SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
พระประวัติในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก
ตอนที่ ๑๙ ปฏาจาราเถริยาปทาน
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒
๑๐. ปฏาจาราเถริยาปทาน
ประวัติในอดีตชาติของพระปฏาจาราเถรี
เกริ่นนา
พระชินเจ้าทรงพอพระทัยในคุณสมบัตินั้น จึงทรงตั้งหม่อมฉันไว้ในตาแหน่งเอตทัคคะว่า ‘ปฏาจา
ราภิกษุณีเพียงผู้เดียวเลิศกว่าภิกษุณีทั้งหลายผู้ทรงวินัย’
(พระปฏาจาราเถรี เมื่อจะประกาศประวัติในอดีตชาติของตน จึงกล่าวว่า)
[๔๖๘] พระชินเจ้าพระนามว่าปทุมุตตระ ผู้ถึงความสาเร็จแห่งธรรมทั้งปวง ทรงเป็นผู้นา เสด็จ
อุบัติขึ้นแล้วในกัปที่ ๑๐๐,๐๐๐ นับจากกัปนี้ ไป
[๔๖๙] ครั้งนั้น หม่อมฉันเกิดในตระกูลเศรษฐี มีความรุ่งเรืองด้วยรัตนะต่างๆ ในกรุงหงสวดี เป็น
ผู้เพียบพร้อมด้วยความสุขมาก
[๔๗๐] หม่อมฉันได้เข้าเฝ้าพระมหาวีระพระองค์นั้นแล้ว ได้ฟังพระธรรมเทศนา แต่นั้นหม่อมฉัน
เกิดความเลื่อมใส ได้ถึงพระชินเจ้าเป็นสรณะ
[๔๗๑] ครั้งนั้น พระชินเจ้าผู้ทรงเป็นผู้นา ทรงสรรเสริญภิกษุณีรูปหนึ่งผู้มีหิริ ผู้คงที่คล่องแคล่วใน
กิจที่ควรและไม่ควรว่า เป็นผู้เลิศกว่าภิกษุณีทั้งหลายผู้ทรงวินัย
[๔๗๒] ครั้งนั้น หม่อมฉันมีจิตเบิกบาน หวังตาแหน่งนั้น จึงทูลนิมนต์พระทศพลผู้ทรงเป็นผู้นา
สัตว์โลกพร้อมทั้งพระสงฆ์
[๔๗๓] ให้เสวยและฉันตลอด ๗ วัน ถวายบาตรและจีวรแล้ว ซบศีรษะลงแทบพระยุคลบาท แล้ว
ได้กราบทูลคานี้ ว่า
[๔๗๔] ‘ข้าแต่พระธีรมุนี ผู้ทรงเป็นผู้นาสัตว์โลก ภิกษุณีรูปใด ที่พระองค์ทรงสรรเสริญใน
ตาแหน่งที่เลิศ ในวันที่ ๘ แต่นี้ ถ้าตาแหน่งนั้นจะสาเร็จแก่หม่อมฉัน หม่อมฉันจักเป็นเช่นนั้น’
[๔๗๕] ครั้งนั้น พระศาสดาได้ตรัสกับหม่อมฉันว่า ‘นางผู้เจริญ อย่ากลัวเลย จงเบาใจเถิด เธอจัก
ได้ตาแหน่งนั้นสมความปรารถนาในอนาคตกาล
[๔๗๖] ในกัปที่ ๑๐๐,๐๐๐ นับจากกัปนี้ ไป พระศาสดาพระนามว่าโคดม ตามพระโคตร ทรง
สมภพในราชสกุลโอกกากราช จักอุบัติขึ้นในโลก
2
[๔๗๗] สตรีผู้นี้ จักมีนามว่าปฏาจารา เป็นธรรมทายาท เป็นโอรสที่ธรรมเนรมิต จักเป็นสาวิกา
ของพระศาสดาพระองคนั้น’
[๔๗๘] ครั้งนั้น หม่อมฉันเป็นผู้เบิกบาน มีจิตประกอบด้วยเมตตา ปรนนิบัติพระชินเจ้าผู้ทรงเป็น
ผู้นาสัตว์โลก พร้อมทั้งพระสงฆ์จนตลอดชีวิต
[๔๗๙] ด้วยกรรมที่หม่อมฉันได้ทาไว้ดีแล้วนั้น และด้วยเจตนาที่ตั้งไว้มั่น หม่อมฉันละกายมนุษย์
แล้ว จึงได้ไปเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
[๔๘๐] ในภัทรกัปนี้ พระพุทธเจ้าผู้เป็นเผ่าพันธุ์ของพราหมณ์ มีพระยศยิ่งใหญ่พระนามว่ากัสสปะ
ตามพระโคตร ประเสริฐกว่าเจ้าลัทธิทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นแล้ว
