๘] เธอผู้ปฏิบัติตามคาสั่งสอนของเรา จงแสดงฤทธิ์ และตัดความสงสัยของบริษัททั้งปวงใน ศาสนาเถิด’ [๓๒๙] พระยโสธราภิกษุณีนั้น ได้ฟังพระดารัสของพระมุนีพระองค์นั้นแล้ว จึงไหว้พระราชมุนีนั้น กราบทูลคานี้ ว่า [๓๓๐] ‘ข้าแต่พระมหาวีระ หม่อมฉันชื่อยโสธรา เมื่อสมัยที่ยังทรงครองฆราวาสวิสัย เป็นปชาบดี ของพระองค์ เกิดในตระกูลศากยะ ตั้งอยู่ในองค์สมบัติของผู้หญิง [๓๓๑] ข้าแต่พระมหาวีระ บรรดาหญิงจานวน ๑๙๖,๐๐๐ นาง หม่อมฉันเป็นประธาน เป็นใหญ่ กว่าหญิงทั้งปวง ในพระราชนิเวศน์ของพระองค์ [๓๓๒] สตรีทั้งหมดประกอบด้วยรูปสมบัติและอาจารสมบัติ แม้ดารงอยู่ในวัยสาว ก็ยาเกรงหม่อม ฉันทุกเมื่อ เหมือนมนุษย์ทั้งหลายยาเกรงเทวดา [๓๓๓] หญิงเหล่านั้นมีนางกษัตริย์ ๑,๐๐๐ นาง เป็นประธาน ร่วมสุขร่วมทุกข์กันอยู่ในพระราช นิเวศน์ของศากยบุตร ปานประหนึ่งเทวดาทั้งหลายในสวนนันทวัน [๓๓๔] เว้นพระองค์ผู้ทรงเป็นผู้นาสัตว์โลกแล้ว เหล่าสตรีผู้ฉลาดล่วงเลยกามภูมิ ตั้งอยู่ในรูปภูมิ มีรูปเช่นกับหม่อมฉันไม่มี’ [๓๓๕] พระยโสธราเถรี ถวายอภิวาทพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว แสดงฤทธิ์ถวายพระศาสดา แล้ว แสดงฤทธิ์มากมายหลายอย่าง [๓๓๖] คือ แสดงกายเท่าภูเขาจักรวาล ศีรษะเท่าอุตตรกุรุทวีป ทวีปทั้ง ๒ ให้เป็นปีกทั้ง ๒ ข้าง ชมพูทวีปให้เป็นลาตัว [๓๓๗] แสดงมหาสมุทรด้านทิศใต้ให้เป็นกาหาง กิ่งไม้ต่างๆ ให้เป็นขนปีก ดวงจันทร์และดวง อาทิตย์ให้เป็นนัยน์ตา ภูเขาพระสุเมรุให้เป็นหงอน
  • 3. 3 [๓๓๘] แสดงภูเขาจักรวาลให้เป็นจะงอยปาก นาต้นหว้า พร้อมทั้งรากเข้ามาใกล้แล้วไหว้และพัดวี พระผู้เป็นผู้นาสัตว์โลก [๓๓๙] แสดงเป็นช้าง ม้า ภูเขา ทะเล ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ภูเขาพระสุเมรุ และเป็นท้าวสักกะ จอมเทพ [๓๔๐] กราบทูลว่า ‘ข้าแต่พระมหาวีระ ผู้มีพระจักษุ หม่อมฉันชื่อว่ายโสธรา ขอกราบพระยุคล บาท’ แล้วใช้ดอกบัวบานปิด ๑,๐๐๐ โลกธาตุไว้ [๓๔๑] เนรมิตเป็นพรหมแสดงสุญญตธรรมอยู่ กราบทูลว่า ‘ข้าแต่พระวีระ ผู้มีพระจักษุ หม่อมฉัน ชื่อว่ายโสธรา ขอกราบพระยุคลบาท’ [๓๔๒] ข้าแต่พระมหามุนี หม่อมฉันเป็นผู้มีความชานาญในฤทธิ์ ในทิพพโสตธาตุ และมีความ ชานาญในเจโตปริยญาณ [๓๔๓] รู้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ทิพยจักษุหม่อมฉันก็ชาระให้หมดจดแล้ว อาสวะทั้งปวงก็สิ้นไป แล้ว บัดนี้ ภพใหม่ไม่มี [๓๔๔] ข้าแต่พระมหาวีระ อัตถปฏิสัมภิทาญาณ ธัมมปฏิสัมภิทาญาณ นิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ และปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณของหม่อมฉัน เกิดขึ้นแล้วในสานักของพระองค์ [๓๔๕] ความพร้อมเพรียงแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ผู้ทรงเป็นที่พึ่งของสัตว์โลก พระองค์ทรง แสดงแล้ว ข้าแต่พระมหามุนี