SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 49
Downloaden Sie, um offline zu lesen
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
1 กุมภาพันธ์ 2559
McKinsey & Company, June 2015
Thanks to Bill Voravuth
คานิยาม
 อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ (Internet of Things) คือเซ็นเซอร์และ
ตัวกระตุ้น ที่มีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายระบบคอมพิวเตอร์
 ระบบเหล่านี้ สามารถตรวจสอบ หรือจัดการการกระทาของวัตถุที่
มีการเชื่อมต่อ
 เครื่องเซ็นเซอร์ที่เชื่อมต่อ ยังสามารถใช้ตรวจสอบ ธรรมชาติ
ผู้คน และสัตว์
ตัวอย่างที่น่าสนใจ
 การทางานร่วมกัน (Interoperability): การบูรณาระบบ
อินเตอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ช่วยเพิ่มคุณค่าได้ร้อยละ 40 (สไลด์ที่
8-9)
 สุขภาพของมนุษย์ (Human health): ลดค่าใช้จ่ายของการรักษา
โรคเรื้อรังได้ร้อยละ 50 (สไลด์ที่ 25-27)
 การบารุงรักษาแบบคาดการณ์ (Predictive maintenance): การใช้
ข้อมูลในเวลาจริง ในการคาดการณ์และป้ องกันการเสียหาย ลด
การหยุดทางานได้ร้อยละ 50 (สไลด์ที่ 33-35)
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
 อินเตอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ เป็นกระแสนิยม ที่จะช่วยสร้างคุณค่า
ให้กับธุรกิจได้มากขึ้น ถ้ามองให้ออก
 อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ มีศักยภาพพื้นฐาน ในการเปลี่ยนวิธีที่
เราโต้ตอบกับสภาพแวดล้อมของเรา
 ความสามารถในการตรวจสอบและจัดการวัตถุทางกายภาพโดย
อิเล็กทรอนิกส์ ทาให้มีการตัดสินใจโดยใช้ข้อมูล เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทางานของระบบ พัฒนากระบวนการเพื่อ
ประหยัดเวลาสาหรับผู้คนและธุรกิจ และใช้ในการพัฒนา
คุณภาพชีวิต
บทนา
 โดยการผสมอาณาจักรทางกายภาพและดิจิตอลของ อินเทอร์เน็ตของ
สิ่งต่าง ๆ (Internet of Things: IoT) ทาให้การเข้าถึงเทคโนโลยี
สารสนเทศ ได้ขยายตัวขึ้นอย่างมากมาย
 มีความเป็นไปได้อย่างมาก ในการตรวจสอบและควบคุมสิ่งทาง
กายภาพโดยอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจในการสร้าง
นวัตกรรม และความกระตือรือร้น
 กระแสของ IoT ทาให้บริษัทต่าง ๆ นามาจัดการสินทรัพย์ทาง
กายภาพ วิธีที่ผู้บริโภคให้ความสนใจกับสุขภาพและการออกกาลัง
กาย และวิธีการทางานของเมืองต่าง ๆ
 นอกจากนี้ ยังเป็นแรงบันดาลใจ และเป็นวิสัยทัศน์ของอนาคตอีกด้วย
สรุปการค้นพบจากการวิจัย
1. การทางานร่วมกัน ระหว่างระบบ IoT สร้างคุณค่าได้ ร้อยละ 40
2. ข้อมูลส่วนใหญ่ที่เก็บรวบรวมจาก IoT ในวันนี้ ไม่ได้นามาใช้ทั้งหมด
และไม่ได้ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่
3. คุณค่า IoT ของประเทศกาลังพัฒนา มีปริมาณเทียบได้กับประเทศ
เศรษฐกิจขั้นสูง
4. การใช้งาน IoT ของ B2B (business-to-business) มีศักยภาพทาง
เศรษฐกิจ มากกว่าการใช้งานของผู้บริโภค
5. ผู้ใช้เทคโนโลยีของ IoT เป็นผู้ได้รับคุณค่ามากที่สุดเมื่อเวลาผ่านไป
6. อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ จะเปลี่ยนฐานของการแข่งขัน และผลักดัน
ธุรกิจรูปแบบใหม่ สาหรับบริษัทผู้ใช้และบริษัทผู้ส่งมอบ
1. การทางานร่วมกัน เป็นแหล่งสาคัญที่สร้างคุณค่าในระบบ IoT
 IoT สองระบบหรือมากกว่า จะต้องมี การทางานร่วมกัน
(interoperability) จึงสามารถสร้างคุณค่าโดยรวม ได้ที่ประมาณ
ร้อยละ 40
 ประโยชน์มากที่สุดของการทางานร่วมกัน เกิดใน หน่วย
ปฏิบัติงาน (worksites setting) ที่มีการทางานร่วมกัน ร้อยละ 60
 ศักยภาพขนาดใหญ่นี้ สะท้อนให้เห็นถึงความซับซ้อน และการ
เชื่อมต่อของอุปกรณ์
2. ข้อมูลส่วนใหญ่ที่เก็บรวบรวมโดย IoT ไม่ได้ใช้ และข้อมูลที่ใช้ก็ไม่ได้
ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่
 แท่นเจาะน้ามันแห่งหนึ่งที่เราศึกษา พบว่าน้อยกว่าร้อยละ 1 ของ
ข้อมูลที่รวบรวมได้ถูกนามาใช้ เพราะส่วนใหญ่ของข้อมูล ไม่เคยถูก
โอนมาจากแท่นขุดเจาะ
 IoT ควรจะเป็นแหล่งสาคัญของ ข้อมูลขนาดใหญ่ (big data) ที่
สามารถใช้วิเคราะห์ในการสร้างคุณค่า และเป็นข้อมูลที่เปิ ดเผย ซึ่ง
สามารถนามาใช้ได้มากกว่าหนึ่งกิจการ
 ข้อมูลของ IoT โดยมากมักจะใช้สาหรับการตรวจสอบความผิดปกติ
หรือใช้ในการควบคุมในเวลาจริง มากกว่าการเพิ่มประสิทธิภาพหรือ
การคาดการณ์ ที่เป็นการเพิ่มคุณค่าของข้อมูลขนาดใหญ่
3. คุณค่าจะถูกสร้างขึ้นมากในประเทศที่มีเศรษฐกิจขั้นสูง แต่ก็มี
โอกาสอย่างมากในประเทศที่กาลังพัฒนา
 ในปี ค.ศ. 2025 เราคาดว่าร้อยละ 38 ของผลกระทบทาง
เศรษฐกิจประจาปี ที่เกิดจากศักยภาพของการใช้งาน IoT จะอยู่
ในประเทศกาลังพัฒนา และร้อยละ 62 จะอยู่ในประเทศ
เศรษฐกิจขั้นสูง
 แม้เราได้คาดการณ์ว่า การใช้งาน IoT จะถูกนาไปใช้ในประเทศ
กาลังพัฒนามากขึ้นก็ตาม
 คุณค่าที่มีศักยภาพสูงในประเทศที่มีเศรษฐกิจก้าวหน้ามีสูง
เพราะการใช้งานที่สูง เนื่องจากปัจจัย คือ อัตราค่าจ้างและ
ค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น
4. การใช้งาน IoT ของ B2B มีศักยภาพทางเศรษฐกิจมากกว่าการ
ใช้งาน B2C
 กว่าสองในสามของคุณค่าที่สร้างขึ้นของการใช้งาน IoT จะอยู่ใน
สถานการณ์ ธุรกิจกับธุรกิจ (B2B: business-to-business)
 ทั่วทั้งโลก ปริมาณรวมของการทาธุรกรรม B2B จะสูงกว่า
ปริมาณของ ธุรกิจกับลูกค้า (B2C: business-to-customer)
 เนื่องจากห่วงโซ่อุปทานโดยทั่วไป เกี่ยวข้องกับการทาธุรกรรม
หลาย B2B เช่น วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตชิ้นส่วน ถูกสร้างขึ้นเป็น
ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป และในที่สุดถูกซื้ อโดยผู้บริโภคหรือธุรกิจอื่น
5. ผู้ใช้เทคโนโลยีของ IoT เป็นผู้ได้รับคุณค่ามากที่สุดเมื่อเวลาผ่านไป
 อินเทอร์เน็ตมีการพัฒนา ที่มอบคุณค่าต่อเนื่องกับผู้ใช้งาน เช่น
ผลิตภัณฑ์และบริการที่ดีกว่า และได้รับความสะดวกสบายมากขึ้น
 อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ก็มีแนวโน้มที่จะเป็นไปตามรูปแบบ
เดียวกัน
 เราคาดว่าบริษัทที่ใช้ระบบ IoT ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการ
ดาเนินงาน (เช่นเดียวกับผู้บริโภค) จะได้รับคุณค่าร้อยละ 90 ของ
คุณค่าที่เกิดขึ้น จากการใช้งาน IoT ในปี ค.ศ. 2025
6. IoT จะเปลี่ยนฐานของการแข่งขัน และผลักดันรูปแบบธุรกิจใหม่
สาหรับบริษัทผู้ใช้และผู้ส่งมอบ
 อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ให้โอกาสมากมายสาหรับผู้ผลิต
อุปกรณ์ ด้วยความสามารถในการตรวจสอบขณะที่มีการใช้งาน
โดยลูกค้า ผู้ผลิตอุปกรณ์อุตสาหกรรม สามารถเปลี่ยนจากการ
ขายสินค้า เป็นการให้บริการด้วยผลิตภัณฑ์แทน
 หรือร้านค้าปลีก อาจจะสร้างรายได้ใหม่จากการขายโฆษณา บน
พื้นฐานเกี่ยวกับข้อมูลสินค้าที่อยู่ภายในร้าน
การใช้งาน IoT ในการสร้างคุณค่าที่แตกต่างกัน
 มูลค่ารวมที่อาจเกิดขึ้น เราคาดการณ์สาหรับการใช้งาน ในเก้า
