SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
Downloaden Sie, um offline zu lesen
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
26 ตุลาคม 2562
The Dalai Lama with Sofia Stril-Rever
Publisher: HarperOne; Reprint edition (Oct. 4, 2011)
Historically, the East was more concerned with understanding the mind and the West
was more involved in understanding matter.
เกริ่นนา
 ดาไลลามะองค์ที่ 14 หรือที่รู้จักคือ Tenzin Gyatso ได้ประพันธ์หนังสือเกือบร้อยเล่ม แต่
My Spiritual Journey เป็นหนึ่งในหนังสือที่ดีที่สุด หากคุณต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
เขา และโลกทัศน์ของเขา
 ต้องชมเชย Sofia Stril-Rever ผู้เชี่ยวชาญภาษาสันสกฤตที่มีชื่อเสียง ล่ามของดาไลลามะ
มานานกว่าทศวรรษครึ่งแล้ว ที่ได้ทาการรวบรวม จัดทาเชิงอรรถ และคาอธิบาย
ประกอบที่จาเป็น ในหนังสือเล่มนี้
เกี่ยวกับดาไลลามะ
 ดาไลลามะ (Dalai Lama) เป็นชื่อที่ชาวทิเบตมอบให้กับผู้นาทางจิตวิญญาณที่สาคัญที่สุด
ของพวกเขา คนปัจจุบันเป็นคนที่สิบสี่ ฉายาทางศาสนาของเขาคือ Tenzin Gyatso
 เขาได้รับเลือกเป็นดาไลลามะในปี ค.ศ.1940 และถือว่าเป็นหนึ่งในผู้นาทางจิตวิญญาณ
ของโลกอย่างต่อเนื่อง
 ดาไลลามะได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี ค.ศ.1989 และได้รับการขนานนามว่า
เป็น "Children of Mahatma Gandhi" จาก TIME magazine
การเดินทางด้านจิตวิญญาณของฉัน (My Spiritual Journey)
 พิมพ์ครั้งแรกเป็นภาษาฝรั่งเศสคือ My Spiritual Autobiography ต่อมาเป็นฉบับ
ภาษาอังกฤษที่ใช้ชื่อว่า My Spiritual Journey ผู้ทาหน้าที่แปลและรวบรวมหนังสือเล่มนี้
คือ Sofia Stril-Rever
 บรรณาธิการฉบับภาษาอังกฤษกล่าวว่า "เป็นการพิสูจน์ตัวตนที่แท้จริงของดาไลลามะ มี
เรื่องราวซึ่งสร้างแรงบันดาลใจ บทเรียน และความจริงด้านจิตวิญญาณ อีกทั้งเป็นการ
นาเสนอการเดินทางด้านจิตวิญญาณที่น่าทึ่งที่สุด"
ความมุ่งมั่นสามประการในชีวิตของดาไลลามะ
 ในหนังสือ การเดินทางด้านจิตวิญญาณของฉัน ประกอบด้วยสามส่วน คือ 1. ในฐานะที่
เป็นมนุษย์ 2. ในฐานะพระสงฆ์ 3. ในฐานะดาไลลามะ
 หนังสือเล่มนี้ วางกรอบตามแบบที่เป็นคาบรรยายของดาไลลามะ ณ รัฐสภายุโรปในกรุง
บรัสเซลส์ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 2008 และถูกพิมพ์เป็นหนังสือในเวลาต่อมา
ความมุ่งมั่นแรกของดาไลลามะ ในฐานะมนุษย์คือ
 การส่งเสริมคุณค่าของมนุษย์และคุณภาพของจิตวิญญาณ ที่เป็นองค์ประกอบสาคัญใน
ชีวิตที่มีความสุข ไม่ว่าจะเป็นบุคคล ครอบครัว หรือชุมชน
 ทุกวันนี้ มีคนน้อยมากที่จะปลูกฝังค่านิยมนี้ ซึ่งเป็นเหตุผลว่า ทาไมดาไลลามะจึงคิดว่า