[๔๘๑] ครั้งนั้น พระเจ้ากาสีพระนามว่ากิกี เป็นใหญ่กว่านรชนในกรุงพาราณสีที่ประเสริฐสุด ทรง
เป็นอุปัฏฐากของพระพุทธเจ้า ผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่
[๔๘๒] หม่อมฉันเป็นธิดาคนที่ ๓ ของพระองค์ มีนามปรากฏว่าภิกษุณี ได้ฟังธรรมของพระชิน
เจ้าผู้เลิศแล้วพอใจการบรรพชา
[๔๘๓] แต่พระชนกนาถมิได้ทรงอนุญาตให้หม่อมฉันทั้งหลายบวช ครั้งนั้น หม่อมฉันทั้งหลายไม่
เกียจคร้านครองเรือนอยู่ ๒๐,๐๐๐ ปี
[๔๘๔] พระราชกัญญาทั้ง ๗ พระองค์ มีความสุข ประพฤติพรหมจรรย์ตั้งแต่ยังเป็นกุมารี
เพลิดเพลินยินดีอุปัฏฐากพระพุทธเจ้า
[๔๘๕] คือ (๑) พระนางสมณี (๒) พระนางสมณคุตตา (๓) พระนางภิกษุณี (๔) พระนางภิกขุ
ทาสิกา (๕) พระนางธรรมา (๖) พระนางสุธรรมา (๗) พระนางสังฆทาสิกา
[๔๘๖] (พระราชธิดาทั้ง ๗ นั้นได้กลับชาติมาเกิด) คือ หม่อมฉัน ๑ พระอุบลวรรณาเถรี ๑ พระ
เขมาเถรี ๑ พระภัทราภิกษุณีเถรี ๑ พระกีสาโคตมีเถรี ๑ พระธรรมทินนาเถรี ๑ และคนที่ ๗ เป็นวิสาขา
มหาอุบาสิกา
[๔๘๗] ด้วยกรรมทั้งหลายที่หม่อมฉันได้ทาไว้ดีแล้วนั้น และด้วยเจตนาที่ตั้งไว้มั่น หม่อมฉันละ
กายมนุษย์แล้ว จึงได้ไปเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
[๔๘๘] บัดนี้ เป็นภพสุดท้าย หม่อมฉันเกิดในตระกูลเศรษฐี ในกรุงสาวัตถีที่เจริญมั่งคั่ง
กว้างขวาง มีทรัพย์มาก
[๔๘๙] เมื่อหม่อมฉันเจริญวัยเป็นสาว ได้ตกอยู่ในอานาจของวิตก พบบุรุษชาวชนบทผู้หนึ่งแล้ว
ได้ตามไปอยู่กับเขา
[๔๙๐] หม่อมฉันคลอดบุตรคนที่หนึ่ง ตั้งครรภ์บุตรคนที่ ๒ เมื่อนั้น หม่อมฉันปรารถนาว่าจะไป
เยี่ยมมารดาบิดา
[๔๙๑] ครั้งนั้น หม่อมฉันมิได้บอกสามี เมื่อสามีของหม่อมฉันไม่อยู่ หม่อมฉันคนเดียวออกจาก
เรือน จะเดินทางไปยังกรุงสาวัตถีที่ประเสริฐสุด
3
[๔๙๒] ภายหลังสามีของหม่อมฉันตามมาทันที่หนทาง ขณะนั้น ลมกรรมชวาต (ลมกรรมชวาต
หมายถึงลมเกิดแต่กรรมคือลมเกิดในครรภ์เวลาคลอดบุตร ได้แก่ ลมเบ่ง) แสนจะทารุณเกิดขึ้นแก่หม่อม
ฉัน
[๔๙๓] ครั้งนั้น มหาเมฆก็เกิดขึ้นในเวลาที่หม่อมฉันจะคลอด สามีไปหาเครื่องกาบังแต่ถูกงูกัด
ตาย
[๔๙๔] ครั้งนั้น หม่อมฉันมีทุกข์เพราะการคลอด หมดที่พึ่ง เป็นคนกาพร้า เดินไปเห็นแม่น้าน้อย
แห่งหนึ่ง ซึ่งมีน้าเต็มเปี่ยม เป็นที่อยู่อาศัยของนกเหยี่ยว
[๔๙๕] หม่อมฉันอุ้มลูกคนเล็ก ข้ามไปที่ฝั่งโน้นคนเดียว ให้ลูกคนเล็กดื่มนมจนอิ่มแล้ว ประสงค์ที่
จะนาบุตรอีกคนหนึ่ง (คนโต) ให้ข้ามมา
[๔๙๖] จึงย้อนกลับมา เหยี่ยวตัวหนึ่งโฉบลูกคนเล็กที่ร้องไห้จ้าไป บุตรคนโตกระแสน้าก็พัดไป
หม่อมฉันนั้นเปี่ยมไปด้วยความเศร้าโศกเหลือประมาณ
[๔๙๗] จึงเดินทางต่อไปยังกรุงสาวัตถี ได้ฟังข่าวว่า ญาติของตน (มารดา บิดาและพี่ชาย) ตาย
แล้ว เวลานั้น หม่อมฉันอัดอั้นตันใจด้วยความเศร้าโศก เปี่ยมด้วยความโสกาดูรอย่างใหญ่หลวง ได้กล่าวว่า