ประเภทเป็น $3.9 ล้านล้าน ถึง $11.1 ล้านล้าน ต่อปี ($3.9
trillion to $11.1 trillion per year)
การใช้งาน IoT ในการสร้างคุณค่า
1. มนุษย์ (Human)
2. บ้านเรือน (Home)
3. สภาพแวดล้อมการค้าปลีก (Retail environments)
4. สานักงาน (Offices)
5. โรงงาน (Factories)
6. พื้นที่ปฏิบัติงาน (Worksites)
7. ยานพาหนะ (Vehicles)
8. เมือง (Cities)
9. นอกเหนือจากที่กล่าวมา (Outside)
1. การใช้งานกับมนุษย์:
 ประเภทแรกคือ ด้านสุขภาพและการออกกาลังกาย การใช้
อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อในการตรวจสอบผู้ป่ วยอย่างต่อเนื่อง ขณะที่
พวกเขามีชีวิตอยู่ เพื่อหลีกเลี่ยงการรักษาในโรงพยาบาล (และ
ภาวะแทรกซ้อน) และใช้ปรับปรุงคุณภาพชีวิตของผู้ป่ วยได้
หลายร้อยล้านคน
 โปรแกรมที่สอง ในการทางาน เช่น แว่นตาที่สามารถแสดง
ข้อมูลแนวทางในการปฏิบัติงาน ที่เทคโนโลยี IoT ช่วยคนงานใน
ภาคสนาม มีการติดต่อสื่อสารได้ต่อเนื่อง และทางานได้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
การยอมรับของการใช้ IoT ในด้านสุขภาพและออกกาลังกาย
 จากการใช้งานในปัจจุบันและแนวโน้มอัตราการเติบโต เราคาดว่า
ผลกระทบทางเศรษฐกิจของ IoT ในสุขภาพของมนุษย์อาจจะเป็น
$170 พันล้าน ถึงเกือบ $1.6 ล้านล้าน ทั่วโลกในปี ค.ศ. 2025
 แหล่งใหญ่ที่สุดของคุณค่า อยู่ที่การใช้อุปกรณ์ IoT ตรวจสอบและ
รักษาโรค ($170 พันล้าน ถึง $1.1 ล้านล้าน ต่อปี ) จากการพัฒนา
คุณภาพชีวิต และการขยายช่วงชีวิตที่มีสุขภาพที่ดีสาหรับผู้ป่ วยที่มี
โรคเรื้อรัง และการลดค่าใช้จ่ายของการรักษา
 แหล่งที่ใหญ่เป็นอันดับสองของคุณค่าสาหรับมนุษย์ เกี่ยวกับการออก
กาลังกายหรืออุปกรณ์สวมใส่ (wearables) อื่น ๆ ในการติดตามและ
ปรับเปลี่ยน อาหาร และการออกกาลังกาย
การประยุกต์ใช้งานด้านสุขภาพของมนุษย์
 อุปกรณ์ที่ใช้ในการดูแลสุขภาพของมนุษย์ แบ่งออกเป็นสามประเภท:
 1. wearables: อุปกรณ์ที่ได้รับการออกแบบมาให้สวมใส่ หรือติดตัว
ไปด้วย
 2. Implantables, injectables และ ingestibles: อุปกรณ์อัจฉริยะที่มีการ
ฝัง ฉีด หรือกลืนกิน เข้าไปในร่างกาย
 3. Non-wearable measurement devices อุปกรณ์การวัดแบบไม่สวม
ใส่ ที่รวบรวมและส่งข้อมูลสุขภาพจากร่างกายมนุษย์เป็นระยะ ๆ แต่
ไม่ยึดติดตัวอย่างต่อเนื่อง เช่น pulse oximeters (การเต้นของชีพจร)
ที่ใช้งานผ่าน Bluetooth หรือเครื่องชั่งน้าหนักใช้งานผ่าน WiFi
การลดค่าใช้จ่ายของการรักษาโรคเรื้อรัง
 โดยรวมแล้ว เราประเมินว่าการใช้งาน IoT สามารถลดค่าใช้จ่าย
ในการดูแลผู้ป่ วยโรคเรื้อรังได้ 10 ถึง 15 เปอร์เซ็นต์
 การตรวจสอบระยะไกล ลดค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นได้เกินกว่าร้อย
ละ 50 ในการรักษาประชากรที่เป็นโรคเฉียบพลัน
 ถ้าเทคโนโลยีด้านสุขภาพระยะไกล สามารถที่จะบรรลุเต็ม
ศักยภาพ การรักษาผู้ป่ วยโดยการใช้ IoT สามารถลดค่าใช้จ่าย
ของการรักษาผู้ป่ วยโรคเรื้อรังได้กว่าร้อยละ 50
2. การใช้งานกับบ้านเรือน
 มีอุปกรณ์ IoT ที่หลากหลายเกิดขึ้ นใหม่ สาหรับการใช้งานในบ้าน
เช่น การตั้งอุณหภูมิ เครื่องใช้ในเรือนแบบอัจฉริยะ และ
เครื่องดูดฝุ่นทางานได้ด้วยตัวเอง
 มีการคาดหวังว่า ผลกระทบทางเศรษฐกิจที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของ
อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ในบ้านอัตโนมัติ สามารถประหยัดได้
ประมาณ 100 ชั่วโมงของการใช้แรงงานต่อปี สาหรับการใช้
แรงงานในครัวเรือนทั่วไป
3. การใช้งานกับสภาพแวดล้อมของการค้าปลีก
 IoT ใช้ได้กับห้างสรรพสินค้า ร้านขายของชา โชว์รูมแสดงสินค้า
(ไม่ได้มีไว้สาหรับขาย) นอกจากนี้ ยังใช้ได้กับสถานที่ทาง
กายภาพ เช่น สาขาธนาคาร โรงละคร และสนามกีฬา
 เทคโนโลยี IoT ยังสามารถให้ข้อมูลที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการ
วางรูปแบบของสินค้า การชาระเงินอัตโนมัติ การบริหารลูกค้า
สัมพันธ์แบบอัจฉริยะ โปรโมชั่นส่วนบุคคลในห้าง และปรับปรุง
การจัดการสินค้าคงคลัง
4. การใช้งานกับสานักงาน
 ประโยชน์สาคัญของ IoT ที่ใช้ในสานักงาน คือการรักษาความ
ปลอดภัย และการจัดการพลังงาน
 โดยการใช้กล้องรักษาความปลอดภัยแบบดิจิตอล ที่มี
ความสามารถการประมวลผลภาพขั้นสูง สามารถตรวจสอบ
กิจกรรมตลอดทั้งอาคาร โดยไม่ต้องมียามลาดตระเวนอย่าง
ต่อเนื่อง
 เราประเมินว่าการบริหารจัดการพลังงานของ IoT ที่ใช้ใน
สานักงาน สามารถลดการใช้พลังงานได้ร้อยละ 20
5. การใช้งานกับโรงงาน
 นี้ เป็นหนึ่งในแหล่งใหญ่ที่สุดในการสร้างคุณค่า จากการใช้งาน
ของ อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ
 อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ สร้างคุณค่าในโรงงาน จากการ
ปรับปรุงการผลิต เช่น การประหยัดพลังงานร้อยละ 10 - 20
และการปรับปรุงประสิทธิภาพแรงงานร้อยละ 10-25
 การปรับปรุงในการบารุงรักษาอุปกรณ์ เพิ่มประสิทธิภาพสินค้า
คงคลัง และสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน ยังเป็น
แหล่งที่มาของการสร้างคุณค่าในโรงงาน
อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ และยุคอุตสาหกรรม 4.0
 อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ มีบทบาทสาคัญอย่างยิ่ง ในระยะ
ต่อไปของระบบอัตโนมัติในโรงงาน ที่ได้รับการเรียกว่า
อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบ
เต็มรูปแบบของกระบวนการผลิต ที่ผสมผสานโลกดิจิตอลและ
ทางกายภาพเข้าด้วยกันภายในโรงงาน
 อุตสาหกรรม 4.0 มีความสามารถในการตรวจสอบและควบคุม
เครื่องมือทั้งหมดในการผลิต และใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้เพื่อเพิ่ม
ผลผลิตและคุณภาพ
การบารุงรักษาแบบคาดการณ์ และการเพิ่มประสิทธิภาพสินค้าคง
คลัง (predictive maintenance and inventory optimization)
 การบารุงรักษาแบบคาดการณ์ เกี่ยวกับการใช้เซ็นเซอร์ในการ
ตรวจสอบเครื่องจักรอย่างต่อเนื่อง เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียหาย
และมีการบารุงรักษาเมื่อต้องทา มากกว่ามีการกาหนดการ
บารุงรักษาอย่างสม่าเสมอเป็นกิจวัตร
 IoT ปรับปรุงการจัดการสินค้าคงคลังโดยอัตโนมัติ โดยการสต็อก
ชิ้นส่วนขึ้นที่อยู่กับน้าหนักหรือความสูง ของข้อมูลที่บันทึกไว้โดย
เซ็นเซอร์
การบารุงรักษาแบบคาดการณ์
 IoT เปลี่ยนรูปแบบการบารุงรักษา จาก การซ่อมแซมและแทนที่
(repair and replace) เป็น การคาดการณ์และป้ องกัน (predict and
prevent) ซึ่งเราประเมินว่า การบารุงรักษาแบบคาดการณ์ จะลด
ค่าใช้จ่ายการบารุงรักษาอุปกรณ์ในโรงงานได้ร้อยละ 10 ถึง 40
 นอกจากนี้ การบารุงรักษาที่ดีกว่าของการคาดการณ์โดยใช้ IoT
สามารถลดการหยุดทางานได้ถึงร้อยละ 50 และลดการลงทุน
อุปกรณ์ร้อยละ 3 ถึง 5 โดยการยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักร
รูปแบบของโรงงาน
 สาหรับการนา IoT มาใช้ในโรงงาน เครื่องจักรบางส่วนจะต้องมี
การอัพเกรดหรือเปลี่ยน เพื่อรองรับเซ็นเซอร์และตัวกระตุ้น