มันเป็นสิ่งที่เขาให้ความสาคัญเป็นอันดับแรก
ชีวิตของเราต้องพึ่งพาผู้อื่น
 พื้นฐานของความเชื่อส่วนตัวของดาไลลามะนั้นค่อนข้างง่ายคือ
 ไม่ว่าเราจะมาจากส่วนไหนของโลก โดยพื้นฐานแล้ว เราทุกคนต่างก็เป็นมนุษย์
เหมือนกัน เราทุกคนแสวงหาความสุขและต้องการหลีกเลี่ยงความทุกข์ เราทุกคนมี
ความต้องการและความกังวลที่คล้ายกัน ในฐานะมนุษย์ เราทุกคนต่างต้องการอิสระ มี
สิทธิ์ในการตัดสินชะตากรรมของเราในฐานะปัจเจกบุคคล รวมถึงชะตากรรมของ
ประชาชนของเรา นั่นคือธรรมชาติของมนุษย์
ชีวิตของเราต้องพึ่งพาผู้อื่น (ต่อ)
 ชีวิตของเราต้องพึ่งพาคนอื่นอย่างมาก ดาไลลามะกล่าว รากเหง้าของการดารงอยู่
ของเรา มีความต้องการพื้นฐานคือความรัก นี่คือเหตุผลว่า ทาไมจึงเป็นการดีที่จะปลูกฝัง
ความรู้สึกที่แท้จริงของความรับผิดชอบของเรา และความห่วงใยอย่างจริงใจต่อสวัสดิ
ภาพของผู้อื่น
 ถ้ามนุษย์ทุกคนปรารถนาความรัก เราจะคาดหวังได้อย่างไรว่า ค่านิยมแบบปัจเจกนิยม
สามารถเตรียมหนทางที่ดีขึ้นและมีความสุขมากขึ้น ในศตวรรษที่ 21
ฉันจะแผ่เมตตาจนกระทั่งลมหายใจสุดท้ายของฉัน
 ความเมตตาที่แท้จริง ไม่ได้เกิดจากความสุขที่ได้ใกล้ชิดกับคนคนหนึ่ง แต่มาจากความ
เชื่อมั่นที่ว่า คนอื่นก็เป็นเหมือนเรา ที่ไม่ต้องการที่จะต้องทนทุกข์ทรมาน แต่ต้องการที่
จะมีความสุข และความมุ่งมั่นนี้ไม่ควรจากัดอยู่ที่วงของญาติและเพื่อนของเรา มัน
จะต้องขยายไปถึงศัตรูของเราด้วย ความเมตตาที่แท้จริงนั้น เป็นความความรู้สึก
รับผิดชอบต่อสวัสดิการและความสุขของผู้อื่น ความเมตตาที่แท้จริง นามาซึ่งการระงับ
ความตึงเครียดภายในตน เป็นสภาวะของความสงบและความสุข จะเป็นประโยชน์อย่าง
มากในชีวิตประจาวัน เมื่อเราต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่ต้องมั่นใจในตนเอง และคนที่มี
ความเมตตา จะสร้างบรรยากาศที่อบอุ่นและผ่อนคลายที่รับรู้ได้รอบตัวเขา ส่วนในเรื่อง
ความสัมพันธ์ของมนุษย์ ความเมตตาก่อให้เกิดสันติภาพและความสามัคคี
ฉันจะแผ่เมตตาจนกระทั่งลมหายใจสุดท้ายของฉัน (ต่อ)
 ดาไลลามะคิดว่าตัวเองเป็น "ผู้รับใช้ของความเมตตา (a devoted servant of
compassion)" เขากล่าวว่า ไม่มีอะไรที่จะทาให้เขาพึงพอใจมากไปกว่าแผ่เมตตา
 เมื่อเขาออกจากทิเบต เขามักจะพูดว่า เขาทิ้งสมบัติและวัสดุสิ่งของไว้ข้างหลังเขา แต่ใน
หัวใจของเขาเกิดบางสิ่งที่ล้าค่านั่นคือ ความเมตตาที่ไม่มีที่สิ้นสุด
 อีกสิ่งหนึ่งที่เขาไม่ลืมที่จะนาติดตัวไปด้วยคือ เสียงหัวเราะ เขาบอกว่าเขายิ้มตลอดเวลา
และเขาก็พยายามหัวเราะเพื่อให้ความวิตกกังวลหมดไปเสมอ
 เขาทาได้อย่างไร เขาบอกว่าเขาเป็น "ผู้ที่มีความสามารถหัวเราะระดับมืออาชีพ (a
professional laugher)" และเราก็ไม่รู้ด้วยซ้าว่า เขาล้อเล่นหรือเปล่า!