[๔๙๘] ‘ลูก ๒ คนก็ตายเสียแล้ว สามีของเราก็ตายในป่า มารดาบิดาและพี่ชายของเรา ก็ถูกเผา
อยู่ที่เชิงตะกอนเดียวกัน’
[๔๙๙] ครั้งนั้น หม่อมฉันทั้งซูบผอม ทั้งเหลืองซีด ไม่มีที่พึ่ง ตรอมใจอยู่ทุกวัน เมื่อหม่อมฉัน
กระเซอะกระเซิงไป ได้พบพระผู้มีพระภาคผู้ทรงเป็นสารถีฝึกนรชน
[๕๐๐] ลาดับนั้น พระศาสดาได้ตรัสกับหม่อมฉันว่า ‘เธออย่าเศร้าโศกถึงบุตรเลย จงผ่อนคลาย
บ้างเถิด จงแสวงหาตนเองเถิด จะเดือดร้อนอย่างไร้ประโยชน์ไปทาไม
[๕๐๑] บุตร ธิดา ญาติและพวกพ้อง มีไว้เพื่อต้านทานคนผู้ถึงที่ตายไม่ได้เลย บรรดาหมู่ญาติ ผู้ที่
จะต้านทานได้ก็ไม่มี’
[๕๐๒] หม่อมฉันได้ฟังพระดารัสของพระมุนีนั้นแล้ว ได้บรรลุโสดาปัตติผล บวชแล้วไม่นานก็ได้
บรรลุอรหัตตผล
[๕๐๓] หม่อมฉันเป็นผู้มีความชานาญในฤทธิ์ ในทิพพโสตธาตุและเจโตปริยญาณ เป็นผู้ปฏิบัติ
ตามคาสั่งสอนของพระศาสดา
[๕๐๔] รู้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ทิพยจักษุหม่อมฉันก็ชาระให้หมดจดแล้ว หม่อมฉันทาอาสวะ
ทั้งปวงให้สิ้นไปแล้ว เป็นผู้บริสุทธิ์สะอาดปราศจากมลทิน
[๕๐๕] ครั้งนั้น หม่อมฉันเรียนวินัยทั้งปวง ในสานักของพระผู้ทรงรู้เห็นธรรมทั้งปวง และกล่าว
อธิบายพระวินัยทั้งปวงได้อย่างพิสดารตามเป็นจริง
[๕๐๖] พระชินเจ้าทรงพอพระทัยในคุณสมบัตินั้น จึงทรงตั้งหม่อมฉันไว้ในตาแหน่งเอตทัคคะว่า
‘ปฏาจาราภิกษุณีเพียงผู้เดียวเลิศกว่าภิกษุณีทั้งหลายผู้ทรงวินัย’
[๕๐๗] พระศาสดาหม่อมฉันก็ปรนนิบัติแล้ว คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หม่อมฉันก็ทาสาเร็จแล้ว
ภาระอันหนักหม่อมฉันก็ปลงลงได้แล้ว ตัณหาที่นาไปสู่ภพหม่อมฉันก็ถอนได้แล้ว
4
[๕๐๘] กุลบุตรกุลธิดาออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเพื่อประโยชน์ใด ประโยชน์นั้นคือความสิ้น
สังโยชน์ทั้งปวง หม่อมฉันได้บรรลุแล้วโดยลาดับ
[๕๐๙] กิเลสทั้งหลายหม่อมฉันก็เผาได้แล้ว ภพทั้งปวงหม่อมฉันก็ถอนได้แล้ว หม่อมฉันตัดกิเลส
เครื่องผูกพันได้แล้วอยู่อย่างผู้ไม่มีอาสวะ ดุจพญาช้างตัดเครื่องพันธนาการได้แล้วอยู่อย่างอิสระ
[๕๑๐] การที่หม่อมฉันมาในสานักของพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐที่สุด เป็นการมาดีแล้วโดยแท้
วิชชา ๓ หม่อมฉันได้บรรลุแล้วโดยลาดับ คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หม่อมฉันก็ได้ทาสาเร็จแล้ว
[๕๑๑] คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ หม่อมฉันก็ได้ทาให้แจ้งแล้ว
คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หม่อมฉันก็ได้ทาสาเร็จแล้ว ดังนี้ แล
ได้ทราบว่า ปฏาจาราภิกษุณีได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ด้วยประการฉะนี้
ปฏาจาราเถริยาปทานที่ ๑๐ จบ
-------------------------

