SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 3
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
พระประวัติในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก
ตอนที่ ๑๐ ปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๒ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
๘. ปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน
ประวัติในอดีตชาติของพระปิณโฑลภารทวาชเถระ
เกริ่นนา
เมื่อพระผู้มีพระภาคพระนามว่าโคดมพระองค์นั้น ทรงประกาศธรรมวินัย ผู้นี้ จักเกิดเป็นบุตรของ
พราหมณ์ ออกจากตระกูลพราหมณ์แล้วบวชในขณะนั้น เขามีจิตเด็ดเดี่ยวเพื่อบาเพ็ญเพียร เป็นผู้สงบระงับ
ไม่มีอุปธิ กาหนดรู้อาสวะทั้งปวงเป็นผู้ไม่มีอาสวะแล้วนิพพาน
(พระปิณโฑลภารทวาชเถระ เมื่อจะประกาศประวัติในอดีตชาติของตน จึงกล่าวว่า)
[๖๑๓] ครั้งนั้น พระชินเจ้าพระนามว่าปทุมุตตระ ผู้เป็นพระสยัมภู ทรงเป็นบุคคลผู้เลิศ ประทับ
อยู่บนภูเขาจิตรกูฏ เบื้องหน้าภูเขาหิมพานต์
[๖๑๔] ข้าพเจ้าได้เกิดเป็นพญาเนื้ อ ไม่มีความกลัวเกรง สามารถวิ่งไปได้ทั้ง ๔ ทิศ อยู่ ณ ที่นั้น
ซึ่งสัตว์จานวนมากได้ฟังเสียงแล้วย่อมครั่นคร้าม
[๖๑๕] ข้าพเจ้าได้คาบดอกปทุมที่บานดีแล้ว เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าผู้องอาจกว่านรชน ได้บูชา
พระพุทธเจ้าผู้เสด็จออกจากสมาธิ
[๖๑๖] ครั้งนั้น ข้าพเจ้าได้นมัสการพระพุทธเจ้า ผู้ประเสริฐที่สุด ผู้สูงสุดแห่งนรชน ในทิศทั้ง ๔
ทาจิตของตนให้เลื่อมใส ได้บันลือสีหนาท
[๖๑๗] พระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมุตตระ ผู้ทรงรู้แจ้งโลก ผู้สมควรรับเครื่องบูชา ประทับนั่งบน
อาสนะของพระองค์ ได้ตรัสพระคาถาเหล่านี้ ว่า
[๖๑๘] เทวดาทั้งปวง พอทราบพระดารัสของพระพุทธเจ้าแล้ว ก็มาประชุมกันด้วยคิดว่า
พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐกว่าเจ้าลัทธิทั้งหลายเสด็จมาแล้ว พวกเราจักฟังธรรมของพระองค์
[๖๑๙] พระพุทธเจ้าผู้เป็นพระมหามุนี ผู้ทรงเป็นผู้นาสัตว์โลก ทรงเห็นกาลไกล ทรงประกาศเสียง
ของข้าพเจ้าข้างหน้าของเทวดา และมนุษย์เหล่านั้นผู้มีความร่าเริงว่า
[๖๒๐] เราจักพยากรณ์ผู้ที่ได้ถวายดอกปทุมนี้ และได้บันลือสีหนาท ท่านทั้งหลายจงฟังเรากล่าว
เถิด
2
[๖๒๑] ในกัปที่ ๘ นับจากกัปนี้ ไป ผู้นั้นจักเกิดเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ สมบูรณ์ด้วยรัตนะ ๗
ประการ เป็นใหญ่ในทวีปทั้ง ๔
[๖๒๒] จักครองความเป็นใหญ่ในแผ่นดินถึง ๖๔ ชาติ จักเป็นพระเจ้าจักรพรรดิพระนามว่าปทุม
ตามโคตร มีพลานุภาพมาก
[๖๒๓] ในกัปที่ ๑๐๐,๐๐๐ (นับจากกัปนี้ ไป) พระศาสดาพระนามว่าโคดม ตามพระโคตร ทรง
สมภพในราชสกุลโอกกากราช จักอุบัติขึ้นในโลก
[๖๒๔] เมื่อพระผู้มีพระภาคพระนามว่าโคดมพระองค์นั้น ทรงประกาศธรรมวินัย ผู้นี้ จักเกิดเป็น
บุตรของพราหมณ์ ออกจากตระกูลพราหมณ์แล้วบวชในขณะนั้น
[๖๒๕] เขามีจิตเด็ดเดี่ยวเพื่อบาเพ็ญเพียร เป็นผู้สงบระงับ ไม่มีอุปธิ กาหนดรู้อาสวะทั้งปวงเป็นผู้
ไม่มีอาสวะแล้วนิพพาน
[๖๒๖] ณ เสนาสนะที่สงัด เว้นจากผู้คน พลุกพล่านด้วยเนื้ อร้าย เขากาหนดรู้อาสวะทั้งปวงเป็นผู้
ไม่มีอาสวะแล้วนิพพาน
[๖๒๗] คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ ข้าพเจ้าได้ทาให้แจ้งแล้ว
คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ข้าพเจ้าก็ได้ทาสาเร็จแล้ว ดังนี้ แล
ได้ทราบว่า ท่านพระปิณโฑลภารทวาชเถระได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ด้วประการฉะนี้