ความมุ่งมั่นที่สองของดาไลลามะในฐานะที่เป็นพระภิกษุ คือ
 การส่งเสริมความปรองดองในหมู่ศาสนาต่าง ๆ ในตอนแรกสิ่งนี้ อาจฟังดูแปลก ๆ
เพราะการเผชิญหน้ากันของศาสนาส่วนใหญ่คือ การพิสูจน์ว่าศาสนาของพวกเขาเป็นสิ่ง
ที่ถูกต้องเท่านั้น
 ดาไลลามะเป็นคนที่เข้าใจแนวคิดของความอิจฉา และยิ่งกว่านั้น เขามีความเข้าใจที่
แท้จริงเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างศาสนาและจิตวิญญาณ
ความมุ่งมั่นที่สองของดาไลลามะในฐานะที่เป็นพระภิกษุ (ต่อ)
 ไม่มีใครสงสัยถึงความจาเป็นของการมีหลายฝ่ ายในทางการเมือง ซึ่งเป็นสาระสาคัญของ
ระบอบประชาธิปไตยใช่หรือไม่ แต่ถึงกระนั้น ผู้คนก็ยังไม่มั่นใจในเรื่องของความเชื่อ
และศาสนาที่หลากหลาย
 ดาไลลามะมองเห็นเหตุผลเบื้องหลังนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมุมมองของความจริงที่ว่า
"ศาสนาที่สาคัญทั้งหมดสอนให้เรามีความรัก ความเห็นอกเห็นใจ ความอดทน ความ
พอประมาณ และวินัยในตัวเรา"
ความแตกต่างระหว่างศาสนาและจิตวิญญาณ
 มันสาคัญสาหรับฉันที่จะแยกแยะความแตกต่างระหว่างศาสนาและจิตวิญญาณ ศาสนา
หมายถึงระบบความเชื่อที่มีพื้นฐานมาจากอภิปรัชญาพื้นฐาน คาสอน ผู้ปฏิบัติพิธีกรรม
หรือการสวดมนต์ อย่างไรก็ตาม จิตวิญญาณนั้น สอดคล้องกับการพัฒนาคุณสมบัติของ
มนุษย์ เช่นความรัก ความเห็นอกเห็นใจ ความอดทน การให้อภัย หรือความรับผิดชอบ
คุณสมบัติภายในเหล่านี้ เป็นแหล่งแห่งความสุขสาหรับตัวเองและผู้อื่น เป็นอิสระจาก
ศาสนาใด ๆ นั่นคือเหตุผลที่บางครั้งฉันก็กล่าวว่า ผู้คนอาจไม่ต้องนับถือศาสนา แต่ไม่มี
เรื่องจิตวิญญาณไม่ได้ และแรงจูงใจที่เห็นแก่ผู้อื่น เป็นองค์ประกอบร่วมกันของ
คุณสมบัติที่ฉันกาหนดว่าเป็นจิตวิญญาณ
ความแตกต่างระหว่างศาสนาและจิตวิญญาณ (ต่อ)
 นี่คือเหตุผลที่ดาไลลามะเรียกร้องให้มีการปฏิวัติทางจิตวิญญาณและจริยธรรม ที่จะทา
ให้เส้นแบ่งระหว่างสิ่งนี้ กับสิ่งนั้น เปลี่ยนแปลงไปในยุคสมัยของเรานี้
 ดาไลลามะชี้ให้เห็นสังคมตะวันตก ซึ่งถึงแม้จะน่าทึ่งในพลังงาน ความคิดสร้างสรรค์
และความหิวโหยเรื่องของความรู้ แต่ก็ไม่สนใจเรื่องการพึ่งพาซึ่งกันและกันทั้ง ๆ ที่เป็น
เรื่องของธรรมชาติและชีวิต
 และถ้ารูปแบบของชีวิต แม้ในระดับย่อย ๆ คือปรากฏการณ์ทางวัตถุที่ถูกควบคุมโดย
การพึ่งพาซึ่งกันและกัน แล้วทาไมมนุษย์จึงต้องสร้างความแตกต่างกันขึ้ นมา?
ความมุ่งมั่นที่สาม ในฐานะดาไลลามะ
 ตามคาดหวัง ความมุ่งมั่นที่สามของดาไลลามะคือ ทิเบต
 ผู้คนมักลืมว่า แม้ดาไลลามะจะเป็นหนึ่งในผู้นาทางจิตวิญญาณของโลก แต่เขาก็ยังเป็น
ผู้นาทางการเมืองของประเทศที่ถูกครอบครองโดยจีน
ความมุ่งมั่นที่สาม ในฐานะดาไลลามะ (ต่อ)
 ดาไลลามะลี้ภัยมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1959 เขาอาศัยอยู่ในอินเดีย แต่เขาไม่เคยลืมความ
เป็นอยู่ของผู้คนของเขา
 เขาตระหนักดีว่า ไม่เหมือนกับความมุ่งมั่นสองข้อแรกของเขา (ซึ่งขึ้นอยู่กับความตั้งใจ
และวินัยส่วนตัว) ข้อที่สามจะเกิดได้เมื่อพบวิธีการแก้ปัญหาที่น่าพอใจซึ่งกันและกัน
ระหว่างชาวทิเบตและชาวจีน
 แต่ดูเหมือนว่าดาไลลามะจะเลิกหวังว่า สิ่งนี้ จะเกิดขึ้นในช่วงชีวิตของเขา
ฉันฝากความหวังไว้ในหัวใจมนุษย์
 ถึงแม้จะเป็นความผิดที่คนจีนกระทาต่อประเทศของเรา ดาไลลามะเขียน ในใจฉัน
ไม่ได้ความเกลียดชังคนจีน
 ทาไม? เพราะดาไลลามะกล่าวต่อว่า หนึ่งในอันตรายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคปัจจุบันคือ
การตาหนิประเทศชาติต่ออาชญากรรมที่กระทาโดยปัจเจกบุคคล จะก่อความเสียหาย
ให้กับทุกฝ่ าย!