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie (๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf

Ähnlich wie (๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf (20)

๐๙. วิธุรชาดก.pdf
๐๙. วิธุรชาดก.pdf๐๙. วิธุรชาดก.pdf
๐๙. วิธุรชาดก.pdf
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
 
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
(๑๔) กุมารกัสสปเถระ มจร.pdf
 
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
 
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
 
๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf
 
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
 
๖. ปฐมนาวาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖. ปฐมนาวาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๖. ปฐมนาวาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖. ปฐมนาวาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf
(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf
(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf
 
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
 
(๘) พระอุปาลิเถราปทาน มจร.pdf
(๘) พระอุปาลิเถราปทาน มจร.pdf(๘) พระอุปาลิเถราปทาน มจร.pdf
(๘) พระอุปาลิเถราปทาน มจร.pdf
 
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
 
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
 
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
 
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
 

Mehr von maruay songtanin

115 อนุสาสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
115 อนุสาสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...115 อนุสาสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
115 อนุสาสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
114 มิตจินติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
114 มิตจินติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...114 มิตจินติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
114 มิตจินติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
113 สิงคาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
113 สิงคาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx113 สิงคาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
113 สิงคาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
110 สัพพสังหารกปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...
110 สัพพสังหารกปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...110 สัพพสังหารกปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...
110 สัพพสังหารกปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...
maruay songtanin
 