ปิณโฑลภารทวาชเถราปทานที่ ๘ จบ
---------------------------------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกายอปทาน ภาค ๑
เถราปทาน ๑. พุทธวรรค
พรรณนาปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน
แม้พระเถระนี้ ก็ได้กระทาบุญญาธิการไว้ในพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ ก่อสร้างบุญทั้งหลายอันเป็น
อุปนิสัยแก่วิวัฏฏะไว้ในภพนั้นๆ ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า ปทุมุตตระ บังเกิดในกาเนิด
ราชสีห์อยู่ในถ้าที่เชิงภูเขา. เพื่อจะทรงกระทาความอนุเคราะห์แก่ราชสีห์นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงเสด็จเข้า
ไปยังถ้าเป็นที่อยู่ของราชสีห์นั้น ในเวลาที่ออกไปหาเหยื่อ ทรงนั่งเข้านิโรธสมาบัติอยู่.
ราชสีห์จับเหยื่อแล้วกลับมายืนอยู่ที่ประตูถ้า เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วทั้งร่าเริงและยินดี จึง
บูชาด้วยดอกไม้ที่เกิดในน้าและบนบก ทาจิตให้เลื่อมใส. เพื่อต้องการจะอารักขาพระผู้มีพระภาคเจ้า จึง
บันลือสีหนาท ๓ เวลา เพื่อให้เนื้ อร้ายอื่นๆ หนีไป ได้ยืนอยู่ด้วยสติอันไปแล้วในพระพุทธเจ้า. บูชาอยู่ตลอด
๗ วัน เหมือนในวันแรก.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงดาริว่า เมื่อล่วง ๗ วันแล้วควรออกจากนิโรธสมาบัติ ส่วนแห่งบุญมี
ประมาณเท่านี้ จักเป็นอุปนิสัยแก่ราชสีห์นี้ ดังนี้ เมื่อราชสีห์นั้นเห็นอยู่นั่นแหละ จึงเหาะขึ้นไปสู่อากาศ เสด็จ
3
ไปยังพระวิหารทีเดียว.
ราชสีห์ไม่อาจอดกลั้นความทุกข์ เพราะพลัดพรากจากพระพุทธเจ้า จึงกระทากาละแล้วบังเกิด
ในตระกูลมีโภคะมากในนครหังสวดี พอเจริญวัยแล้ว ได้ไปยังพระวิหารกับชาวเมือง ฟังพระธรรมเทศนาของ
พระศาสดาแล้วเลื่อมใส ยังมหาทานให้เป็นไปแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประธานตลอด ๗ วัน ทาบุญ
ทั้งหลายจนชั่วชีวิต ท่องเที่ยวไปๆ มาๆ อยู่ในเทวดาและและมนุษย์.
ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าของเราทั้งหลาย จึงบังเกิดเป็นบุตรของปุโรหิตแห่งพระเจ้าอุเทน.
เขาได้มีชื่อว่า ภารทวาชะ. ภารทวาชะนั้นเจริญวัยแล้ว เรียนจบไตรเพทสอนมนต์แก่มาณพ
๕๐๐ คน เพราะความที่ตนเป็นผู้มีความประพฤติไม่เหมาะสม โดยความเป็นผู้กินจุ ถูกพวกมาณพเหล่านั้น
ละทิ้ง จึงไปยังนครราชคฤห์ ได้เห็นลาภสักการะของพระผู้มีพระภาคเจ้าและภิกษุสงฆ์ จึงบวชในพระศาสนา
เป็นผู้ไม่รู้ประมาณในการบริโภคอยู่.
พระศาสดาทรงให้ตั้งอยู่ในความเป็นผู้รู้จักประมาณด้วยอุบาย ท่านจึงเริ่มตั้งวิปัสสนา ไม่นาน
นัก ก็ได้อภิญญา ๖.
ก็ครั้นเป็นผู้ได้อภิญญา ๖ แล้ว จึงบันลือสีหนาทว่า ผู้ใดมีความสงสัยในมรรคและผล ผู้นั้นจง
ถามเราดังนี้ ทั้งต่อพระพักตร์ของพระผู้มีพระภาคเจ้าและในหมู่ภิกษุ ด้วยคิดว่า สิ่งใดที่สาวกทั้งหลายพึง
บรรลุ สิ่งนั้นเราบรรลุแล้ว. เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงตั้งท่านไว้ในเอตทัคคะว่า ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย ปิณโฑลภารทวาชะนี้ เป็นเลิศแห่งภิกษุสาวกทั้งหลายของเราผู้บันลือสีหนาท.
พระเถระนั้นครั้นได้ตาแหน่งเอตทัคคะอย่างนี้ แล้ว ระลึกถึงบุญสมภารที่ได้กระทาไว้ในชาติก่อน
เมื่อจะทาให้แจ้งซึ่งอปทานแห่งบุญกรรมของตนด้วยความโสมนัส จึงกล่าวคามีอาทิว่า ปทุมุตฺตโร ดังนี้ .
จบพรรณนาปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน
-----------------------------------------------------