 นอกจากนี้ ยังจะต้องมีการปรับปรุงในการเชื่อมต่อ และการ
ทางานร่วมกันในโรงงานเป็นจานวนมาก
 ต้องมีการปรับปรุงการวิเคราะห์ข้อมูล และมีค่าใช้จ่ายของ
เทคโนโลยีขั้นพื้นฐานเช่น เซ็นเซอร์ ระบบไมโครเทคโนโลยี การ
จัดเก็บข้อมูลแบบคลาวด์ และการคานวณ
 สุดท้าย สาหรับการใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่จาก IoT ในโรงงาน
จะต้องตระหนักถึงการรักษาความปลอดภัย และความเป็น
ส่วนตัว ที่จาเป็นต้องได้รับการแก้ไข
6. การใช้งานกับหน่วยปฏิบัติงาน
 หน่วยปฏิบัติงาน คือสภาพแวดล้อมที่ใช้ในการผลิต เช่นการทา
เหมืองแร่ โรงกลั่นน้ามันและโรงแยกก๊าซ และสถานที่ก่อสร้าง
ต่าง ๆ
 การใช้เซ็นเซอร์ในการตรวจสอบสภาพของเครื่องจักรในการใช้
งาน บริษัทสามารถเปลี่ยนเป็นรูปแบบการบารุงรักษาสภาพ โดย
การบารุงรักษาอุปกรณ์เมื่อมีความจาเป็นที่เกิดขึ้นจริง ผ่านการ
วิเคราะห์เชิงพยากรณ์ แทนที่จะอาศัยในตารางการบารุงรักษา
ตามปกติ หรือซ่อมแซมอุปกรณ์เฉพาะเมื่อมีการเสียหาย
7. การใช้งานกับยานพาหนะ
 ในยานพาหนะ เราประเมินศักยภาพของ IoT คือ การตรวจสอบ
และปรับปรุงประสิทธิภาพการทางานของ เครื่องบิน รถไฟ และ
ยานพาหนะอื่น ๆ ในขณะที่ใช้งาน
 การติดตามข้อมูลประสิทธิภาพการทางาน ยังช่วยให้ผู้ผลิต
รถยนต์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่น่าเชื่อถือมากขึ้น และค้นพบวิธีการ
อื่น ๆ เพื่อให้บริการลูกค้า
 IoT มีการติดตามอย่างมีนัยสาคัญ สามารถลดการโจรกรรม
รถยนต์ และทาให้เบี้ยประกันถูกลง
8. การใช้งานกับเมือง
 เมืองเป็นสถานที่ของการจัดการที่ดีของนวัตกรรม และการ
ทดลองด้วยเทคโนโลยี IoT ที่เรียกว่า เมืองอัจฉริยะ (smart city)
 เมืองจะได้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ สี่ประการคือ
การขนส่ง ความปลอดภัยและสุขภาพของประชาชน การจัดการ
ทรัพยากร และการให้บริการ
 การขนส่ง เป็นโปรแกรมที่ใหญ่ที่สุด ที่ใช้ระบบ IoT ในการ
จัดการการจราจร และยานพาหนะแบบอัตโนมัติ (รถยนต์ที่
ขับเคลื่อนด้วยตัวเอง ช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุ ลดการใช้น้ามัน
เชื้อเพลิงด้วยการขับรถได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังสามารถ
จอดรถได้ด้วยตัวเอง)
9. การใช้งานกับสิ่งนอกเหนือจากที่กล่าวมา
 การใช้งานของเทคโนโลยี IoT นอกจากที่กล่าว คือการใช้นอก
สถานที่ของสภาพแวดล้อมในเมือง
 ยกตัวอย่างเช่น การใช้ IoT ในการปรับปรุงการกาหนดเส้นทาง
ของเรือ เครื่องบิน และยานพาหนะอื่น ๆ ระหว่างเมือง โดยใช้
ระบบการนาทางขั้นสูง ที่ได้รับแจ้งจากเซ็นเซอร์ต่างๆ
 นอกจากนี้ ยังรวมถึงการใช้อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ในการ
ติดตามภาชนะใช้บรรจุ และแพคเกจในการขนส่ง
ตัวสร้างเสริมและอุปสรรค
 บางส่วนของปัญหาเหล่านี้ เป็นด้านเทคนิค ด้านโครงสร้าง และ
พฤติกรรมผู้บริโภค เช่น ต้องให้ความไว้วางใจในระบบ IoT และ
บริษัทต่าง ๆ ต้องยอมรับวิธีการตัดสินใจที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล
ของ IoT
 นอกจากนี้ ยังมีปัญหาเกี่ยวกับกฎข้อบังคับ ที่จาเป็ นต้องได้รับ
การแก้ไข เช่น การกาหนดวิธีการที่ยานพาหนะที่ขับเคลื่อนด้วย
ตนเอง การนาไปใช้ในถนนสาธารณะ วิธีการควบคุม และการ
ประกัน
ผลกระทบต่างๆ
 ผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญสาหรับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ได้แก่
ผู้บริโภค บริษัทที่ใช้ IoT ผู้ส่งมอบเทคโนโลยี ผู้วางนโยบาย
และบุคลากร
ผลกระทบต่อผู้บริโภค
 เทคโนโลยี IoT มีศักยภาพที่จะลดค่าใช้จ่ายของสินค้าและบริการ
อย่างที่ได้เห็นจากการวิเคราะห์
 หนึ่งในแหล่งที่สาคัญที่สุดของคุณค่าคือ ความสะดวกสบาย และ
การประหยัดเวลามากขึ้นของผู้บริโภค
 อย่างไรก็ตาม ความกังวลเรื่องความเป็นส่วนตัว ซึ่งเกิดจาก
โปรแกรม IoT ที่แพร่กระจายนั้น ผู้บริโภคจะต้องรู้ทันเกี่ยวกับ
ข้อมูลของพวกเขาที่มีการรวบรวม และวิธีการใช้ข้อมูลเหล่านั้น
ผลกระทบต่อบริษัทที่ใช้ IoT
 บริษัทต่าง ๆ จะต้องตัดสินใจว่า เมื่อใดและอย่างไร ที่จะลงทุน
ในอินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ และจะต้องมีการพัฒนาความรู้ให้
เพียงพอที่จะลงทุนได้อย่างฉลาด
 เมื่อผู้ใช้ในองค์กรมีความรู้ในการระบุคุณสมบัติ ทาให้เกิดการ
ทางานร่วมกัน เพื่อใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ ได้เต็มศักยภาพ
 ผู้ใช้รายแรก ๆ มีโอกาสที่จะสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
(ผ่านต้นทุนการดาเนินงานต่ากว่า โอกาสที่จะได้ลูกค้าใหม่ และ
การใช้ประโยชน์สินทรัพย์มากขึ้ น) แต่ผู้ใช้รายหลัง ๆ อาจจะ
ได้รับผลประโยชน์เหล่านั้น ด้วยต้นทุนที่ต่ากว่า
ผลกระทบต่อผู้ส่งมอบเทคโนโลยี
 เช่นเดียวกับตลาดเทคโนโลยีอื่น ๆ ตลาดของ IoT จะมีผู้เล่นและ
กลยุทธ์ที่มีความหลากหลาย ผู้ส่งมอบบางรายจะแข่งขันโดยมี
เทคโนโลยีที่โดดเด่น ในขณะที่คนอื่น ๆ มีข้อมูลที่โดดเด่น ทาให้
มีโอกาสที่จะสร้างรูปแบบธุรกิจใหม่ เช่น การถือว่าอุปกรณ์ที่ใช้
งาน IoT เป็นการบริการ
 ผู้ส่งมอบเทคโนโลยีจะต้องทางานร่วมกันในเรื่อง มาตรฐาน
โปรโตคอล และแพลตฟอร์ม ที่มีความสาคัญสาหรับการเพิ่ม
ผลประโยชน์ของ IoT
ผลกระทบต่อผู้กาหนดนโยบาย
 สาหรับการใช้งาน IoT ให้ไปถึงศักยภาพ มีปัญหาสามประเด็น
คือ ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและการใช้งาน การรักษาความ
ปลอดภัย และการทางานร่วมกัน ที่ต้องได้รับการแก้ไข
 ในแต่ละประเด็นเหล่านี้ รัฐบาลมีบทบาทในการพัฒนามาตรฐาน
ที่จะช่วยให้การทางานร่วมกันของอุปกรณ์และระบบ IoT ซึ่ง
รัฐบาลจะเป็นทั้งผู้คุมกฎ เป็นผู้คุ้มครองผู้มีส่วนได้เสีย และเป็นผู้
ซื้ อระบบ
ผลกระทบต่อบุคลากร
 ความต้องการอาจตก สาหรับบุคลากรในการให้บริการบางอย่าง
เช่น การเตรียมอาหาร บริการทาความสะอาดบ้านและสานักงาน
การรักษาความปลอดภัย และการชาระเงินของร้านค้าปลีก
 บุคลากรที่ทาหน้าที่ติดตั้งและบารุงรักษาองค์ประกอบทาง
กายภาพของระบบ IoT เช่นเซ็นเซอร์ กล้อง ดาวเทียม และอื่น ๆ
จะเป็นที่ต้องการมากขึ้น
 บุคลากรอื่น ๆ จะเป็นที่ต้องการคือ การออกแบบ การพัฒนา
การขาย และการสนับสนุนระบบ IoT
สรุป
 แม้ในขั้นต้นนี้ อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ก็เริ่มส่งผลกระทบ เช่น
เปลี่ยนแปลงวิธีการทาและกระจายสินค้า แนวทางการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์และบริการ และวิธีการที่แพทย์และผู้ป่ วยจัดการสุขภาพ
เพื่อความเป็นอยู่ที่ดี
 การจะดักจับศักยภาพได้ ต้องมีนวัตกรรมในเทคโนโลยีของ
อินเตอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ รูปแบบธุรกิจใหม่ การลงทุนใน
ความสามารถใหม่ ๆ และการลงทุนในคนเก่ง
 การมีนโยบาย ส่งเสริมการทางานร่วมกัน ความมั่นใจในการรักษา
ความปลอดภัย การปกป้ องความเป็นส่วนตัว และสิทธิในทรัพย์สิน
จึงจะทาให้อินเตอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ สามารถใช้งานได้เต็มศักยภาพ
Goethe