ฉันฝากความหวังไว้ในหัวใจมนุษย์ (ต่อ)
 เมื่อใดก็ตามที่คุณพูดว่า คนฝรั่งเศสเลว หรือ คนอเมริกันไม่ดี คุณกาลังดูถูกเหยียด
หยามชาวฝรั่งเศสและชาวอเมริกันโดยรวม ดาไลลามะบอกว่า เขารู้จักคนจีนที่น่าชื่นชม
มากมายเช่นกัน และมันเป็นความผิดที่จะโทษคนจีนทั้งหมด สาหรับความโชคร้ายของ
ดาไลลามะและประชาชนของเขา
 ไม่ใช่เรื่องของ "คนดีกับคนเลว" แต่เป็นเพียงเรื่องของคนที่มีความหวังและคนทาลาย
ความหวังของคนอื่น คนหลังต่างหากเป็นคนที่ทาผิด
 จงเป็นผู้ที่อยู่อย่างมีความหวัง ดาไลลามะกล่าว
สามบทเรียนสาคัญจาก การเดินทางทางจิตวิญญาณของฉัน
 1. เมตตาธรรม ค้าจุนโลก (Only Compassion Has the Power to Save Humanity)
 2. กาจัดกิเลสทั้งสาม (Eliminate These Three Mental Poisons to Become a Better Person)
 3. พันธกิจสามประการของดาไลลามะ (Dalai Lama’s Three Commitments in Life)
1. เมตตาธรรม ค้าจุนโลก
 จากคาพูดของดาไลลามะ เราทุกคนเป็นแบบเดียวกัน (แม้จะมีความพยายามแสดงให้
เห็นตรงกันข้ามอย่างไม่หยุดหย่อน)
 ลักษณะของมนุษย์ที่ดีควรมีคือ ความเมตตา ไม่มีพลังใดเท่า ความเมตตาเกิดขึ้นเมื่อคุณ
ตระหนักว่า ทุกคนบนโลกนี้ ต้องการมีความสุข และไม่มีใครที่ต้องการทนทุกข์
 เตือนตนเองให้บ่อยเท่าที่คุณสามารถทาได้ แล้วโลกจะเป็นสถานที่ที่ดีกว่าเดิม
2. กาจัดกิเลสทั้งสาม
 ตามปรัชญาของชาวพุทธ กิเลสสามอย่างที่คุณควรระวังคือ โลภ โกรธ หลง
 ทุกครั้งที่ใจของคุณถูกกระทบโดยหนึ่งในกิเลสนั้น ร่างกายของคุณจะเริ่มทางานในทางที่
ตรงกันข้ามกับความต้องการที่จะช่วยเหลือมนุษย์ที่อาศัยอยู่ในสังคม และทาให้พวกเขา
เป็นเผ่าพันธุ์ที่พัฒนาแล้วมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของจักรวาล
 คุณต้องคานึงถึงกิเลสทั้งสามนี้ ป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นในใจและร่างกายของคุณ
 ดังนั้นทุกครั้งที่คุณตระหนักว่า คุณไม่รู้ตัวว่าต้องการอะไรแน่ หรือเกลียดใครสักคน ให้
หยุดสักวินาที เขียนลงในกระดาษ แล้วคิดให้ดี
3. พันธกิจสามประการของดาไลลามะ
 ในฐานะมนุษย์ ดาไลลามะมีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมคุณค่าของมนุษย์
 ในฐานะที่เป็นพระภิกษุ เขามีความสนใจในการสร้างความสามัคคีระหว่างศาสนาต่าง ๆ
 ในฐานะที่เป็นดาไลลามะที่ 14 เขาต้องการเห็นทิเบตเป็นอิสระ
 สิ่งเหล่านี้ คือพันธสัญญาสามประการของดาไลลามะ และเขาตั้งใจที่จะรักษาไว้จนกว่าลม
หายใจสุดท้ายของเขา
สรุป
 เช่นเดียวกับหนังสือส่วนใหญ่ของดาไลลามะ My Spiritual Journey คือการรวมชุดคา
ปราศรัยและคาพูดของเขาในหลาย ๆ โอกาส หนังสือเล่มนี้ มุ่งเน้นไปที่การเติบโตทาง
จิตวิญญาณของเขา ซึ่งเรียบง่าย ให้ข้อมูล การสร้างแรงบันดาลใจ และนาเสนอด้าน
จิตใจของหนึ่งในผู้นาทางจิตวิญญาณ ที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดในโลกปัจจุบัน
-the 14th Dalai Lama

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
Tongsamut vorasan
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Jani Kp
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ampy48
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Jani Kp
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
พัน พัน
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
Kwandjit Boonmak
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
tippaya6563
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
thnaporn999
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
Tongsamut vorasan
 

Was ist angesagt? (20)

เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕
 
กฐิน
กฐินกฐิน
กฐิน
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 

Mehr von maruay songtanin

หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
maruay songtanin
 
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
maruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
maruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
maruay songtanin
 

Mehr von maruay songtanin (20)

หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
 
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 

My spiritual journey การเดินทางด้านจิตวิญญาณ

  • 2. The Dalai Lama with Sofia Stril-Rever Publisher: HarperOne; Reprint edition (Oct. 4, 2011) Historically, the East was more concerned with understanding the mind and the West was more involved in understanding matter.