อธิการเป็นอันมากของหม่อมฉันเพื่อประโยชน์แก่พระองค์ [๓๔๖] ข้าแต่พระมหาวีระผู้เป็นพระมุนี ขอพระองค์พึงหวนระลึกถึงกุศลกรรมเก่าของหม่อมฉัน เถิด หม่อมฉันสั่งสมบุญไว้ก็เพื่อประโยชน์แก่พระองค์ [๓๔๗] ข้าแต่พระมหาวีระ หม่อมฉันงดเว้นอนาจารในสถานที่ไม่สมควร แม้ชีวิตก็ยอมสละได้เพื่อ ประโยชน์แก่พระองค์ [๓๔๘] ข้าแต่พระมหามุนี พระองค์ประทานหม่อมฉัน เพื่อต้องการให้เป็นภรรยาของผู้อื่นหลาย พันโกฏิกัป ก็เพื่อประโยชน์แก่พระองค์ หม่อมฉันไม่เคยเสียใจในเรื่องนั้นเลย [๓๔๙] ข้าแต่พระมหามุนี พระองค์ประทานหม่อมฉัน เพื่ออุดหนุนผู้อื่นหลายพันโกฏิกัป ก็เพื่อ ประโยชน์แก่พระองค์ หม่อมฉันไม่เคยเสียใจในเรื่องนั้นเลย [๓๕๐] ข้าแต่พระมหามุนี พระองค์ประทานหม่อมฉัน เพื่อประโยชน์เป็นอาหารหลายพันโกฏิกัป ก็เพื่อประโยชน์แก่พระองค์ หม่อมฉันไม่เคยเสียใจในเรื่องนั้นเลย [๓๕๑] หม่อมฉันยอมสละชีวิตหลายพันโกฏิกัป ด้วยคิดว่าจักกระทาความพ้นภัย จึงยอมสละชีวิต ตนเอง [๓๕๒] ข้าแต่พระมหามุนี หม่อมฉันไม่เคยหวงเครื่องประดับ มีผ้านานาชนิดที่ติดตัวอยู่ และภัณฑะของหญิง เพื่อประโยชน์แก่พระองค์ [๓๕๓] ข้าแต่พระมหามุนี ทรัพย์ ข้าวเปลือก ปัจจัยเครื่องบริจาค บ้าน นิคม ไร่ นา บุตร ธิดา หม่อมฉันก็บริจาคแล้ว
  • 4. 4 [๓๕๔] ช้าง ม้า โค ทาสี นางบาเรอ มากมายนับไม่ถ้วน หม่อมฉันก็บริจาคแล้ว เพื่อประโยชน์แก่ พระองค์ [๓๕๕] พระองค์ทรงปรึกษาหม่อมฉันว่า ‘เราจะให้ทานแก่พวกยาจก’ เมื่อพระองค์ให้ทานที่ ประเสริฐอยู่ หม่อมฉันก็ไม่เคยเสียใจ [๓๕๖] ข้าแต่พระมหาวีระ หม่อมฉันยอมรับทุกข์ทรมาน มากมายหลายอย่างจนนับไม่ถ้วน ใน สงสารเป็นอเนก ก็เพื่อประโยชน์แก่พระองค์ [๓๕๗] ข้าแต่พระมหามุนี หม่อมฉันได้รับสุขก็อนุโมทนา และคราวที่ได้รับทุกข์ก็ไม่เสียใจ เป็นผู้ ยินดีแล้วทุกอย่าง เพื่อประโยชน์แก่พระองค์ [๓๕๘] ข้าแต่พระมหามุนี พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบาเพ็ญธรรม โดยมรรคที่สมควร เสวยสุข และทุกข์แล้ว ได้บรรลุพระโพธิญาณ [๓๕๙] การที่พระองค์และหม่อมฉันพบพระสัมพุทธเจ้า ทรงเป็นผู้นาสัตว์โลกพระนามว่าพรหม เทพ และพระนามว่าโคดม แล้วพบพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นที่พึ่งสัตว์โลกเหล่าอื่นอีกก็มาก [๓๖๐] ข้าแต่พระมหามุนี อธิการของหม่อมฉันมีมาก เพื่อประโยชน์แก่พระองค์ หม่อมฉันเมื่อ แสวงหาพุทธธรรมอยู่ ก็ได้เป็นบาทบริจาริกาของพระองค์ [๓๖๑] ใน ๔ อสงไขยและอีก ๑๐๐,๐๐๐ กัป พระมหาวีระพระนามว่าทีปังกร ทรงเป็นผู้นาสัตว์ โลก เสด็จอุบัติขึ้นแล้ว [๓๖๒] ประชาชนในปัจจันตประเทศ ต่างมีใจยินดีทูลนิมนต์พระตถาคตแล้ว ช่วยกันแผ้วถางทาง ซึ่งเป็นที่เสด็จพุทธดาเนิน [๓๖๓] ครั้งนั้น พระองค์เกิดเป็นพราหมณ์นามว่าสุเมธะ กาลังตกแต่งหนทางเพื่อพระสุคต ผู้ทรง เห็นธรรมทั้งปวงกาลังเสด็จมา [๓๖๔] ครั้งนั้น หม่อมฉันได้เกิดในตระกูลพราหมณ์ เป็นหญิงสาวมีนามว่าสุมิตตา เข้าไปสู่ สมาคม [๓๖๕] ถือดอกอุบลไป ๘ กาเพื่อบูชาพระศาสดา ได้เห็นพระองค์ผู้เป็นฤาษีผู้ประเสริฐ ใน ท่ามกลางหมู่ชน [๓๖๖] ครั้งนั้น หม่อมฉันได้เห็นพระองค์ผู้น่าพอใจ ผู้มีความเอ็นดูประทับอยู่นาน ดาเนินผ่านไป จึงได้สาคัญว่าชีวิตของเรามีผล [๓๖๗] ครั้งนั้น หม่อมฉันเห็นความพยายามที่มีผล ของพระองค์ผู้เป็นพระฤาษี ด้วยบุพกรรม แม้ จิตของหม่อมฉันก็เลื่อมใสในพระสัมมาสัมพุทธเจ้า [๓๖๘] หม่อมฉันทาจิตให้เลื่อมใสอย่างยิ่ง ในพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้เป็นพระฤๅษี มีพระทัยเบิก บาน ข้าแต่พระฤาษี หม่อมฉันมิได้เห็นสิ่งอื่นที่ควรถวาย จึงถวายดอกอุบลแด่พระองค์ พร้อมกับกล่าวว่า [๓๖๙] ‘ข้าแต่พระฤๅษี ดอกอุบล ๕ กา จงเป็นของท่าน ดอกอุบล ๓ กา จงเป็นของหม่อมฉัน ข้า แต่พระฤๅษี ดอกบัว ๓ กาของหม่อมฉัน กับดอกบัว ๕ กาของท่านนั้น จงมีผลเสมอกัน เพื่อประโยชน์แก่ พระโพธิญาณของท่าน’
  • 5. 5 [๓๗๐] สุเมธมหาฤาษีรับดอกอุบลแล้วบูชาพระพุทธเจ้าพระนามว่าทีปังกร ผู้แสวงหาคุณอัน ยิ่งใหญ่ มีบริวารยศมากมาย เสด็จดาเนินมาท่ามกลางชุมชน เพื่อประโยชน์แก่พระโพธิญาณ [๓๗๑] พระมหามุนีผู้มีความเพียรมากพระนามว่าวีรทีปังกร ทอดพระเนตรเห็นพระฤาษี ผู้มีใจสูง แล้ว จึงตรัสพยากรณ์ในท่ามกลางชุมชน [๓๗๒] ข้าแต่พระมหามุนี ในกัปที่หาประมาณมิได้นับจากกัปนี้ ไป พระมหามุนีพระนามว่าทีปังกร ทรงพยากรณ์กรรม คือความเป็นผู้ซื่อตรงของหม่อมฉันไว้ว่า [๓๗๓] ‘ท่านฤาษีผู้เป็นใหญ่ อุบาสิกาผู้นี้ จักเป็นผู้มีจิตเสมอกัน มีการกระทาเสมอกัน มีปกติทา ร่วมกัน จักเป็นที่น่ารักเพราะการกระทาเพื่อประโยชน์แก่ท่าน [๓๗๔] จักเป็นหญิงมีรูปร่างน่าดู น่าชม น่ารักยิ่ง น่าชอบใจ มีวาจาอ่อนหวาน มีฤทธิ์ เป็นธรรม ทายาทของท่าน [๓๗๕] อุบาสิกาผู้นี้ จักรักษากุศลธรรมทั้งหลาย เหมือนพวกเจ้าของรักษาเครื่องสมุก [๓๗๖] จะอนุเคราะห์ท่าน จักบาเพ็ญบารมีเพื่อท่าน ละกิเลสได้ดังพญาราชสีห์ละกรงแล้ว จัก บรรลุพระโพธิญาณ’ [๓๗๗] ในกัปที่หาประมาณมิได้นับจากกัปนี้ ไป พระพุทธเจ้าทรงพยากรณ์ดารัสใดกับหม่อมฉัน หม่อมฉันเมื่ออนุโมทนาพระดารัสนั้น เป็นผู้ทาอย่างนี้ [๓๗๘] หม่อมฉันทาจิตให้เลื่อมใสในกุศลกรรมที่ได้ทาไว้ดีแล้วนั้น ได้บังเกิดในกาเนิดเทวดาและ มนุษย์มากมาย [๓๗๙] ได้เสวยสุขและทุกข์ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เมื่อถึงภพสุดท้ายได้เกิดในศากยตระกูล [๓๘๐] หม่อมฉันมีรูปสมบัติ มีโภคสมบัติ มียศ มีศีล สมบูรณ์ด้วยองค์สมบัติทั้งปวง แต่นั้นได้รับ ความยาเกรงจากเจ้านายในตระกูลทั้งหลาย [๓๘๑] พรั่งพร้อมด้วยโลกธรรม คือ ลาภ สักการะ สรรเสริญ มีจิตไม่ประกอบด้วยทุกข์ อยู่อย่างผู้ ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ [๓๘๒] สมจริงตามพระดารัสที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า ‘ข้าแต่พระพระองค์ผู้แกล้วกล้า ในครั้ง นั้น พระองค์ทรงแสดงอุปการะของนารีทั้งหลาย ไว้ภายในพระราชมณเฑียรและในขัตติยบุรีว่า [๓๘๓] นารีผู้มีอุปการะ ๑ นารีผู้เป็นเพื่อนร่วมสุขร่วมทุกข์ ๑ นารีผู้แนะนาประโยชน์ให้ ๑ นารี ผู้ทาความอนุเคราะห์ให้ ๑’ [๓๘๔] พระพุทธเจ้ามีจานวนถึง ๕๐๐ โกฏิ และ ๙๐๐ โกฏิ หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแด่ พระพุทธเจ้าเหล่านั้น [๓๘๕] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย พระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็น ผู้นาชั้นเลิศของชาวโลก มีจานวนถึง ๑,๑๐๐ โกฏิ [๓๘๖] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแด่พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย
  • 6. 6 [๓๘๗] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแก่พระพุทธเจ้า ๒,๐๐๐ โกฏิ และแก่พระพุทธเจ้า ๓,๐๐๐ โกฏิ ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ [๓๘๘] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย พระพุทธเจ้ามีจานวน ถึง ๔,๐๐๐ โกฏิ และ ๕,๐๐๐ โกฏิ [๓๘๙] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแก่พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย [๓๙๐] พระพุทธเจ้ามีจานวนถึง ๖,๐๐๐ โกฏิ และ ๗,๐๐๐ โกฏิ หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแด่ พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ [๓๙๑] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย พระพุทธเจ้ามีจานวนถึง ๘,๐๐๐ โกฏิ และ ๙,๐๐๐ โกฏิ [๓๙๒] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแด่พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย [๓๙๓] พระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็นผู้นาชั้นเลิศของชาวโลก มีจานวนถึง ๑๐๐,๐๐๐ โกฏิ หม่อมฉันจัด ถวายมหาทานแด่พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ [๓๙๔] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย พระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็น ผู้นาอื่นๆ มีจานวนถึง ๙,๐๐๐ โกฏิ [๓๙๕] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแด่พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย [๓๙๖] พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่จานวน ๑๐๐,๐๐๐ โกฏิ ๘๕ องค์ ๘,๕๐๐ โกฏิ ๓๐ โกฏิ [๓๙๗] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแด่พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย [๓๙๘] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแก่พระปัจเจกพุทธเจ้า ผู้ปราศจากราคะจานวน ๘๘ โกฏิ ข้า แต่มหาราช ขอพระองค์ทรงสดับอธิการของหม่อมฉันมีมากมาย [๓๙๙] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแก่พระขีณาสพ ผู้ปราศจากมลทิน ซึ่งเป็นพุทธสาวกมากมาย นับไม่ถ้วน ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงสดับอธิการหม่อมฉันมีมากมาย [๔๐๐] หม่อมฉันจัดถวายมหาทานแด่พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ผู้สั่งสมไว้ดีแล้ว ในธรรมทั้งหลาย และแด่พระอริยสงฆ์ทั้งหลายผู้ประพฤติพระสัทธรรมทุกเมื่อ ด้วยประการฉะนี้ บุคคลผู้ ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุขทั้งในโลกนี้ และโลกหน้า [๔๐๑] บุคคลควรประพฤติธรรมให้สุจริต ไม่ควรประพฤติธรรมให้ทุจริต เพราะบุคคลผู้ประพฤติ ธรรม ย่อมอยู่เป็นสุขทั้งในโลกนี้ และโลกหน้า
  • 7. 7 [๔๐๒] ข้าพระองค์เบื่อหน่ายในสังสารวัฏ จึงออกบวชเป็นบรรพชิตพร้อมด้วยบริวาร ๑,๐๐๐ ครั้น บวชแล้วก็หมดกังวล (กังวล หมายถึงกังวล ๓ คือ (๑) กังวลคือราคะ (๒) กังวลคือโทสะ (๓) กังวลคือ โมหะ) [๔๐๓] หม่อมฉันละการครองเรือนแล้วบวชเป็นบรรพชิต ยังไม่ทันถึงกึ่งเดือน ก็ได้บรรลุสัจจะ ๔ [๔๐๔] ‘คนเป็นอันมากนาจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และปัจจัยเข้ามาถวายมากมายมิใช่น้อย เหมือนคลื่นในมหาสมุทร [๔๐๕] กิเลสทั้งหลายหม่อมฉันก็เผาได้แล้ว ภพทั้งปวงหม่อมฉันก็ถอนได้แล้ว หม่อมฉันตัดกิเลส เครื่องผูกพันได้แล้วอยู่อย่างผู้ไม่มีอาสวะ ดุจพญาช้างตัดเครื่องพันธนาการได้แล้วอยู่อย่างอิสระ [๔๐๖] การที่หม่อมฉันมาในสานักของพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐที่สุด เป็นการมาดีแล้วโดยแท้ วิชชา ๓ หม่อมฉันได้บรรลุแล้วโดยลาดับ คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หม่อมฉันก็ได้ทาสาเร็จแล้ว [๔๐๗] คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ หม่อมฉันก็ได้ทาให้แจ้งแล้ว คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หม่อมฉันก็ได้ทาสาเร็จแล้ว ดังนี้ แล [๔๐๘] หม่อมฉันได้รับทุกข์หลายอย่าง และสุขสมบัติหลายอย่าง ถึงความเป็นผู้บริสุทธิ์ ได้สมบัติ ทุกอย่างด้วยประการฉะนี้ [๔๐๙] บุคคลผู้ถวายตนของตนแด่พระพุทธเจ้า ผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ เพื่อต้องการบุญก็ย่อม พรั่งพร้อมด้วยสหาย บรรลุพระนิพพานซึ่งเป็นอสังขตะ [๔๑๐] กรรมทั้งที่เป็นอดีต ปัจจุบันและอนาคตสิ้นไปแล้ว กรรมทั้งปวงของหม่อมฉันสิ้นไปแล้ว ข้าแต่พระองค์ผู้มีพระจักษุ หม่อมฉันขอกราบไหว้พระยุคลบาท ได้ทราบว่า พระยโสธราภิกษุณีได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ เฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคด้วย ประการฉะนี้ ยโสธราเถริยาปทานที่ ๘ จบ ---------------------------------------------------