109 กุณฑปูวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
109 กุณฑปูวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....109 กุณฑปูวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
109 กุณฑปูวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
108 พาหิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
108 พาหิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx108 พาหิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
108 พาหิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
106 อุทัญจนีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
106 อุทัญจนีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...106 อุทัญจนีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
106 อุทัญจนีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
105 ทุพพลกัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
105 ทุพพลกัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...105 ทุพพลกัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
105 ทุพพลกัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
104 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
104 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...104 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
104 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

Mehr von maruay songtanin (20)

115 อนุสาสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
115 อนุสาสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...115 อนุสาสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
115 อนุสาสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
114 มิตจินติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
114 มิตจินติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...114 มิตจินติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
114 มิตจินติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
113 สิงคาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
113 สิงคาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx113 สิงคาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
113 สิงคาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
112 อมราเทวีปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
112 อมราเทวีปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...112 อมราเทวีปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
112 อมราเทวีปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
111 คัทรภปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
111 คัทรภปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...111 คัทรภปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
111 คัทรภปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
110 สัพพสังหารกปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...
110 สัพพสังหารกปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...110 สัพพสังหารกปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...
110 สัพพสังหารกปัญหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...
 
109 กุณฑปูวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
109 กุณฑปูวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....109 กุณฑปูวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
109 กุณฑปูวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
108 พาหิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
108 พาหิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx108 พาหิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
108 พาหิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
106 อุทัญจนีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
106 อุทัญจนีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...106 อุทัญจนีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
106 อุทัญจนีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
105 ทุพพลกัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
105 ทุพพลกัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...105 ทุพพลกัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
105 ทุพพลกัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
104 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
104 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...104 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
104 มิตตวินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
102 ปัณณิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
101 ปโรสตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
100 อสาตรูปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
099 ปโรสหัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
098 กูฏวาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
097 นามสิทธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
096 เตลปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf

  • 1. 1 พระประวัติในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก ตอนที่ ๑๙ ปฏาจาราเถริยาปทาน พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ ๑๐. ปฏาจาราเถริยาปทาน ประวัติในอดีตชาติของพระปฏาจาราเถรี เกริ่นนา พระชินเจ้าทรงพอพระทัยในคุณสมบัตินั้น จึงทรงตั้งหม่อมฉันไว้ในตาแหน่งเอตทัคคะว่า ‘ปฏาจา ราภิกษุณีเพียงผู้เดียวเลิศกว่าภิกษุณีทั้งหลายผู้ทรงวินัย’ (พระปฏาจาราเถรี เมื่อจะประกาศประวัติในอดีตชาติของตน จึงกล่าวว่า) [๔๖๘] พระชินเจ้าพระนามว่าปทุมุตตระ ผู้ถึงความสาเร็จแห่งธรรมทั้งปวง ทรงเป็นผู้นา เสด็จ อุบัติขึ้นแล้วในกัปที่ ๑๐๐,๐๐๐ นับจากกัปนี้ ไป [๔๖๙] ครั้งนั้น หม่อมฉันเกิดในตระกูลเศรษฐี มีความรุ่งเรืองด้วยรัตนะต่างๆ ในกรุงหงสวดี เป็น ผู้เพียบพร้อมด้วยความสุขมาก [๔๗๐] หม่อมฉันได้เข้าเฝ้าพระมหาวีระพระองค์นั้นแล้ว ได้ฟังพระธรรมเทศนา แต่นั้นหม่อมฉัน เกิดความเลื่อมใส ได้ถึงพระชินเจ้าเป็นสรณะ [๔๗๑] ครั้งนั้น พระชินเจ้าผู้ทรงเป็นผู้นา ทรงสรรเสริญภิกษุณีรูปหนึ่งผู้มีหิริ ผู้คงที่คล่องแคล่วใน กิจที่ควรและไม่ควรว่า เป็นผู้เลิศกว่าภิกษุณีทั้งหลายผู้ทรงวินัย [๔๗๒] ครั้งนั้น หม่อมฉันมีจิตเบิกบาน หวังตาแหน่งนั้น จึงทูลนิมนต์พระทศพลผู้ทรงเป็นผู้นา สัตว์โลกพร้อมทั้งพระสงฆ์ [๔๗๓] ให้เสวยและฉันตลอด ๗ วัน ถวายบาตรและจีวรแล้ว ซบศีรษะลงแทบพระยุคลบาท แล้ว ได้กราบทูลคานี้ ว่า [๔๗๔] ‘ข้าแต่พระธีรมุนี ผู้ทรงเป็นผู้นาสัตว์โลก ภิกษุณีรูปใด ที่พระองค์ทรงสรรเสริญใน ตาแหน่งที่เลิศ ในวันที่ ๘ แต่นี้ ถ้าตาแหน่งนั้นจะสาเร็จแก่หม่อมฉัน หม่อมฉันจักเป็นเช่นนั้น’ [๔๗๕] ครั้งนั้น พระศาสดาได้ตรัสกับหม่อมฉันว่า ‘นางผู้เจริญ อย่ากลัวเลย จงเบาใจเถิด เธอจัก ได้ตาแหน่งนั้นสมความปรารถนาในอนาคตกาล [๔๗๖] ในกัปที่ ๑๐๐,๐๐๐ นับจากกัปนี้ ไป พระศาสดาพระนามว่าโคดม ตามพระโคตร ทรง สมภพในราชสกุลโอกกากราช จักอุบัติขึ้นในโลก
  • 2. 2 [๔๗๗] สตรีผู้นี้ จักมีนามว่าปฏาจารา เป็นธรรมทายาท เป็นโอรสที่ธรรมเนรมิต จักเป็นสาวิกา ของพระศาสดาพระองคนั้น’ [๔๗๘] ครั้งนั้น หม่อมฉันเป็นผู้เบิกบาน มีจิตประกอบด้วยเมตตา ปรนนิบัติพระชินเจ้าผู้ทรงเป็น ผู้นาสัตว์โลก พร้อมทั้งพระสงฆ์จนตลอดชีวิต [๔๗๙] ด้วยกรรมที่หม่อมฉันได้ทาไว้ดีแล้วนั้น และด้วยเจตนาที่ตั้งไว้มั่น หม่อมฉันละกายมนุษย์ แล้ว จึงได้ไปเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ [๔๘๐] ในภัทรกัปนี้ พระพุทธเจ้าผู้เป็นเผ่าพันธุ์ของพราหมณ์ มีพระยศยิ่งใหญ่พระนามว่ากัสสปะ ตามพระโคตร ประเสริฐกว่าเจ้าลัทธิทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นแล้ว [๔๘๑] ครั้งนั้น พระเจ้ากาสีพระนามว่ากิกี เป็นใหญ่กว่านรชนในกรุงพาราณสีที่ประเสริฐสุด