  • 3. เกริ่นนา  ดาไลลามะองค์ที่ 14 หรือที่รู้จักคือ Tenzin Gyatso ได้ประพันธ์หนังสือเกือบร้อยเล่ม แต่ My Spiritual Journey เป็นหนึ่งในหนังสือที่ดีที่สุด หากคุณต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ เขา และโลกทัศน์ของเขา  ต้องชมเชย Sofia Stril-Rever ผู้เชี่ยวชาญภาษาสันสกฤตที่มีชื่อเสียง ล่ามของดาไลลามะ มานานกว่าทศวรรษครึ่งแล้ว ที่ได้ทาการรวบรวม จัดทาเชิงอรรถ และคาอธิบาย ประกอบที่จาเป็น ในหนังสือเล่มนี้
  • 4. เกี่ยวกับดาไลลามะ  ดาไลลามะ (Dalai Lama) เป็นชื่อที่ชาวทิเบตมอบให้กับผู้นาทางจิตวิญญาณที่สาคัญที่สุด ของพวกเขา คนปัจจุบันเป็นคนที่สิบสี่ ฉายาทางศาสนาของเขาคือ Tenzin Gyatso  เขาได้รับเลือกเป็นดาไลลามะในปี ค.ศ.1940 และถือว่าเป็นหนึ่งในผู้นาทางจิตวิญญาณ ของโลกอย่างต่อเนื่อง  ดาไลลามะได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี ค.ศ.1989 และได้รับการขนานนามว่า เป็น "Children of Mahatma Gandhi" จาก TIME magazine
  • 5. การเดินทางด้านจิตวิญญาณของฉัน (My Spiritual Journey)  พิมพ์ครั้งแรกเป็นภาษาฝรั่งเศสคือ My Spiritual Autobiography ต่อมาเป็นฉบับ ภาษาอังกฤษที่ใช้ชื่อว่า My Spiritual Journey ผู้ทาหน้าที่แปลและรวบรวมหนังสือเล่มนี้ คือ Sofia Stril-Rever  บรรณาธิการฉบับภาษาอังกฤษกล่าวว่า "เป็นการพิสูจน์ตัวตนที่แท้จริงของดาไลลามะ มี เรื่องราวซึ่งสร้างแรงบันดาลใจ บทเรียน และความจริงด้านจิตวิญญาณ อีกทั้งเป็นการ นาเสนอการเดินทางด้านจิตวิญญาณที่น่าทึ่งที่สุด"
  • 6. ความมุ่งมั่นสามประการในชีวิตของดาไลลามะ  ในหนังสือ การเดินทางด้านจิตวิญญาณของฉัน ประกอบด้วยสามส่วน คือ 1. ในฐานะที่ เป็นมนุษย์ 2. ในฐานะพระสงฆ์ 3. ในฐานะดาไลลามะ  หนังสือเล่มนี้ วางกรอบตามแบบที่เป็นคาบรรยายของดาไลลามะ ณ รัฐสภายุโรปในกรุง บรัสเซลส์ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 2008 และถูกพิมพ์เป็นหนังสือในเวลาต่อมา
  • 7. ความมุ่งมั่นแรกของดาไลลามะ ในฐานะมนุษย์คือ  การส่งเสริมคุณค่าของมนุษย์และคุณภาพของจิตวิญญาณ ที่เป็นองค์ประกอบสาคัญใน ชีวิตที่มีความสุข ไม่ว่าจะเป็นบุคคล ครอบครัว หรือชุมชน  ทุกวันนี้ มีคนน้อยมากที่จะปลูกฝังค่านิยมนี้ ซึ่งเป็นเหตุผลว่า ทาไมดาไลลามะจึงคิดว่า มันเป็นสิ่งที่เขาให้ความสาคัญเป็นอันดับแรก