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie (๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf

พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติ
gueste13f2b
 
ประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวก
chaichaichaiyoyoyo
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ
Onpa Akaradech
 

Ähnlich wie (๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf (20)

(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติ
 
ประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวก
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
 
(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf
(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf
(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf
 
test
testtest
test
 
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
 
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf
 
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
 
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
 
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
(๙) พระอัญญาโกณฑัญญเถราปทาน มจร.pdf
 
9789740335887
97897403358879789740335887
9789740335887
 

Mehr von maruay songtanin

300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 

Mehr von maruay songtanin (20)

300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
300 วกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
299 โกมาริยปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
298 อุทุมพรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
297 กามวิลาปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
294 ชัมพุขาทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
293 กายนิพพินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
292 สุปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
291 ภัทรฆฏเภทกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
290 สีลวีมังสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
289 นานาฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
288 มัจฉุททานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
287 ลาภครหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
284 สิริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
283 วัฑฒกีสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
282 เสยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
281 อัพภันตรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf

  • 1. 1 พระประวัติในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก ตอนที่ ๑๐ ปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๒ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ ๘. ปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน ประวัติในอดีตชาติของพระปิณโฑลภารทวาชเถระ เกริ่นนา เมื่อพระผู้มีพระภาคพระนามว่าโคดมพระองค์นั้น ทรงประกาศธรรมวินัย ผู้นี้ จักเกิดเป็นบุตรของ พราหมณ์ ออกจากตระกูลพราหมณ์แล้วบวชในขณะนั้น เขามีจิตเด็ดเดี่ยวเพื่อบาเพ็ญเพียร เป็นผู้สงบระงับ ไม่มีอุปธิ กาหนดรู้อาสวะทั้งปวงเป็นผู้ไม่มีอาสวะแล้วนิพพาน (พระปิณโฑลภารทวาชเถระ เมื่อจะประกาศประวัติในอดีตชาติของตน จึงกล่าวว่า) [๖๑๓] ครั้งนั้น พระชินเจ้าพระนามว่าปทุมุตตระ ผู้เป็นพระสยัมภู ทรงเป็นบุคคลผู้เลิศ ประทับ อยู่บนภูเขาจิตรกูฏ เบื้องหน้าภูเขาหิมพานต์ [๖๑๔] ข้าพเจ้าได้เกิดเป็นพญาเนื้ อ ไม่มีความกลัวเกรง สามารถวิ่งไปได้ทั้ง ๔ ทิศ อยู่ ณ ที่นั้น ซึ่งสัตว์จานวนมากได้ฟังเสียงแล้วย่อมครั่นคร้าม [๖๑๕] ข้าพเจ้าได้คาบดอกปทุมที่บานดีแล้ว เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าผู้องอาจกว่านรชน ได้บูชา พระพุทธเจ้าผู้เสด็จออกจากสมาธิ [๖๑๖] ครั้งนั้น ข้าพเจ้าได้นมัสการพระพุทธเจ้า ผู้ประเสริฐที่สุด ผู้สูงสุดแห่งนรชน ในทิศทั้ง ๔ ทาจิตของตนให้เลื่อมใส ได้บันลือสีหนาท [๖๑๗] พระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมุตตระ ผู้ทรงรู้แจ้งโลก ผู้สมควรรับเครื่องบูชา ประทับนั่งบน อาสนะของพระองค์ ได้ตรัสพระคาถาเหล่านี้ ว่า [๖๑๘] เทวดาทั้งปวง พอทราบพระดารัสของพระพุทธเจ้าแล้ว ก็มาประชุมกันด้วยคิดว่า พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐกว่าเจ้าลัทธิทั้งหลายเสด็จมาแล้ว พวกเราจักฟังธรรมของพระองค์ [๖๑๙] พระพุทธเจ้าผู้เป็นพระมหามุนี ผู้ทรงเป็นผู้นาสัตว์โลก ทรงเห็นกาลไกล ทรงประกาศเสียง ของข้าพเจ้าข้างหน้าของเทวดา และมนุษย์เหล่านั้นผู้มีความร่าเริงว่า [๖๒๐] เราจักพยากรณ์ผู้ที่ได้ถวายดอกปทุมนี้ และได้บันลือสีหนาท ท่านทั้งหลายจงฟังเรากล่าว เถิด
  • 2. 2 [๖๒๑] ในกัปที่ ๘ นับจากกัปนี้ ไป ผู้นั้นจักเกิดเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ สมบูรณ์ด้วยรัตนะ ๗ ประการ เป็นใหญ่ในทวีปทั้ง ๔ [๖๒๒] จักครองความเป็นใหญ่ในแผ่นดินถึง ๖๔ ชาติ จักเป็นพระเจ้าจักรพรรดิพระนามว่าปทุม ตามโคตร มีพลานุภาพมาก [๖๒๓] ในกัปที่ ๑๐๐,๐๐๐ (นับจากกัปนี้ ไป) พระศาสดาพระนามว่าโคดม ตามพระโคตร ทรง สมภพในราชสกุลโอกกากราช จักอุบัติขึ้นในโลก [๖๒๔] เมื่อพระผู้มีพระภาคพระนามว่าโคดมพระองค์นั้น ทรงประกาศธรรมวินัย ผู้นี้ จักเกิดเป็น บุตรของพราหมณ์ ออกจากตระกูลพราหมณ์แล้วบวชในขณะนั้น [๖๒๕] เขามีจิตเด็ดเดี่ยวเพื่อบาเพ็ญเพียร เป็นผู้สงบระงับ ไม่มีอุปธิ กาหนดรู้อาสวะทั้งปวงเป็นผู้ ไม่มีอาสวะแล้วนิพพาน [๖๒๖] ณ เสนาสนะที่สงัด เว้นจากผู้คน พลุกพล่านด้วยเนื้ อร้าย เขากาหนดรู้อาสวะทั้งปวงเป็นผู้ ไม่มีอาสวะแล้วนิพพาน [๖๒๗] คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ ข้าพเจ้าได้ทาให้แจ้งแล้ว คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ข้าพเจ้าก็ได้ทาสาเร็จแล้ว ดังนี้ แล ได้ทราบว่า ท่านพระปิณโฑลภารทวาชเถระได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ด้วประการฉะนี้ ปิณโฑลภารทวาชเถราปทานที่ ๘ จบ --------------------------------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกายอปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค พรรณนาปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน แม้พระเถระนี้ ก็ได้กระทาบุญญาธิการไว้ในพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ ก่อสร้างบุญทั้งหลายอันเป็น อุปนิสัยแก่วิวัฏฏะไว้ในภพนั้นๆ ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า ปทุมุตตระ บังเกิดในกาเนิด ราชสีห์อยู่ในถ้าที่เชิงภูเขา. เพื่อจะทรงกระทาความอนุเคราะห์แก่ราชสีห์นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงเสด็จเข้า ไปยังถ้าเป็นที่อยู่ของราชสีห์นั้น ในเวลาที่ออกไปหาเหยื่อ ทรงนั่งเข้านิโรธสมาบัติอยู่. ราชสีห์จับเหยื่อแล้วกลับมายืนอยู่ที่ประตูถ้า เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วทั้งร่าเริงและยินดี จึง บูชาด้วยดอกไม้ที่เกิดในน้าและบนบก ทาจิตให้เลื่อมใส. เพื่อต้องการจะอารักขาพระผู้มีพระภาคเจ้า จึง บันลือสีหนาท ๓ เวลา เพื่อให้เนื้ อร้ายอื่นๆ หนีไป ได้ยืนอยู่ด้วยสติอันไปแล้วในพระพุทธเจ้า. บูชาอยู่ตลอด ๗ วัน เหมือนในวันแรก. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงดาริว่า เมื่อล่วง ๗ วันแล้วควรออกจากนิโรธสมาบัติ ส่วนแห่งบุญมี ประมาณเท่านี้ จักเป็นอุปนิสัยแก่ราชสีห์นี้ ดังนี้ เมื่อราชสีห์นั้นเห็นอยู่นั่นแหละ จึงเหาะขึ้นไปสู่อากาศ เสด็จ
  • 3. 3 ไปยังพระวิหารทีเดียว. ราชสีห์ไม่อาจอดกลั้นความทุกข์ เพราะพลัดพรากจากพระพุทธเจ้า จึงกระทากาละแล้วบังเกิด ในตระกูลมีโภคะมากในนครหังสวดี พอเจริญวัยแล้ว ได้ไปยังพระวิหารกับชาวเมือง ฟังพระธรรมเทศนาของ พระศาสดาแล้วเลื่อมใส ยังมหาทานให้เป็นไปแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประธานตลอด ๗ วัน ทาบุญ ทั้งหลายจนชั่วชีวิต ท่องเที่ยวไปๆ มาๆ อยู่ในเทวดาและและมนุษย์. ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าของเราทั้งหลาย จึงบังเกิดเป็นบุตรของปุโรหิตแห่งพระเจ้าอุเทน. เขาได้มีชื่อว่า ภารทวาชะ. ภารทวาชะนั้นเจริญวัยแล้ว เรียนจบไตรเพทสอนมนต์แก่มาณพ ๕๐๐ คน เพราะความที่ตนเป็นผู้มีความประพฤติไม่เหมาะสม โดยความเป็นผู้กินจุ ถูกพวกมาณพเหล่านั้น ละทิ้ง จึงไปยังนครราชคฤห์ ได้เห็นลาภสักการะของพระผู้มีพระภาคเจ้าและภิกษุสงฆ์ จึงบวชในพระศาสนา เป็นผู้ไม่รู้ประมาณในการบริโภคอยู่. พระศาสดาทรงให้ตั้งอยู่ในความเป็นผู้รู้จักประมาณด้วยอุบาย ท่านจึงเริ่มตั้งวิปัสสนา ไม่นาน นัก ก็ได้อภิญญา ๖. ก็ครั้นเป็นผู้ได้อภิญญา ๖ แล้ว จึงบันลือสีหนาทว่า ผู้ใดมีความสงสัยในมรรคและผล ผู้นั้นจง ถามเราดังนี้ ทั้งต่อพระพักตร์ของพระผู้มีพระภาคเจ้าและในหมู่ภิกษุ ด้วยคิดว่า สิ่งใดที่สาวกทั้งหลายพึง บรรลุ สิ่งนั้นเราบรรลุแล้ว. เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงตั้งท่านไว้ในเอตทัคคะว่า ดูก่อนภิกษุ ทั้งหลาย ปิณโฑลภารทวาชะนี้ เป็นเลิศแห่งภิกษุสาวกทั้งหลายของเราผู้บันลือสีหนาท. พระเถระนั้นครั้นได้ตาแหน่งเอตทัคคะอย่างนี้ แล้ว ระลึกถึงบุญสมภารที่ได้กระทาไว้ในชาติก่อน เมื่อจะทาให้แจ้งซึ่งอปทานแห่งบุญกรรมของตนด้วยความโสมนัส จึงกล่าวคามีอาทิว่า ปทุมุตฺตโร ดังนี้ . จบพรรณนาปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน -----------------------------------------------------