ทรง เป็นอุปัฏฐากของพระพุทธเจ้า ผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ [๔๘๒] หม่อมฉันเป็นธิดาคนที่ ๓ ของพระองค์ มีนามปรากฏว่าภิกษุณี ได้ฟังธรรมของพระชิน เจ้าผู้เลิศแล้วพอใจการบรรพชา [๔๘๓] แต่พระชนกนาถมิได้ทรงอนุญาตให้หม่อมฉันทั้งหลายบวช ครั้งนั้น หม่อมฉันทั้งหลายไม่ เกียจคร้านครองเรือนอยู่ ๒๐,๐๐๐ ปี [๔๘๔] พระราชกัญญาทั้ง ๗ พระองค์ มีความสุข ประพฤติพรหมจรรย์ตั้งแต่ยังเป็นกุมารี เพลิดเพลินยินดีอุปัฏฐากพระพุทธเจ้า [๔๘๕] คือ (๑) พระนางสมณี (๒) พระนางสมณคุตตา (๓) พระนางภิกษุณี (๔) พระนางภิกขุ ทาสิกา (๕) พระนางธรรมา (๖) พระนางสุธรรมา (๗) พระนางสังฆทาสิกา [๔๘๖] (พระราชธิดาทั้ง ๗ นั้นได้กลับชาติมาเกิด) คือ หม่อมฉัน ๑ พระอุบลวรรณาเถรี ๑ พระ เขมาเถรี ๑ พระภัทราภิกษุณีเถรี ๑ พระกีสาโคตมีเถรี ๑ พระธรรมทินนาเถรี ๑ และคนที่ ๗ เป็นวิสาขา มหาอุบาสิกา [๔๘๗] ด้วยกรรมทั้งหลายที่หม่อมฉันได้ทาไว้ดีแล้วนั้น และด้วยเจตนาที่ตั้งไว้มั่น หม่อมฉันละ กายมนุษย์แล้ว จึงได้ไปเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ [๔๘๘] บัดนี้ เป็นภพสุดท้าย หม่อมฉันเกิดในตระกูลเศรษฐี ในกรุงสาวัตถีที่เจริญมั่งคั่ง กว้างขวาง มีทรัพย์มาก [๔๘๙] เมื่อหม่อมฉันเจริญวัยเป็นสาว ได้ตกอยู่ในอานาจของวิตก พบบุรุษชาวชนบทผู้หนึ่งแล้ว ได้ตามไปอยู่กับเขา [๔๙๐] หม่อมฉันคลอดบุตรคนที่หนึ่ง ตั้งครรภ์บุตรคนที่ ๒ เมื่อนั้น หม่อมฉันปรารถนาว่าจะไป เยี่ยมมารดาบิดา [๔๙๑] ครั้งนั้น หม่อมฉันมิได้บอกสามี เมื่อสามีของหม่อมฉันไม่อยู่ หม่อมฉันคนเดียวออกจาก เรือน จะเดินทางไปยังกรุงสาวัตถีที่ประเสริฐสุด
  • 3. 3 [๔๙๒] ภายหลังสามีของหม่อมฉันตามมาทันที่หนทาง ขณะนั้น ลมกรรมชวาต (ลมกรรมชวาต หมายถึงลมเกิดแต่กรรมคือลมเกิดในครรภ์เวลาคลอดบุตร ได้แก่ ลมเบ่ง) แสนจะทารุณเกิดขึ้นแก่หม่อม ฉัน [๔๙๓] ครั้งนั้น มหาเมฆก็เกิดขึ้นในเวลาที่หม่อมฉันจะคลอด สามีไปหาเครื่องกาบังแต่ถูกงูกัด ตาย [๔๙๔] ครั้งนั้น หม่อมฉันมีทุกข์เพราะการคลอด หมดที่พึ่ง เป็นคนกาพร้า เดินไปเห็นแม่น้าน้อย แห่งหนึ่ง ซึ่งมีน้าเต็มเปี่ยม เป็นที่อยู่อาศัยของนกเหยี่ยว [๔๙๕] หม่อมฉันอุ้มลูกคนเล็ก ข้ามไปที่ฝั่งโน้นคนเดียว ให้ลูกคนเล็กดื่มนมจนอิ่มแล้ว ประสงค์ที่ จะนาบุตรอีกคนหนึ่ง (คนโต) ให้ข้ามมา [๔๙๖] จึงย้อนกลับมา เหยี่ยวตัวหนึ่งโฉบลูกคนเล็กที่ร้องไห้จ้าไป บุตรคนโตกระแสน้าก็พัดไป หม่อมฉันนั้นเปี่ยมไปด้วยความเศร้าโศกเหลือประมาณ [๔๙๗] จึงเดินทางต่อไปยังกรุงสาวัตถี ได้ฟังข่าวว่า ญาติของตน (มารดา บิดาและพี่ชาย) ตาย แล้ว เวลานั้น หม่อมฉันอัดอั้นตันใจด้วยความเศร้าโศก เปี่ยมด้วยความโสกาดูรอย่างใหญ่หลวง ได้กล่าวว่า [๔๙๘] ‘ลูก ๒ คนก็ตายเสียแล้ว สามีของเราก็ตายในป่า มารดาบิดาและพี่ชายของเรา ก็ถูกเผา อยู่ที่เชิงตะกอนเดียวกัน’ [๔๙๙] ครั้งนั้น หม่อมฉันทั้งซูบผอม ทั้งเหลืองซีด ไม่มีที่พึ่ง ตรอมใจอยู่ทุกวัน เมื่อหม่อมฉัน กระเซอะกระเซิงไป ได้พบพระผู้มีพระภาคผู้ทรงเป็นสารถีฝึกนรชน [๕๐๐] ลาดับนั้น พระศาสดาได้ตรัสกับหม่อมฉันว่า ‘เธออย่าเศร้าโศกถึงบุตรเลย จงผ่อนคลาย บ้างเถิด จงแสวงหาตนเองเถิด จะเดือดร้อนอย่างไร้ประโยชน์ไปทาไม [๕๐๑] บุตร ธิดา ญาติและพวกพ้อง มีไว้เพื่อต้านทานคนผู้ถึงที่ตายไม่ได้เลย บรรดาหมู่ญาติ ผู้ที่ จะต้านทานได้ก็ไม่มี’ [๕๐๒] หม่อมฉันได้ฟังพระดารัสของพระมุนีนั้นแล้ว ได้บรรลุโสดาปัตติผล บวชแล้วไม่นานก็ได้ บรรลุอรหัตตผล [๕๐๓] หม่อมฉันเป็นผู้มีความชานาญในฤทธิ์ ในทิพพโสตธาตุและเจโตปริยญาณ เป็นผู้ปฏิบัติ ตามคาสั่งสอนของพระศาสดา [๕๐๔] รู้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ทิพยจักษุหม่อมฉันก็ชาระให้หมดจดแล้ว หม่อมฉันทาอาสวะ ทั้งปวงให้สิ้นไปแล้ว เป็นผู้บริสุทธิ์สะอาดปราศจากมลทิน [๕๐๕] ครั้งนั้น หม่อมฉันเรียนวินัยทั้งปวง ในสานักของพระผู้ทรงรู้เห็นธรรมทั้งปวง และกล่าว อธิบายพระวินัยทั้งปวงได้อย่างพิสดารตามเป็นจริง [๕๐๖] พระชินเจ้าทรงพอพระทัยในคุณสมบัตินั้น จึงทรงตั้งหม่อมฉันไว้ในตาแหน่งเอตทัคคะว่า ‘ปฏาจาราภิกษุณีเพียงผู้เดียวเลิศกว่าภิกษุณีทั้งหลายผู้ทรงวินัย’ [๕๐๗] พระศาสดาหม่อมฉันก็ปรนนิบัติแล้ว คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หม่อมฉันก็ทาสาเร็จแล้ว ภาระอันหนักหม่อมฉันก็ปลงลงได้แล้ว ตัณหาที่นาไปสู่ภพหม่อมฉันก็ถอนได้แล้ว
  • 4. 4 [๕๐๘] กุลบุตรกุลธิดาออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเพื่อประโยชน์ใด ประโยชน์นั้นคือความสิ้น สังโยชน์ทั้งปวง หม่อมฉันได้บรรลุแล้วโดยลาดับ [๕๐๙] กิเลสทั้งหลายหม่อมฉันก็เผาได้แล้ว ภพทั้งปวงหม่อมฉันก็ถอนได้แล้ว หม่อมฉันตัดกิเลส เครื่องผูกพันได้แล้วอยู่อย่างผู้ไม่มีอาสวะ ดุจพญาช้างตัดเครื่องพันธนาการได้แล้วอยู่อย่างอิสระ [๕๑๐] การที่หม่อมฉันมาในสานักของพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐที่สุด เป็นการมาดีแล้วโดยแท้ วิชชา ๓ หม่อมฉันได้บรรลุแล้วโดยลาดับ คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หม่อมฉันก็ได้ทาสาเร็จแล้ว [๕๑๑] คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ หม่อมฉันก็ได้ทาให้แจ้งแล้ว คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หม่อมฉันก็ได้ทาสาเร็จแล้ว ดังนี้ แล ได้ทราบว่า ปฏาจาราภิกษุณีได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ด้วยประการฉะนี้ ปฏาจาราเถริยาปทานที่ ๑๐ จบ -------------------------