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงนาเดีย น่ารัก
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordpeter dontoom
 
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)Khon Kaen University
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์kand-2539
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาVisiene Lssbh
 
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origamiIS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origamiเติ้ล ดาว'เหนือ
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การดูแลใช้ส่วนตัว
การดูแลใช้ส่วนตัวการดูแลใช้ส่วนตัว
การดูแลใช้ส่วนตัวWanlop Chimpalee
 

Was ist angesagt? (20)

รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
 
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
Si 1
Si 1Si 1
Si 1
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
 
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origamiIS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
 
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งานใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
 
การดูแลใช้ส่วนตัว
การดูแลใช้ส่วนตัวการดูแลใช้ส่วนตัว
การดูแลใช้ส่วนตัว
 

Andere mochten auch

The Internet of Things (IoT) and its evolution
The Internet of Things (IoT) and its evolutionThe Internet of Things (IoT) and its evolution
The Internet of Things (IoT) and its evolutionSathvik N Prasad
 
Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่
Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่
Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่maruay songtanin
 
New rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขัน
New rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขันNew rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขัน
New rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขันmaruay songtanin
 
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0maruay songtanin
 
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?maruay songtanin
 
The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง
The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรองThe softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง
The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรองmaruay songtanin
 
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 20152015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015maruay songtanin
 
Diversity ความหลากหลาย
Diversity ความหลากหลายDiversity ความหลากหลาย
Diversity ความหลากหลายmaruay songtanin
 
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HAHa & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HAmaruay songtanin
 
Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้
Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้
Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้maruay songtanin
 
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบEvolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบmaruay songtanin
 
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าValue chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าmaruay songtanin
 
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพCriteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพmaruay songtanin
 
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์maruay songtanin
 
Team chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีมTeam chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีมmaruay songtanin
 
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0 maruay songtanin
 
Overall requirements in 2015 2016
Overall requirements in 2015 2016Overall requirements in 2015 2016
Overall requirements in 2015 2016maruay songtanin
 
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญKey factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญmaruay songtanin
 
Building a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต
Building a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคตBuilding a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต
Building a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคตmaruay songtanin
 

Andere mochten auch (20)

The Internet of Things (IoT) and its evolution
The Internet of Things (IoT) and its evolutionThe Internet of Things (IoT) and its evolution
The Internet of Things (IoT) and its evolution
 
Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่
Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่
Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่
 
New rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขัน
New rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขันNew rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขัน
New rules of competition กฎใหม่ของการแข่งขัน
 
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0
Km 2.0 การจัดการความรู้ 2.0
 
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร?
 