  • 8. ชีวิตของเราต้องพึ่งพาผู้อื่น  พื้นฐานของความเชื่อส่วนตัวของดาไลลามะนั้นค่อนข้างง่ายคือ  ไม่ว่าเราจะมาจากส่วนไหนของโลก โดยพื้นฐานแล้ว เราทุกคนต่างก็เป็นมนุษย์ เหมือนกัน เราทุกคนแสวงหาความสุขและต้องการหลีกเลี่ยงความทุกข์ เราทุกคนมี ความต้องการและความกังวลที่คล้ายกัน ในฐานะมนุษย์ เราทุกคนต่างต้องการอิสระ มี สิทธิ์ในการตัดสินชะตากรรมของเราในฐานะปัจเจกบุคคล รวมถึงชะตากรรมของ ประชาชนของเรา นั่นคือธรรมชาติของมนุษย์
  • 9. ชีวิตของเราต้องพึ่งพาผู้อื่น (ต่อ)  ชีวิตของเราต้องพึ่งพาคนอื่นอย่างมาก ดาไลลามะกล่าว รากเหง้าของการดารงอยู่ ของเรา มีความต้องการพื้นฐานคือความรัก นี่คือเหตุผลว่า ทาไมจึงเป็นการดีที่จะปลูกฝัง ความรู้สึกที่แท้จริงของความรับผิดชอบของเรา และความห่วงใยอย่างจริงใจต่อสวัสดิ ภาพของผู้อื่น  ถ้ามนุษย์ทุกคนปรารถนาความรัก เราจะคาดหวังได้อย่างไรว่า ค่านิยมแบบปัจเจกนิยม สามารถเตรียมหนทางที่ดีขึ้นและมีความสุขมากขึ้น ในศตวรรษที่ 21
  • 10. ฉันจะแผ่เมตตาจนกระทั่งลมหายใจสุดท้ายของฉัน  ความเมตตาที่แท้จริง ไม่ได้เกิดจากความสุขที่ได้ใกล้ชิดกับคนคนหนึ่ง แต่มาจากความ เชื่อมั่นที่ว่า คนอื่นก็เป็นเหมือนเรา ที่ไม่ต้องการที่จะต้องทนทุกข์ทรมาน แต่ต้องการที่ จะมีความสุข และความมุ่งมั่นนี้ไม่ควรจากัดอยู่ที่วงของญาติและเพื่อนของเรา มัน จะต้องขยายไปถึงศัตรูของเราด้วย ความเมตตาที่แท้จริงนั้น เป็นความความรู้สึก รับผิดชอบต่อสวัสดิการและความสุขของผู้อื่น ความเมตตาที่แท้จริง นามาซึ่งการระงับ ความตึงเครียดภายในตน เป็นสภาวะของความสงบและความสุข จะเป็นประโยชน์อย่าง มากในชีวิตประจาวัน เมื่อเราต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่ต้องมั่นใจในตนเอง และคนที่มี ความเมตตา จะสร้างบรรยากาศที่อบอุ่นและผ่อนคลายที่รับรู้ได้รอบตัวเขา ส่วนในเรื่อง ความสัมพันธ์ของมนุษย์ ความเมตตาก่อให้เกิดสันติภาพและความสามัคคี
  • 11. ฉันจะแผ่เมตตาจนกระทั่งลมหายใจสุดท้ายของฉัน (ต่อ)  ดาไลลามะคิดว่าตัวเองเป็น "ผู้รับใช้ของความเมตตา (a devoted servant of compassion)" เขากล่าวว่า ไม่มีอะไรที่จะทาให้เขาพึงพอใจมากไปกว่าแผ่เมตตา  เมื่อเขาออกจากทิเบต เขามักจะพูดว่า เขาทิ้งสมบัติและวัสดุสิ่งของไว้ข้างหลังเขา แต่ใน หัวใจของเขาเกิดบางสิ่งที่ล้าค่านั่นคือ ความเมตตาที่ไม่มีที่สิ้นสุด  อีกสิ่งหนึ่งที่เขาไม่ลืมที่จะนาติดตัวไปด้วยคือ เสียงหัวเราะ เขาบอกว่าเขายิ้มตลอดเวลา และเขาก็พยายามหัวเราะเพื่อให้ความวิตกกังวลหมดไปเสมอ  เขาทาได้อย่างไร เขาบอกว่าเขาเป็น "ผู้ที่มีความสามารถหัวเราะระดับมืออาชีพ (a professional laugher)" และเราก็ไม่รู้ด้วยซ้าว่า เขาล้อเล่นหรือเปล่า!