The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง
The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรองThe softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง
The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง
 
Scoring system
Scoring systemScoring system
Scoring system
 
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 20152015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
2015 Baldrige award winners รางวัล Baldrige award 2015
 
Diversity ความหลากหลาย
Diversity ความหลากหลายDiversity ความหลากหลาย
Diversity ความหลากหลาย
 
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HAHa & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
Ha & army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA
 
Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้
Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้
Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้
 
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบEvolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
Evolution of design thinking วิวัฒนาการความคิดการออกแบบ
 
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าValue chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า
 
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพCriteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
Criteria by diagrams อธิบายเกณฑ์ด้วยแผนภาพ
 
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์
 
Team chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีมTeam chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีม
 
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0
Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0
 
Overall requirements in 2015 2016
Overall requirements in 2015 2016Overall requirements in 2015 2016
Overall requirements in 2015 2016
 
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญKey factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
 
Building a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต
Building a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคตBuilding a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต
Building a workforce for the future การสร้างบุคลากรสำหรับอนาคต
 

Ähnlich wie Internet of things part ii อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 2

Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Internet based & anti – corruption movements
Internet based & anti – corruption movementsInternet based & anti – corruption movements
Internet based & anti – corruption movementsImage plus Communication
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Jaratpan Onghununtakul
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Pisuth paiboonrat
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์KruKaiNui
 
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
Health Information Privacy and Security Management (& Health IT Ethics) (July...
Health Information Privacy and Security Management (& Health IT Ethics) (July...Health Information Privacy and Security Management (& Health IT Ethics) (July...
Health Information Privacy and Security Management (& Health IT Ethics) (July...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 

Ähnlich wie Internet of things part ii อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 2 (20)

Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
 
Internet based & anti – corruption movements
Internet based & anti – corruption movementsInternet based & anti – corruption movements
Internet based & anti – corruption movements
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Telemedicine (December 26, 2019)
Telemedicine (December 26, 2019)Telemedicine (December 26, 2019)
Telemedicine (December 26, 2019)
 
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)
Values of Telemedicine for Health Outcomes: Truth or Dare!! (September 29, 2020)
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
 
Social Media Proposal
Social Media ProposalSocial Media Proposal
Social Media Proposal
 
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
 
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
Health Information Privacy and Security Management (& Health IT Ethics) (July...
Health Information Privacy and Security Management (& Health IT Ethics) (July...Health Information Privacy and Security Management (& Health IT Ethics) (July...
Health Information Privacy and Security Management (& Health IT Ethics) (July...
 
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 

Mehr von maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

Mehr von maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

Internet of things part ii อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตอนที่ 2

  • 2. McKinsey & Company, June 2015 Thanks to Bill Voravuth
  • 3. คานิยาม  อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ (Internet of Things) คือเซ็นเซอร์และ ตัวกระตุ้น ที่มีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายระบบคอมพิวเตอร์  ระบบเหล่านี้ สามารถตรวจสอบ หรือจัดการการกระทาของวัตถุที่ มีการเชื่อมต่อ  เครื่องเซ็นเซอร์ที่เชื่อมต่อ ยังสามารถใช้ตรวจสอบ ธรรมชาติ ผู้คน และสัตว์
  • 4. ตัวอย่างที่น่าสนใจ  การทางานร่วมกัน (Interoperability): การบูรณาระบบ อินเตอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ช่วยเพิ่มคุณค่าได้ร้อยละ 40 (สไลด์ที่ 8-9)  สุขภาพของมนุษย์ (Human health): ลดค่าใช้จ่ายของการรักษา โรคเรื้อรังได้ร้อยละ 50 (สไลด์ที่ 25-27)  การบารุงรักษาแบบคาดการณ์ (Predictive maintenance): การใช้ ข้อมูลในเวลาจริง ในการคาดการณ์และป้ องกันการเสียหาย ลด การหยุดทางานได้ร้อยละ 50 (สไลด์ที่ 33-35)
  • 5. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร  อินเตอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ เป็นกระแสนิยม ที่จะช่วยสร้างคุณค่า ให้กับธุรกิจได้มากขึ้น ถ้ามองให้ออก  อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ มีศักยภาพพื้นฐาน ในการเปลี่ยนวิธีที่ เราโต้ตอบกับสภาพแวดล้อมของเรา  ความสามารถในการตรวจสอบและจัดการวัตถุทางกายภาพโดย อิเล็กทรอนิกส์ ทาให้มีการตัดสินใจโดยใช้ข้อมูล เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการทางานของระบบ พัฒนากระบวนการเพื่อ ประหยัดเวลาสาหรับผู้คนและธุรกิจ และใช้ในการพัฒนา คุณภาพชีวิต
  • 6. บทนา  โดยการผสมอาณาจักรทางกายภาพและดิจิตอลของ อินเทอร์เน็ตของ สิ่งต่าง ๆ (Internet of Things: IoT) ทาให้การเข้าถึงเทคโนโลยี สารสนเทศ ได้ขยายตัวขึ้นอย่างมากมาย  มีความเป็นไปได้อย่างมาก ในการตรวจสอบและควบคุมสิ่งทาง กายภาพโดยอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจในการสร้าง นวัตกรรม และความกระตือรือร้น  กระแสของ IoT ทาให้บริษัทต่าง ๆ นามาจัดการสินทรัพย์ทาง กายภาพ วิธีที่ผู้บริโภคให้ความสนใจกับสุขภาพและการออกกาลัง กาย และวิธีการทางานของเมืองต่าง ๆ  นอกจากนี้ ยังเป็นแรงบันดาลใจ และเป็นวิสัยทัศน์ของอนาคตอีกด้วย
  • 7. สรุปการค้นพบจากการวิจัย 1. การทางานร่วมกัน ระหว่างระบบ IoT สร้างคุณค่าได้ ร้อยละ 40 2. ข้อมูลส่วนใหญ่ที่เก็บรวบรวมจาก IoT ในวันนี้ ไม่ได้นามาใช้ทั้งหมด และไม่ได้ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ 3. คุณค่า IoT ของประเทศกาลังพัฒนา มีปริมาณเทียบได้กับประเทศ เศรษฐกิจขั้นสูง 4. การใช้งาน IoT ของ B2B (business-to-business) มีศักยภาพทาง เศรษฐกิจ มากกว่าการใช้งานของผู้บริโภค 5. ผู้ใช้เทคโนโลยีของ IoT เป็นผู้ได้รับคุณค่ามากที่สุดเมื่อเวลาผ่านไป 6. อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ จะเปลี่ยนฐานของการแข่งขัน และผลักดัน ธุรกิจรูปแบบใหม่ สาหรับบริษัทผู้ใช้และบริษัทผู้ส่งมอบ
  • 8. 1. การทางานร่วมกัน เป็นแหล่งสาคัญที่สร้างคุณค่าในระบบ IoT  IoT สองระบบหรือมากกว่า จะต้องมี การทางานร่วมกัน (interoperability) จึงสามารถสร้างคุณค่าโดยรวม ได้ที่ประมาณ ร้อยละ 40  ประโยชน์มากที่สุดของการทางานร่วมกัน เกิดใน หน่วย ปฏิบัติงาน (worksites setting) ที่มีการทางานร่วมกัน ร้อยละ 60  ศักยภาพขนาดใหญ่นี้ สะท้อนให้เห็นถึงความซับซ้อน และการ เชื่อมต่อของอุปกรณ์
  • 9.
  • 10. 2. ข้อมูลส่วนใหญ่ที่เก็บรวบรวมโดย IoT ไม่ได้ใช้ และข้อมูลที่ใช้ก็ไม่ได้ ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่  แท่นเจาะน้ามันแห่งหนึ่งที่เราศึกษา พบว่าน้อยกว่าร้อยละ 1 ของ ข้อมูลที่รวบรวมได้ถูกนามาใช้ เพราะส่วนใหญ่ของข้อมูล ไม่เคยถูก โอนมาจากแท่นขุดเจาะ  IoT ควรจะเป็นแหล่งสาคัญของ ข้อมูลขนาดใหญ่ (big data) ที่ สามารถใช้วิเคราะห์ในการสร้างคุณค่า และเป็นข้อมูลที่เปิ ดเผย ซึ่ง สามารถนามาใช้ได้มากกว่าหนึ่งกิจการ  ข้อมูลของ IoT โดยมากมักจะใช้สาหรับการตรวจสอบความผิดปกติ หรือใช้ในการควบคุมในเวลาจริง มากกว่าการเพิ่มประสิทธิภาพหรือ การคาดการณ์ ที่เป็นการเพิ่มคุณค่าของข้อมูลขนาดใหญ่
  • 11.
  • 12. 3. คุณค่าจะถูกสร้างขึ้นมากในประเทศที่มีเศรษฐกิจขั้นสูง แต่ก็มี โอกาสอย่างมากในประเทศที่กาลังพัฒนา  ในปี ค.ศ. 2025 เราคาดว่าร้อยละ 38 ของผลกระทบทาง เศรษฐกิจประจาปี ที่เกิดจากศักยภาพของการใช้งาน IoT จะอยู่ ในประเทศกาลังพัฒนา และร้อยละ 62 จะอยู่ในประเทศ เศรษฐกิจขั้นสูง  แม้เราได้คาดการณ์ว่า การใช้งาน IoT จะถูกนาไปใช้ในประเทศ กาลังพัฒนามากขึ้นก็ตาม  คุณค่าที่มีศักยภาพสูงในประเทศที่มีเศรษฐกิจก้าวหน้ามีสูง เพราะการใช้งานที่สูง เนื่องจากปัจจัย คือ อัตราค่าจ้างและ ค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น
  • 13.
  • 14. 4. การใช้งาน IoT ของ B2B มีศักยภาพทางเศรษฐกิจมากกว่าการ ใช้งาน B2C  กว่าสองในสามของคุณค่าที่สร้างขึ้นของการใช้งาน IoT จะอยู่ใน สถานการณ์ ธุรกิจกับธุรกิจ (B2B: business-to-business)  ทั่วทั้งโลก ปริมาณรวมของการทาธุรกรรม B2B จะสูงกว่า ปริมาณของ ธุรกิจกับลูกค้า (B2C: business-to-customer)  เนื่องจากห่วงโซ่อุปทานโดยทั่วไป เกี่ยวข้องกับการทาธุรกรรม หลาย B2B เช่น วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตชิ้นส่วน ถูกสร้างขึ้นเป็น ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป และในที่สุดถูกซื้ อโดยผู้บริโภคหรือธุรกิจอื่น
  • 15.
  • 16. 5. ผู้ใช้เทคโนโลยีของ IoT เป็นผู้ได้รับคุณค่ามากที่สุดเมื่อเวลาผ่านไป  อินเทอร์เน็ตมีการพัฒนา ที่มอบคุณค่าต่อเนื่องกับผู้ใช้งาน เช่น ผลิตภัณฑ์และบริการที่ดีกว่า และได้รับความสะดวกสบายมากขึ้น  อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ก็มีแนวโน้มที่จะเป็นไปตามรูปแบบ เดียวกัน  เราคาดว่าบริษัทที่ใช้ระบบ IoT ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการ ดาเนินงาน (เช่นเดียวกับผู้บริโภค) จะได้รับคุณค่าร้อยละ 90 ของ คุณค่าที่เกิดขึ้น จากการใช้งาน IoT ในปี ค.ศ. 2025
  • 17.
  • 18. 6. IoT จะเปลี่ยนฐานของการแข่งขัน และผลักดันรูปแบบธุรกิจใหม่ สาหรับบริษัทผู้ใช้และผู้ส่งมอบ  อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ให้โอกาสมากมายสาหรับผู้ผลิต อุปกรณ์ ด้วยความสามารถในการตรวจสอบขณะที่มีการใช้งาน โดยลูกค้า ผู้ผลิตอุปกรณ์อุตสาหกรรม สามารถเปลี่ยนจากการ ขายสินค้า เป็นการให้บริการด้วยผลิตภัณฑ์แทน  หรือร้านค้าปลีก อาจจะสร้างรายได้ใหม่จากการขายโฆษณา บน พื้นฐานเกี่ยวกับข้อมูลสินค้าที่อยู่ภายในร้าน
  • 19. การใช้งาน IoT ในการสร้างคุณค่าที่แตกต่างกัน  มูลค่ารวมที่อาจเกิดขึ้น เราคาดการณ์สาหรับการใช้งาน ในเก้า ประเภทเป็น $3.9 ล้านล้าน ถึง $11.1 ล้านล้าน ต่อปี ($3.9 trillion to $11.1 trillion per year)