  • 12. ความมุ่งมั่นที่สองของดาไลลามะในฐานะที่เป็นพระภิกษุ คือ  การส่งเสริมความปรองดองในหมู่ศาสนาต่าง ๆ ในตอนแรกสิ่งนี้ อาจฟังดูแปลก ๆ เพราะการเผชิญหน้ากันของศาสนาส่วนใหญ่คือ การพิสูจน์ว่าศาสนาของพวกเขาเป็นสิ่ง ที่ถูกต้องเท่านั้น  ดาไลลามะเป็นคนที่เข้าใจแนวคิดของความอิจฉา และยิ่งกว่านั้น เขามีความเข้าใจที่ แท้จริงเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างศาสนาและจิตวิญญาณ
  • 13. ความมุ่งมั่นที่สองของดาไลลามะในฐานะที่เป็นพระภิกษุ (ต่อ)  ไม่มีใครสงสัยถึงความจาเป็นของการมีหลายฝ่ ายในทางการเมือง ซึ่งเป็นสาระสาคัญของ ระบอบประชาธิปไตยใช่หรือไม่ แต่ถึงกระนั้น ผู้คนก็ยังไม่มั่นใจในเรื่องของความเชื่อ และศาสนาที่หลากหลาย  ดาไลลามะมองเห็นเหตุผลเบื้องหลังนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมุมมองของความจริงที่ว่า "ศาสนาที่สาคัญทั้งหมดสอนให้เรามีความรัก ความเห็นอกเห็นใจ ความอดทน ความ พอประมาณ และวินัยในตัวเรา"
  • 14. ความแตกต่างระหว่างศาสนาและจิตวิญญาณ  มันสาคัญสาหรับฉันที่จะแยกแยะความแตกต่างระหว่างศาสนาและจิตวิญญาณ ศาสนา หมายถึงระบบความเชื่อที่มีพื้นฐานมาจากอภิปรัชญาพื้นฐาน คาสอน ผู้ปฏิบัติพิธีกรรม หรือการสวดมนต์ อย่างไรก็ตาม จิตวิญญาณนั้น สอดคล้องกับการพัฒนาคุณสมบัติของ มนุษย์ เช่นความรัก ความเห็นอกเห็นใจ ความอดทน การให้อภัย หรือความรับผิดชอบ คุณสมบัติภายในเหล่านี้ เป็นแหล่งแห่งความสุขสาหรับตัวเองและผู้อื่น เป็นอิสระจาก ศาสนาใด ๆ นั่นคือเหตุผลที่บางครั้งฉันก็กล่าวว่า ผู้คนอาจไม่ต้องนับถือศาสนา แต่ไม่มี เรื่องจิตวิญญาณไม่ได้ และแรงจูงใจที่เห็นแก่ผู้อื่น เป็นองค์ประกอบร่วมกันของ คุณสมบัติที่ฉันกาหนดว่าเป็นจิตวิญญาณ
  • 15. ความแตกต่างระหว่างศาสนาและจิตวิญญาณ (ต่อ)  นี่คือเหตุผลที่ดาไลลามะเรียกร้องให้มีการปฏิวัติทางจิตวิญญาณและจริยธรรม ที่จะทา ให้เส้นแบ่งระหว่างสิ่งนี้ กับสิ่งนั้น เปลี่ยนแปลงไปในยุคสมัยของเรานี้  ดาไลลามะชี้ให้เห็นสังคมตะวันตก ซึ่งถึงแม้จะน่าทึ่งในพลังงาน ความคิดสร้างสรรค์ และความหิวโหยเรื่องของความรู้ แต่ก็ไม่สนใจเรื่องการพึ่งพาซึ่งกันและกันทั้ง ๆ ที่เป็น เรื่องของธรรมชาติและชีวิต  และถ้ารูปแบบของชีวิต แม้ในระดับย่อย ๆ คือปรากฏการณ์ทางวัตถุที่ถูกควบคุมโดย การพึ่งพาซึ่งกันและกัน แล้วทาไมมนุษย์จึงต้องสร้างความแตกต่างกันขึ้ นมา?
  • 16. ความมุ่งมั่นที่สาม ในฐานะดาไลลามะ  ตามคาดหวัง ความมุ่งมั่นที่สามของดาไลลามะคือ ทิเบต  ผู้คนมักลืมว่า แม้ดาไลลามะจะเป็นหนึ่งในผู้นาทางจิตวิญญาณของโลก แต่เขาก็ยังเป็น ผู้นาทางการเมืองของประเทศที่ถูกครอบครองโดยจีน
  • 17. ความมุ่งมั่นที่สาม ในฐานะดาไลลามะ (ต่อ)  ดาไลลามะลี้ภัยมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1959 เขาอาศัยอยู่ในอินเดีย แต่เขาไม่เคยลืมความ เป็นอยู่ของผู้คนของเขา  เขาตระหนักดีว่า ไม่เหมือนกับความมุ่งมั่นสองข้อแรกของเขา (ซึ่งขึ้นอยู่กับความตั้งใจ และวินัยส่วนตัว) ข้อที่สามจะเกิดได้เมื่อพบวิธีการแก้ปัญหาที่น่าพอใจซึ่งกันและกัน ระหว่างชาวทิเบตและชาวจีน  แต่ดูเหมือนว่าดาไลลามะจะเลิกหวังว่า สิ่งนี้ จะเกิดขึ้นในช่วงชีวิตของเขา
  • 18. ฉันฝากความหวังไว้ในหัวใจมนุษย์  ถึงแม้จะเป็นความผิดที่คนจีนกระทาต่อประเทศของเรา ดาไลลามะเขียน ในใจฉัน ไม่ได้ความเกลียดชังคนจีน  ทาไม? เพราะดาไลลามะกล่าวต่อว่า หนึ่งในอันตรายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคปัจจุบันคือ การตาหนิประเทศชาติต่ออาชญากรรมที่กระทาโดยปัจเจกบุคคล จะก่อความเสียหาย ให้กับทุกฝ่ าย!