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23. การใช้งาน IoT ในการสร้างคุณค่า 1. มนุษย์ (Human) 2. บ้านเรือน (Home) 3. สภาพแวดล้อมการค้าปลีก (Retail environments) 4. สานักงาน (Offices) 5. โรงงาน (Factories) 6. พื้นที่ปฏิบัติงาน (Worksites) 7. ยานพาหนะ (Vehicles) 8. เมือง (Cities) 9. นอกเหนือจากที่กล่าวมา (Outside)
  • 24. 1. การใช้งานกับมนุษย์:  ประเภทแรกคือ ด้านสุขภาพและการออกกาลังกาย การใช้ อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อในการตรวจสอบผู้ป่ วยอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ พวกเขามีชีวิตอยู่ เพื่อหลีกเลี่ยงการรักษาในโรงพยาบาล (และ ภาวะแทรกซ้อน) และใช้ปรับปรุงคุณภาพชีวิตของผู้ป่ วยได้ หลายร้อยล้านคน  โปรแกรมที่สอง ในการทางาน เช่น แว่นตาที่สามารถแสดง ข้อมูลแนวทางในการปฏิบัติงาน ที่เทคโนโลยี IoT ช่วยคนงานใน ภาคสนาม มีการติดต่อสื่อสารได้ต่อเนื่อง และทางานได้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น
  • 25. การยอมรับของการใช้ IoT ในด้านสุขภาพและออกกาลังกาย  จากการใช้งานในปัจจุบันและแนวโน้มอัตราการเติบโต เราคาดว่า ผลกระทบทางเศรษฐกิจของ IoT ในสุขภาพของมนุษย์อาจจะเป็น $170 พันล้าน ถึงเกือบ $1.6 ล้านล้าน ทั่วโลกในปี ค.ศ. 2025  แหล่งใหญ่ที่สุดของคุณค่า อยู่ที่การใช้อุปกรณ์ IoT ตรวจสอบและ รักษาโรค ($170 พันล้าน ถึง $1.1 ล้านล้าน ต่อปี ) จากการพัฒนา คุณภาพชีวิต และการขยายช่วงชีวิตที่มีสุขภาพที่ดีสาหรับผู้ป่ วยที่มี โรคเรื้อรัง และการลดค่าใช้จ่ายของการรักษา  แหล่งที่ใหญ่เป็นอันดับสองของคุณค่าสาหรับมนุษย์ เกี่ยวกับการออก กาลังกายหรืออุปกรณ์สวมใส่ (wearables) อื่น ๆ ในการติดตามและ ปรับเปลี่ยน อาหาร และการออกกาลังกาย
  • 26. การประยุกต์ใช้งานด้านสุขภาพของมนุษย์  อุปกรณ์ที่ใช้ในการดูแลสุขภาพของมนุษย์ แบ่งออกเป็นสามประเภท:  1. wearables: อุปกรณ์ที่ได้รับการออกแบบมาให้สวมใส่ หรือติดตัว ไปด้วย  2. Implantables, injectables และ ingestibles: อุปกรณ์อัจฉริยะที่มีการ ฝัง ฉีด หรือกลืนกิน เข้าไปในร่างกาย  3. Non-wearable measurement devices อุปกรณ์การวัดแบบไม่สวม ใส่ ที่รวบรวมและส่งข้อมูลสุขภาพจากร่างกายมนุษย์เป็นระยะ ๆ แต่ ไม่ยึดติดตัวอย่างต่อเนื่อง เช่น pulse oximeters (การเต้นของชีพจร) ที่ใช้งานผ่าน Bluetooth หรือเครื่องชั่งน้าหนักใช้งานผ่าน WiFi
  • 27. การลดค่าใช้จ่ายของการรักษาโรคเรื้อรัง  โดยรวมแล้ว เราประเมินว่าการใช้งาน IoT สามารถลดค่าใช้จ่าย ในการดูแลผู้ป่ วยโรคเรื้อรังได้ 10 ถึง 15 เปอร์เซ็นต์  การตรวจสอบระยะไกล ลดค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นได้เกินกว่าร้อย ละ 50 ในการรักษาประชากรที่เป็นโรคเฉียบพลัน  ถ้าเทคโนโลยีด้านสุขภาพระยะไกล สามารถที่จะบรรลุเต็ม ศักยภาพ การรักษาผู้ป่ วยโดยการใช้ IoT สามารถลดค่าใช้จ่าย ของการรักษาผู้ป่ วยโรคเรื้อรังได้กว่าร้อยละ 50
  • 28. 2. การใช้งานกับบ้านเรือน  มีอุปกรณ์ IoT ที่หลากหลายเกิดขึ้ นใหม่ สาหรับการใช้งานในบ้าน เช่น การตั้งอุณหภูมิ เครื่องใช้ในเรือนแบบอัจฉริยะ และ เครื่องดูดฝุ่นทางานได้ด้วยตัวเอง  มีการคาดหวังว่า ผลกระทบทางเศรษฐกิจที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของ อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ในบ้านอัตโนมัติ สามารถประหยัดได้ ประมาณ 100 ชั่วโมงของการใช้แรงงานต่อปี สาหรับการใช้ แรงงานในครัวเรือนทั่วไป
  • 29. 3. การใช้งานกับสภาพแวดล้อมของการค้าปลีก  IoT ใช้ได้กับห้างสรรพสินค้า ร้านขายของชา โชว์รูมแสดงสินค้า (ไม่ได้มีไว้สาหรับขาย) นอกจากนี้ ยังใช้ได้กับสถานที่ทาง กายภาพ เช่น สาขาธนาคาร โรงละคร และสนามกีฬา  เทคโนโลยี IoT ยังสามารถให้ข้อมูลที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการ วางรูปแบบของสินค้า การชาระเงินอัตโนมัติ การบริหารลูกค้า สัมพันธ์แบบอัจฉริยะ โปรโมชั่นส่วนบุคคลในห้าง และปรับปรุง การจัดการสินค้าคงคลัง
  • 30. 4. การใช้งานกับสานักงาน  ประโยชน์สาคัญของ IoT ที่ใช้ในสานักงาน คือการรักษาความ ปลอดภัย และการจัดการพลังงาน  โดยการใช้กล้องรักษาความปลอดภัยแบบดิจิตอล ที่มี ความสามารถการประมวลผลภาพขั้นสูง สามารถตรวจสอบ กิจกรรมตลอดทั้งอาคาร โดยไม่ต้องมียามลาดตระเวนอย่าง ต่อเนื่อง  เราประเมินว่าการบริหารจัดการพลังงานของ IoT ที่ใช้ใน สานักงาน สามารถลดการใช้พลังงานได้ร้อยละ 20
  • 31. 5. การใช้งานกับโรงงาน  นี้ เป็นหนึ่งในแหล่งใหญ่ที่สุดในการสร้างคุณค่า จากการใช้งาน ของ อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ  อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ สร้างคุณค่าในโรงงาน จากการ ปรับปรุงการผลิต เช่น การประหยัดพลังงานร้อยละ 10 - 20 และการปรับปรุงประสิทธิภาพแรงงานร้อยละ 10-25  การปรับปรุงในการบารุงรักษาอุปกรณ์ เพิ่มประสิทธิภาพสินค้า คงคลัง และสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน ยังเป็น แหล่งที่มาของการสร้างคุณค่าในโรงงาน
  • 32. อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ และยุคอุตสาหกรรม 4.0  อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ มีบทบาทสาคัญอย่างยิ่ง ในระยะ ต่อไปของระบบอัตโนมัติในโรงงาน ที่ได้รับการเรียกว่า อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบ เต็มรูปแบบของกระบวนการผลิต ที่ผสมผสานโลกดิจิตอลและ ทางกายภาพเข้าด้วยกันภายในโรงงาน  อุตสาหกรรม 4.0 มีความสามารถในการตรวจสอบและควบคุม เครื่องมือทั้งหมดในการผลิต และใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้เพื่อเพิ่ม ผลผลิตและคุณภาพ
  • 33. การบารุงรักษาแบบคาดการณ์ และการเพิ่มประสิทธิภาพสินค้าคง คลัง (predictive maintenance and inventory optimization)  การบารุงรักษาแบบคาดการณ์ เกี่ยวกับการใช้เซ็นเซอร์ในการ ตรวจสอบเครื่องจักรอย่างต่อเนื่อง เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียหาย และมีการบารุงรักษาเมื่อต้องทา มากกว่ามีการกาหนดการ บารุงรักษาอย่างสม่าเสมอเป็นกิจวัตร  IoT ปรับปรุงการจัดการสินค้าคงคลังโดยอัตโนมัติ โดยการสต็อก ชิ้นส่วนขึ้นที่อยู่กับน้าหนักหรือความสูง ของข้อมูลที่บันทึกไว้โดย เซ็นเซอร์
  • 34. การบารุงรักษาแบบคาดการณ์  IoT เปลี่ยนรูปแบบการบารุงรักษา จาก การซ่อมแซมและแทนที่ (repair and replace) เป็น การคาดการณ์และป้ องกัน (predict and prevent) ซึ่งเราประเมินว่า การบารุงรักษาแบบคาดการณ์ จะลด ค่าใช้จ่ายการบารุงรักษาอุปกรณ์ในโรงงานได้ร้อยละ 10 ถึง 40  นอกจากนี้ การบารุงรักษาที่ดีกว่าของการคาดการณ์โดยใช้ IoT สามารถลดการหยุดทางานได้ถึงร้อยละ 50 และลดการลงทุน อุปกรณ์ร้อยละ 3 ถึง 5 โดยการยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักร
  • 35.
  • 36. รูปแบบของโรงงาน  สาหรับการนา IoT มาใช้ในโรงงาน เครื่องจักรบางส่วนจะต้องมี การอัพเกรดหรือเปลี่ยน เพื่อรองรับเซ็นเซอร์และตัวกระตุ้น  นอกจากนี้ ยังจะต้องมีการปรับปรุงในการเชื่อมต่อ และการ ทางานร่วมกันในโรงงานเป็นจานวนมาก  ต้องมีการปรับปรุงการวิเคราะห์ข้อมูล และมีค่าใช้จ่ายของ เทคโนโลยีขั้นพื้นฐานเช่น เซ็นเซอร์ ระบบไมโครเทคโนโลยี การ จัดเก็บข้อมูลแบบคลาวด์ และการคานวณ  สุดท้าย สาหรับการใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่จาก IoT ในโรงงาน จะต้องตระหนักถึงการรักษาความปลอดภัย และความเป็น ส่วนตัว ที่จาเป็นต้องได้รับการแก้ไข
  • 37. 6. การใช้งานกับหน่วยปฏิบัติงาน  หน่วยปฏิบัติงาน คือสภาพแวดล้อมที่ใช้ในการผลิต เช่นการทา เหมืองแร่ โรงกลั่นน้ามันและโรงแยกก๊าซ และสถานที่ก่อสร้าง ต่าง ๆ  การใช้เซ็นเซอร์ในการตรวจสอบสภาพของเครื่องจักรในการใช้ งาน บริษัทสามารถเปลี่ยนเป็นรูปแบบการบารุงรักษาสภาพ โดย การบารุงรักษาอุปกรณ์เมื่อมีความจาเป็นที่เกิดขึ้นจริง ผ่านการ วิเคราะห์เชิงพยากรณ์ แทนที่จะอาศัยในตารางการบารุงรักษา ตามปกติ หรือซ่อมแซมอุปกรณ์เฉพาะเมื่อมีการเสียหาย
  • 38. 7. การใช้งานกับยานพาหนะ  ในยานพาหนะ เราประเมินศักยภาพของ IoT คือ การตรวจสอบ และปรับปรุงประสิทธิภาพการทางานของ เครื่องบิน รถไฟ และ ยานพาหนะอื่น ๆ ในขณะที่ใช้งาน  การติดตามข้อมูลประสิทธิภาพการทางาน ยังช่วยให้ผู้ผลิต รถยนต์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่น่าเชื่อถือมากขึ้น และค้นพบวิธีการ อื่น ๆ เพื่อให้บริการลูกค้า  IoT มีการติดตามอย่างมีนัยสาคัญ สามารถลดการโจรกรรม รถยนต์ และทาให้เบี้ยประกันถูกลง
  • 39. 8. การใช้งานกับเมือง  เมืองเป็นสถานที่ของการจัดการที่ดีของนวัตกรรม และการ ทดลองด้วยเทคโนโลยี IoT ที่เรียกว่า เมืองอัจฉริยะ (smart city)  เมืองจะได้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ สี่ประการคือ การขนส่ง ความปลอดภัยและสุขภาพของประชาชน การจัดการ ทรัพยากร และการให้บริการ  การขนส่ง เป็นโปรแกรมที่ใหญ่ที่สุด ที่ใช้ระบบ IoT ในการ จัดการการจราจร และยานพาหนะแบบอัตโนมัติ (รถยนต์ที่ ขับเคลื่อนด้วยตัวเอง ช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุ ลดการใช้น้ามัน เชื้อเพลิงด้วยการขับรถได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังสามารถ จอดรถได้ด้วยตัวเอง)
  • 40. 9. การใช้งานกับสิ่งนอกเหนือจากที่กล่าวมา  การใช้งานของเทคโนโลยี IoT นอกจากที่กล่าว คือการใช้นอก สถานที่ของสภาพแวดล้อมในเมือง  ยกตัวอย่างเช่น การใช้ IoT ในการปรับปรุงการกาหนดเส้นทาง ของเรือ เครื่องบิน และยานพาหนะอื่น ๆ ระหว่างเมือง โดยใช้ ระบบการนาทางขั้นสูง ที่ได้รับแจ้งจากเซ็นเซอร์ต่างๆ  นอกจากนี้ ยังรวมถึงการใช้อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ในการ ติดตามภาชนะใช้บรรจุ และแพคเกจในการขนส่ง
  • 41. ตัวสร้างเสริมและอุปสรรค  บางส่วนของปัญหาเหล่านี้ เป็นด้านเทคนิค ด้านโครงสร้าง และ พฤติกรรมผู้บริโภค เช่น ต้องให้ความไว้วางใจในระบบ IoT และ บริษัทต่าง ๆ ต้องยอมรับวิธีการตัดสินใจที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล ของ IoT  นอกจากนี้ ยังมีปัญหาเกี่ยวกับกฎข้อบังคับ ที่จาเป็ นต้องได้รับ การแก้ไข เช่น การกาหนดวิธีการที่ยานพาหนะที่ขับเคลื่อนด้วย ตนเอง การนาไปใช้ในถนนสาธารณะ วิธีการควบคุม และการ ประกัน
  • 42. ผลกระทบต่างๆ  ผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญสาหรับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ได้แก่ ผู้บริโภค บริษัทที่ใช้ IoT ผู้ส่งมอบเทคโนโลยี ผู้วางนโยบาย และบุคลากร
  • 43. ผลกระทบต่อผู้บริโภค  เทคโนโลยี IoT มีศักยภาพที่จะลดค่าใช้จ่ายของสินค้าและบริการ อย่างที่ได้เห็นจากการวิเคราะห์  หนึ่งในแหล่งที่สาคัญที่สุดของคุณค่าคือ ความสะดวกสบาย และ การประหยัดเวลามากขึ้นของผู้บริโภค  อย่างไรก็ตาม ความกังวลเรื่องความเป็นส่วนตัว ซึ่งเกิดจาก โปรแกรม IoT ที่แพร่กระจายนั้น ผู้บริโภคจะต้องรู้ทันเกี่ยวกับ ข้อมูลของพวกเขาที่มีการรวบรวม และวิธีการใช้ข้อมูลเหล่านั้น
  • 44. ผลกระทบต่อบริษัทที่ใช้ IoT  บริษัทต่าง ๆ จะต้องตัดสินใจว่า เมื่อใดและอย่างไร ที่จะลงทุน ในอินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ และจะต้องมีการพัฒนาความรู้ให้ เพียงพอที่จะลงทุนได้อย่างฉลาด  เมื่อผู้ใช้ในองค์กรมีความรู้ในการระบุคุณสมบัติ ทาให้เกิดการ ทางานร่วมกัน เพื่อใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ ได้เต็มศักยภาพ  ผู้ใช้รายแรก ๆ มีโอกาสที่จะสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน (ผ่านต้นทุนการดาเนินงานต่ากว่า โอกาสที่จะได้ลูกค้าใหม่ และ การใช้ประโยชน์สินทรัพย์มากขึ้ น) แต่ผู้ใช้รายหลัง ๆ อาจจะ ได้รับผลประโยชน์เหล่านั้น ด้วยต้นทุนที่ต่ากว่า
  • 45. ผลกระทบต่อผู้ส่งมอบเทคโนโลยี  เช่นเดียวกับตลาดเทคโนโลยีอื่น ๆ ตลาดของ IoT จะมีผู้เล่นและ กลยุทธ์ที่มีความหลากหลาย ผู้ส่งมอบบางรายจะแข่งขันโดยมี เทคโนโลยีที่โดดเด่น ในขณะที่คนอื่น ๆ มีข้อมูลที่โดดเด่น ทาให้ มีโอกาสที่จะสร้างรูปแบบธุรกิจใหม่ เช่น การถือว่าอุปกรณ์ที่ใช้ งาน IoT เป็นการบริการ  ผู้ส่งมอบเทคโนโลยีจะต้องทางานร่วมกันในเรื่อง มาตรฐาน โปรโตคอล และแพลตฟอร์ม ที่มีความสาคัญสาหรับการเพิ่ม ผลประโยชน์ของ IoT
  • 46. ผลกระทบต่อผู้กาหนดนโยบาย  สาหรับการใช้งาน IoT ให้ไปถึงศักยภาพ มีปัญหาสามประเด็น คือ ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและการใช้งาน การรักษาความ ปลอดภัย และการทางานร่วมกัน ที่ต้องได้รับการแก้ไข  ในแต่ละประเด็นเหล่านี้ รัฐบาลมีบทบาทในการพัฒนามาตรฐาน ที่จะช่วยให้การทางานร่วมกันของอุปกรณ์และระบบ IoT ซึ่ง รัฐบาลจะเป็นทั้งผู้คุมกฎ เป็นผู้คุ้มครองผู้มีส่วนได้เสีย และเป็นผู้ ซื้ อระบบ
  • 47. ผลกระทบต่อบุคลากร  ความต้องการอาจตก สาหรับบุคลากรในการให้บริการบางอย่าง เช่น การเตรียมอาหาร บริการทาความสะอาดบ้านและสานักงาน การรักษาความปลอดภัย และการชาระเงินของร้านค้าปลีก  บุคลากรที่ทาหน้าที่ติดตั้งและบารุงรักษาองค์ประกอบทาง กายภาพของระบบ IoT เช่นเซ็นเซอร์ กล้อง ดาวเทียม และอื่น ๆ จะเป็นที่ต้องการมากขึ้น  บุคลากรอื่น ๆ จะเป็นที่ต้องการคือ การออกแบบ การพัฒนา การขาย และการสนับสนุนระบบ IoT
  • 48. สรุป  แม้ในขั้นต้นนี้ อินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ ก็เริ่มส่งผลกระทบ เช่น เปลี่ยนแปลงวิธีการทาและกระจายสินค้า แนวทางการพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบริการ และวิธีการที่แพทย์และผู้ป่ วยจัดการสุขภาพ เพื่อความเป็นอยู่ที่ดี  การจะดักจับศักยภาพได้ ต้องมีนวัตกรรมในเทคโนโลยีของ อินเตอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ รูปแบบธุรกิจใหม่ การลงทุนใน ความสามารถใหม่ ๆ และการลงทุนในคนเก่ง  การมีนโยบาย ส่งเสริมการทางานร่วมกัน ความมั่นใจในการรักษา ความปลอดภัย การปกป้ องความเป็นส่วนตัว และสิทธิในทรัพย์สิน จึงจะทาให้อินเตอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ สามารถใช้งานได้เต็มศักยภาพ