  • 19. ฉันฝากความหวังไว้ในหัวใจมนุษย์ (ต่อ)  เมื่อใดก็ตามที่คุณพูดว่า คนฝรั่งเศสเลว หรือ คนอเมริกันไม่ดี คุณกาลังดูถูกเหยียด หยามชาวฝรั่งเศสและชาวอเมริกันโดยรวม ดาไลลามะบอกว่า เขารู้จักคนจีนที่น่าชื่นชม มากมายเช่นกัน และมันเป็นความผิดที่จะโทษคนจีนทั้งหมด สาหรับความโชคร้ายของ ดาไลลามะและประชาชนของเขา  ไม่ใช่เรื่องของ "คนดีกับคนเลว" แต่เป็นเพียงเรื่องของคนที่มีความหวังและคนทาลาย ความหวังของคนอื่น คนหลังต่างหากเป็นคนที่ทาผิด  จงเป็นผู้ที่อยู่อย่างมีความหวัง ดาไลลามะกล่าว
  • 20. สามบทเรียนสาคัญจาก การเดินทางทางจิตวิญญาณของฉัน  1. เมตตาธรรม ค้าจุนโลก (Only Compassion Has the Power to Save Humanity)  2. กาจัดกิเลสทั้งสาม (Eliminate These Three Mental Poisons to Become a Better Person)  3. พันธกิจสามประการของดาไลลามะ (Dalai Lama’s Three Commitments in Life)
  • 21. 1. เมตตาธรรม ค้าจุนโลก  จากคาพูดของดาไลลามะ เราทุกคนเป็นแบบเดียวกัน (แม้จะมีความพยายามแสดงให้ เห็นตรงกันข้ามอย่างไม่หยุดหย่อน)  ลักษณะของมนุษย์ที่ดีควรมีคือ ความเมตตา ไม่มีพลังใดเท่า ความเมตตาเกิดขึ้นเมื่อคุณ ตระหนักว่า ทุกคนบนโลกนี้ ต้องการมีความสุข และไม่มีใครที่ต้องการทนทุกข์  เตือนตนเองให้บ่อยเท่าที่คุณสามารถทาได้ แล้วโลกจะเป็นสถานที่ที่ดีกว่าเดิม
  • 22. 2. กาจัดกิเลสทั้งสาม  ตามปรัชญาของชาวพุทธ กิเลสสามอย่างที่คุณควรระวังคือ โลภ โกรธ หลง  ทุกครั้งที่ใจของคุณถูกกระทบโดยหนึ่งในกิเลสนั้น ร่างกายของคุณจะเริ่มทางานในทางที่ ตรงกันข้ามกับความต้องการที่จะช่วยเหลือมนุษย์ที่อาศัยอยู่ในสังคม และทาให้พวกเขา เป็นเผ่าพันธุ์ที่พัฒนาแล้วมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของจักรวาล  คุณต้องคานึงถึงกิเลสทั้งสามนี้ ป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นในใจและร่างกายของคุณ  ดังนั้นทุกครั้งที่คุณตระหนักว่า คุณไม่รู้ตัวว่าต้องการอะไรแน่ หรือเกลียดใครสักคน ให้ หยุดสักวินาที เขียนลงในกระดาษ แล้วคิดให้ดี
  • 23. 3. พันธกิจสามประการของดาไลลามะ  ในฐานะมนุษย์ ดาไลลามะมีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมคุณค่าของมนุษย์  ในฐานะที่เป็นพระภิกษุ เขามีความสนใจในการสร้างความสามัคคีระหว่างศาสนาต่าง ๆ  ในฐานะที่เป็นดาไลลามะที่ 14 เขาต้องการเห็นทิเบตเป็นอิสระ  สิ่งเหล่านี้ คือพันธสัญญาสามประการของดาไลลามะ และเขาตั้งใจที่จะรักษาไว้จนกว่าลม หายใจสุดท้ายของเขา
  • 24. สรุป  เช่นเดียวกับหนังสือส่วนใหญ่ของดาไลลามะ My Spiritual Journey คือการรวมชุดคา ปราศรัยและคาพูดของเขาในหลาย ๆ โอกาส หนังสือเล่มนี้ มุ่งเน้นไปที่การเติบโตทาง จิตวิญญาณของเขา ซึ่งเรียบง่าย ให้ข้อมูล การสร้างแรงบันดาลใจ และนาเสนอด้าน จิตใจของหนึ่งในผู้นาทางจิตวิญญาณ ที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดในโลกปัจจุบัน