SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
7 กรกฎาคม 2565
Dr. Stan Beecham
McGraw-Hill Education © 2016
Elite Minds delves into the idea of success and teaches you how to train your mind to tap into its highest
potential, adopt a winning mentality, embrace the gifts you’ve been given and improve mental toughness.
เกี่ยวกับผู้ประพันธ์
 Dr. Stan Beecham เป็นนักจิตวิทยาการกีฬาและที่ปรึกษาด้านภาวะผู้นา เขา
อาศัยอยู่ในเมือง Roswell รัฐ Georgia เขาเป็นวิทยากร และเป็นผู้อานวยการและ
สมาชิกผู้ก่อตั้งของ Leadership Resource Center ในเมือง Atlanta รัฐ Georgia
 ทุกวันนี้ เขาทางานกับนักกีฬาระดับมหาวิทยาลัย โอลิมปิ ก และนักกีฬาอาชีพ
จากกีฬาหลายประเภท ทาให้เขามีความเข้าใจอย่างลึกซึ้ งถึงจิตใจของนักกีฬาชั้น
แนวหน้า ที่มีเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่โชคดี
 Beecham นาภูมิปัญญาของเขามาสู่โลกธุรกิจ ที่เขาพัฒนาและสร้างโปรแกรม
การพัฒนาภาวะผู้นา สาหรับองค์กรต่าง ๆ
เกริ่นนา
 จิตใจของเรา เป็นเครื่องมือที่ทรงพลังที่สุดเพียงเครื่องมือเดียว ในการบรรลุผลการปฏิบัติงานทุก
ประเภท ซึ่งเป็นความจริงที่เถียงไม่ได้ว่า สมองควบคุมร่างกาย
 จิตใจของเราจึงมีหน้าที่รับผิดชอบทุกอย่างที่ร่างกายทา ไม่ว่าจะดีหรือไม่ดี เหมือนกับซอฟต์แวร์
ควบคุมคอมพิวเตอร์
 การฝึกจิตเพื่อให้มีพลังและมีส่วนร่วมในการบรรลุความสาเร็จแทนที่จะเป็นสิ่งกีดขวาง เป็นสิ่งสาคัญ
ในทุกกิจกรรม ด้วยเหตุนี้ Elite Minds จึงพูดถึงการเสริมสร้างสมองให้มีความได้เปรียบในการแข่งขัน
ที่คุณต้องก้าวไปข้างหน้าในชีวิต แทนที่จะปล่อยให้มันเป็นอุปสรรคในเส้นทางของคุณ
คาสาปของความสมบูรณ์แบบ
 นักกีฬาชั้นแนวหน้าส่วนใหญ่ ตั้งแต่นักกอล์ฟไปจนถึงนักยิมนาสติก มักจะมีสมาธิจดจ่อ มีระเบียบวินัย
และมีความสมบูรณ์แบบ ความเชื่อของพวกเขาคือ ความปรารถนาที่จะ "สมบูรณ์แบบ" ซึ่งจะทาให้
พวกเขาดีขึ้ น น่าเสียดายที่สิ่งนี้ ไม่เป็ นความจริงเสมอไป บ่อยครั้ง ความปรารถนาที่จะสมบูรณ์แบบเป็น
อุปสรรคต่อการทางาน
 เมื่อเราพยายามที่จะสมบูรณ์แบบ (การไม่ทาผิดพลาดใดๆ) ซึ่งในความจริงแล้ว ความสาเร็จคือการ
ตอบสนองต่อความผิดพลาดของคุณ คนที่มีแนวโน้มเป็นพวกชอบความสมบูรณ์แบบ มักตอบสนองต่อ
ความทุกข์ยากหรือความพ่ายแพ้ได้ไม่ดี เพราะความเชื่อของพวกเขาคือ ถ้าฉันทาถูกต้อง จะไม่มีการ
ล้มเหลว
 การไม่เข้าใจว่า ความล้มเหลวว่าเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางแห่งความสาเร็จ จะนาไปสู่ความล้มเหลวที่
มากขึ้ น บางทีวิธีที่ดีที่สุดและง่ายที่สุดในการบรรลุความสาเร็จคือ ล้ม 100 ครั้ง ลุกขึ้ น 101 ครั้ง
ยอมรับทั้งดีและไม่ดี
 เราต้องยอมรับว่า บ่อยครั้งเรามีวันที่ไม่ดี ความสามารถในการยอมรับความผันผวนของเรื่องเหล่านี้
ช่วยให้นักกีฬายังคงมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการฝึกฝนและรักษาเป้าหมายให้สูงไว้
 วิธีที่คุณทางานในช่วงวันที่ดีไม่ได้กาหนดลักษณะนิสัยของคุณ แต่วิธีที่คุณทางานในวันที่เลวร้ายนั่น
คือการทดสอบที่แท้จริง เพื่อให้คุณบรรลุศักยภาพ คุณต้องรู้ว่า คุณตอบสนองต่อผลงานที่ไม่ดี
อย่างไร นี่เป็นข้อมูลสาคัญที่คุณจะก้าวไปข้างหน้าได้
 ถ้าความสมบูรณ์แบบไม่ใช่เป้าหมาย แล้วมันคืออะไร? ง่ายมาก ทาให้ดีที่สุด แค่นั้นแหละ
 ทุกๆวัน จงตั้งใจทาให้ดีที่สุดเท่าที่จะทาได้กับสิ่งที่คุณมีในวันนั้น ข้อควรจาคือ เป้าหมายไม่ใช่ความ
สมบูรณ์แบบ พยายามอย่างเต็มที่ และฟื้ นตัวอย่างรวดเร็วจากความล้มเหลว
อะไรคือความสมบูรณ์แบบ
 Beecham เชื่อว่า ระดับความสาเร็จที่คุณบรรลุและวิธีดาเนินการของคุณนั้นมาจากจิตใจ 100%
 จิตใจมีหน้าที่ดูแลร่างกาย (สมอง = ซอฟต์แวร์ ร่างกาย = ฮาร์ดแวร์) เรามักเข้าใจผิดว่า ให้เรา
มุ่งเน้นที่ความสามารถและประสบการณ์ ซึ่งยังไม่เพียงพอ
 จิตใจของคุณเป็นทรัพย์สินหรือเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของคุณ? ความจริงคือ พวกเราเพียง
ไม่กี่คนเท่านั้นที่เข้าใจถึงสิ่งที่เราเชื่ออย่างแท้จริง เกี่ยวกับตนเองและโลกรอบตัวเรา 'สิ่งที่คุณเชื่อ
เกี่ยวกับตัวเองและโลกของคุณ เป็นปัจจัยหลักในสิ่งที่คุณทา และท้ายที่สุดคุณจะทามันได้ดีเพียงใด'
 การเรียนรู้โดยไม่รู้ตัว นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยไม่รู้ตัว ซึ่งนาไปสู่นิสัยที่ไม่รู้ตัวของเรา
ความมั่นใจ
 ความมั่นใจ เป็นอีกวิธีหนึ่งในการอธิบายระบบความเชื่อของเรา
 ความมั่นใจเป็นความคิดหรือความรู้สึก? คนส่วนใหญ่คิดว่ามันเป็นความรู้สึก แต่เมื่อคุณมี
สติสัมปชัญญะ จะรู้ว่ามันคือความคิด
 เพื่อเพิ่มความมั่นใจ คุณต้องทางานในระดับที่มีสติ ด้วยความมั่นใจในสิ่งที่คิด
 และเมื่อคุณตระหนักว่าคุณมีความเชื่อเชิงลบและผิดๆ เกี่ยวกับตัวเอง คุณสามารถแทนที่สิ่งเหล่านี้
ด้วยมุมมองที่เป็ นบวกมากขึ้ น
 เมื่อผู้คนหานักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์ มักจะเป็นเพราะพวกเขาต้องการที่จะรู้สึกแตกต่าง และมีความ
จาเป็ นต้องพูดถึงความคิดที่อยู่เบื้ องลึกในใจ
การตั้งเป้าหมาย
 ความสาคัญของ ความตั้งใจ (intentions) คือ ทาไมมาก่อนอะไรและอย่างไร (Why before what and
how) เป้าหมายเป็ นเรื่องเกี่ยวกับอะไรและอย่างไร แต่ความตั้งใจระบุว่าทาไม?
 ปัญหาของการตั้งเป้าหมายส่วนใหญ่คือ เราตั้งไว้อย่างปลอดภัยเกินไป เริ่มต้นเขียนเป้าหมายของคุณ
ว่าคุณทาได้ 100% ต่อมาเขียนใหม่เป็น 90,80,70%? คุณกลัวมากไปหรือเปล่าที่จะมีอะดรีนาลีน
(ฮอร์โมนที่หลั่งออกมาเมื่อตื่นเต้น) ทาให้ตั้งเป้าหมายอยู่ที่ 60% 'นั่นคือเป้าหมายของคุณหรือ?’
 ถ้ามันไม่ได้ทาให้คุณกลัว มันก็ไม่คุ้มที่จะเป็นเป้าหมาย และต้องฆ่าแผน B ด้วย ถ้าแผน B ของคุณ
คือการวางแผนของคุณเผื่อจะล้มเหลว 'ฆ่าแผน B ไม่อย่างนั้นมันจะฆ่าคุณ’ (ทาให้นึกถึงเหตุการณ์
ประวัติศาสตร์ ตอนที่พระเจ้าตากสินมหาราช ยกทัพเข้าตีเมืองจันทบุรี ก่อนกู้เอกราช – ผู้แปล)
ความเชื่อที่ผิดในเรื่องต้องทาให้ได้ 110%
 มีความสัมพันธ์กันระหว่าง ความพยายามและผลงาน แต่ไม่ใช่ความสัมพันธ์เชิงบวกเสมอไป เรา
จาเป็นต้องสร้างสมดุลระหว่างความพยายามทางกายและความพยายามทางจิตใจ
 ในสภาวะที่ลื่นไหล (จิตใจที่สงบนิ่ง) แทบจะไม่รู้สึกว่าต้องมีความพยายามทางกาย
 และการมีความพยายามทาให้มักนึกถึงการต่อต้าน แต่บ่อยครั้ง สิ่งที่ดีที่สุดของเราคือ การยอมรับ
สภาพความเป็นจริงมากกว่าการต่อต้าน
 ให้ถามทุกวันว่า ฉันได้ทาให้ดีที่สุดและเป็นการก้าวไปสู่เป้าหมายของฉันแล้วหรือยัง
ความคาดหวัง
 เกี่ยวกับการตั้งความคาดหวัง 'ทุกคนต้องการเหรียญรางวัล แต่เฉพาะผู้ที่เชื่อจริงๆ ว่าพวกเขาจะ
ได้รับเหรียญเท่านั้นที่มีโอกาส การอยากได้เหรียญเป็ นความปรารถนาอย่างมีสติ ความคาดหวังว่าจะ
ได้เหรียญนั้นเป็ นจิตใต้สานึก’ ไม่ใช่เพียงมีโชค แต่เป็นความคาดหวังของคุณที่กาหนดความสาเร็จ
 'ความคาดหวังเป็ นตัวกาหนดผลงาน ทุกคนต้องการชนะ แต่มีเพียงไม่กี่คนที่ตั้งความหวังว่าจะชนะ'
ไม่มีสิ่งที่เรียกว่าการแสดงเดี่ยว ให้สร้างทีม
 รับสมัครและเลือกคนที่เหมาะสม
 พัฒนามิตรภาพที่แข็งแกร่ง (ความไว้วางใจ และความสัมพันธ์)
 สร้างระบบค่านิยมที่ใช้ร่วมกัน
 ต่อสู้ไปด้วยกัน ไม่ทาร้ายกันเอง
 ปลูกฝังการเป็นผู้นาที่เข้มแข็ง
 กาหนดเป้าหมายของทีมให้ชัดเจน
3 องค์ประกอบหลักในการสร้างผลงาน ความเชื่อ ความคิด และพฤติกรรม
 เมื่อสามสิ่งเหล่านี้ มีความสอดคล้องกัน ผลงานจะออกมาสูง
 ความเชื่อ เป็นสิ่งสาคัญว่ามาจากไหน
 ความคิด คือมีสติสัมปชัญญะ มักจะเป็นผลพลอยได้ของความเชื่อ (การเปลี่ยนความคิดง่ายกว่า
เปลี่ยนความเชื่อ ความพยายามส่วนใหญ่แล้วอยู่ที่จุดนี้ สุดท้ายแล้ว คุณสามารถเปลี่ยนความเชื่อ
โดยไม่รู้ตัว ผ่านความคิดที่มีสติสัมปชัญญะได้)
 พฤติกรรม สิ่งที่เราทา
 เมื่อมีการเปลี่ยนสิ่งใดสิ่งหนึ่งเหล่านี้ แล้ว คุณจะรู้สึกไม่สบายใจ
ความคิดหลัก
 เป็นไปตามชื่อหนังสือ ที่ Beecham บอกเราว่า จิตใจ (MINDS) นั้น สร้างความแตกต่างในการทางาน
ในระดับสูงได้อย่างยั่งยืน คือสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและเพิ่มความสาเร็จได้สูงสุด ซึ่งมี
แนวคิดที่สาคัญได้แก่
 เรื่องที่คุณเข้าใจผิด (คุณยิ่งใหญ่กว่าที่คุณคิด)
 คาสาปของความสมบูรณ์แบบ (จาไว้ว่าอาจมีการเล่นที่ไม่ดีบ้าง)
 ความหมายที่แท้จริงของคาว่า "แข่งขัน" ("ต่อสู้กัน" ไม่ใช่ต่อต้าน)
 คาว่า "ประกวด" (เป็นไปตามสัญญา!)
 คู่ต่อสู้สูงสุดของคุณ (ความกลัว!!)
 และ คาถามสุดท้าย จะไปต่อหรือไม่ไป (คาตอบคือ ไป!!!)
สามบทเรียนจากหนังสือเล่มนี้
1. โอกาสที่คุณจะทุกข์จากการมองตนเองที่ผิดพลาดนั้น มีค่อนข้างสูง (The chances of you suffering
from a mistaken identity are quite high)
2. วันที่เลวร้ายและความยากลาบากในเส้นทางสู่ความสาเร็จ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการที่คุณต้อง
ยอมรับ (Bad days and hardship on the way to success are a part of the process that you must accept)
3. กาจัดความกลัวและใช้ศักยภาพสูงสุดของคุณ ในก้าวไปสู่ความฝันของคุณ (Kill fear and embrace
your highest potential by taking that jump towards your dreams)
บทเรียนที่ 1 การบรรลุศักยภาพของคุณอาจล่าช้า เนื่องจากการระบุตัวตนที่ผิดพลาดของคุณ
 จะเกิดอะไรขึ้ นถ้าคุณยังไม่ได้พบตัวตนของตัวเองที่ดีที่สุด? โอกาสคือจะไม่มีใครอื่นพบ! เมื่อติดตาม
สมมติฐานนี้ ไปต่อ อาจดูเหมือนว่าไม่มีใครรู้จักคุณจริงๆ รวมทั้งตัวคุณเองด้วย อย่างไรก็ตาม นั่น
ไม่ใช่สิ่งเลวร้ายเกินไปนัก
 การไม่ใช้ชีวิตอย่างมีศักยภาพสูงสุด เป็ นการสิ้นเปลืองความสามารถและอาจทาให้คุณรู้สึกอนาถ
 นั่นเป็นเพราะคุณยังไม่รู้จักตัวตนที่แท้จริงของคุณ เราเป็นมากกว่าที่เราคิด ในฐานะมนุษย์ เรามี
เป้าหมายที่จะทาให้สาเร็จ ภารกิจที่ต้องทา และมีความเก่งเพื่อการใช้ประโยชน์
 อย่างไรก็ตาม เราทุกคนต่างถูกพามายังโลกนี้ เพื่อทาภารกิจนี้ ให้สาเร็จ โดยไม่รู้ว่าต้องทาอย่างไร หรือ
แม้แต่ไม่รู้ว่าปลายทางสุดท้ายคืออะไร สิ่งหนึ่งที่แน่นอนคือ จนกว่าเราจะไปถึงขั้นนั้น เรายังไม่เข้าใจ
พลังของจิตสานึก
 ความคิดของคุณคือคุณ และนั่นเป็นพลังพิเศษเพียงอย่างเดียวที่คุณต้องการ เพื่อเอาชนะอุปสรรค
และความยากลาบาก แล้วจึงจะบรรลุศักยภาพของคุณ นี่เป็ นก้าวแรก จากนั้น การเสริมสร้างจิตใจให้
เข้มแข็งเพื่อมองโลกอย่างมีจุดมุ่งหมาย เป็นภารกิจที่คุณต้องทาให้สาเร็จ
 การบรรลุเป้าหมายทั้งหมด เป็ นผลโดยตรงจากการกระทาของจิตใจที่มีต่อร่างกายของคุณ
 เมื่อถึงขั้นนั้น คุณจะพบตัวตนที่แท้จริงของคุณในที่สุด สิ่งที่ต่ากว่าตัวตนที่ดีที่สุดของคุณคือการมอง
ตัวตนของตนเองที่ผิดพลาด และคุณต้องดาเนินชีวิตตามแนวคิดนี้ จึงจะประสบความสาเร็จได้
บทเรียนที่ 2 เวลาที่ท้าทาย เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางสู่ความสาเร็จ
 แนวโน้มของความพอใจแต่สิ่งดีเลิศและความวิตกกังวลเรื่องต้องมีผลงานสูงกาลังครอบงาโลก และ
มันทาให้ผู้คนเสียสติไปอย่างน่าเสียดาย ความสมบูรณ์แบบ ทาให้ผู้คนคิดว่าไม่มีสิ่งใดที่พวกเขาทา
ได้ดีพอ (ตราบเท่าที่พวกเขาประสบความล้มเหลวและมีวันที่เลวร้าย) เป็นเรื่องที่เข้าใจผิด!
 วันที่ไม่ดีเหล่านั้น เป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการ ไม่มีบุคคลใดที่ประสบความสาเร็จไปถึงจุดสูงสุด
โดยไม่ได้พบกับความยากลาบากระหว่างทาง แม้ว่าคุณจะบรรลุเป้าหมายแล้ว คุณก็ยังมีวันที่แย่ มัน
ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของตัวตนของคุณ ไม่ได้หมายความว่าคุณกาลังทาอะไรผิด แต่มันเป็นเพียงกฎ
สากลของชีวิต
 เรากาลังพูดถึงวันที่เลวร้ายสักกี่วัน? ชีวิตของทุกคนแตกต่างกัน และเราทุกคนต้องเผชิญกับปีศาจ
ของตัวเอง แต่จากการศึกษาเกี่ยวกับนักกีฬาที่เก่งที่สุดในโลกระบุว่า พวกเขายังมีวันที่แย่ๆ อยู่สาม
ถึงหกวันต่อเดือน
 สิ่งที่ดีที่สุดที่จะตอบสนองเกี่ยวกับเรื่องนี้ คือ ไม่ต้องทาอะไร! ยอมรับความล้มเหลวว่าเป็นบทเรียน
และความยากลาบากเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต
 ปลดปล่อยตัวเองจากคาสาปแห่งความสมบูรณ์แบบ!
บทเรียนที่ 3 ความยิ่งใหญ่เข้ามาในชีวิตของคุณ เมื่อคุณเรียนรู้วิธีกาจัดความกลัว
 ความกลัวเป็นศัตรูตัวฉกาจที่สุดในการบรรลุความฝันของเรา ในชีวิตจริง คนอื่นมักบอกเราให้เป็นคน
มีเหตุผล อยู่กับความจริง และระมัดระวัง คาแนะนาประเภทนี้ ป้องกันไม่ให้เราทาสิ่งที่กล้าหาญและ
ยิ่งใหญ่ ไม่มีใครทาอะไรให้น่าจดจาได้เพราะความกลัว
 และแนวความคิดนี้ กลับไปสู่ปรัชญาโบราณ อริสโตเติลเชื่อว่า ผู้ที่สาเร็จคือผู้ที่เอาชนะความกลัวได้ใน
ชีวิต อันที่จริงเขากล่าวว่าความกล้าหาญคือคุณธรรมที่จะมีชีวิตอยู่ และด้วยความกล้าหาญในความ
พยายามและไล่ตามเป้าหมายเท่านั้น คุณก็จะไปถึงสถานภาพของความสุข เป็ นสภาวะแห่งความสุข
อย่างบริสุทธิ์ใจ ความสาเร็จ และการเติมเต็มในตนเอง
 ดังนั้น อีกก้าวหนึ่งของความเข้มแข็งทางจิตใจคือ การเอาชนะความกลัวและไล่ตามความฝัน แม้ว่า
จะทาให้คุณอยู่ในสภาวะอึดอัดก็ตาม
 ช่วยตัวเองโดยมองหาแรงจูงใจภายนอก ตื่นเต้นกับการเดินทางข้างหน้า และทาทุกอย่างที่ทาให้คุณ
กลัว ทั้งที่สัญชาตญาณบอกคุณเป็ นอย่างอื่น
สรุป
 Elite Minds พูดถึงความสาคัญของการฝึกจิตใจ ช่วยคุณหยุดทาร้ายตนเอง โดยใช้ความเข้มแข็งทาง
จิตใจเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย การเอาชนะความกลัว การกระทาทุกอย่างที่คุณต้องการ การบรรลุ
จุดประสงค์ที่สูงขึ้ น และการยอมรับความล้มเหลว ล้วนเป็ นประเด็นหลักที่หนังสือเล่มนี้ กล่าวถึง
 การอ่านหนังสืออันน่าทึ่งนี้ จะสอนแนวคิดอันมีค่าแก่คุณ ตั้งแต่ปรัชญาโบราณไปจนถึงการศึกษา
สมัยใหม่ เกี่ยวกับความสาคัญของการฝึกจิตใจ และการเปิดรับแนวคิดแห่งชัยชนะ ในการเดินทางสู่
ความสาเร็จ
—Teddy Roosevelt

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

Mehr von maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

Elite Minds จิตเป็นนาย.pptx

  • 2. Dr. Stan Beecham McGraw-Hill Education © 2016 Elite Minds delves into the idea of success and teaches you how to train your mind to tap into its highest potential, adopt a winning mentality, embrace the gifts you’ve been given and improve mental toughness.
  • 3. เกี่ยวกับผู้ประพันธ์  Dr. Stan Beecham เป็นนักจิตวิทยาการกีฬาและที่ปรึกษาด้านภาวะผู้นา เขา อาศัยอยู่ในเมือง Roswell รัฐ Georgia เขาเป็นวิทยากร และเป็นผู้อานวยการและ สมาชิกผู้ก่อตั้งของ Leadership Resource Center ในเมือง Atlanta รัฐ Georgia  ทุกวันนี้ เขาทางานกับนักกีฬาระดับมหาวิทยาลัย โอลิมปิ ก และนักกีฬาอาชีพ จากกีฬาหลายประเภท ทาให้เขามีความเข้าใจอย่างลึกซึ้ งถึงจิตใจของนักกีฬาชั้น แนวหน้า ที่มีเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่โชคดี  Beecham นาภูมิปัญญาของเขามาสู่โลกธุรกิจ ที่เขาพัฒนาและสร้างโปรแกรม การพัฒนาภาวะผู้นา สาหรับองค์กรต่าง ๆ
  • 4. เกริ่นนา  จิตใจของเรา เป็นเครื่องมือที่ทรงพลังที่สุดเพียงเครื่องมือเดียว ในการบรรลุผลการปฏิบัติงานทุก ประเภท ซึ่งเป็นความจริงที่เถียงไม่ได้ว่า สมองควบคุมร่างกาย  จิตใจของเราจึงมีหน้าที่รับผิดชอบทุกอย่างที่ร่างกายทา ไม่ว่าจะดีหรือไม่ดี เหมือนกับซอฟต์แวร์ ควบคุมคอมพิวเตอร์  การฝึกจิตเพื่อให้มีพลังและมีส่วนร่วมในการบรรลุความสาเร็จแทนที่จะเป็นสิ่งกีดขวาง เป็นสิ่งสาคัญ ในทุกกิจกรรม ด้วยเหตุนี้ Elite Minds จึงพูดถึงการเสริมสร้างสมองให้มีความได้เปรียบในการแข่งขัน ที่คุณต้องก้าวไปข้างหน้าในชีวิต แทนที่จะปล่อยให้มันเป็นอุปสรรคในเส้นทางของคุณ
  • 5. คาสาปของความสมบูรณ์แบบ  นักกีฬาชั้นแนวหน้าส่วนใหญ่ ตั้งแต่นักกอล์ฟไปจนถึงนักยิมนาสติก มักจะมีสมาธิจดจ่อ มีระเบียบวินัย และมีความสมบูรณ์แบบ ความเชื่อของพวกเขาคือ ความปรารถนาที่จะ "สมบูรณ์แบบ" ซึ่งจะทาให้ พวกเขาดีขึ้ น น่าเสียดายที่สิ่งนี้ ไม่เป็ นความจริงเสมอไป บ่อยครั้ง ความปรารถนาที่จะสมบูรณ์แบบเป็น อุปสรรคต่อการทางาน  เมื่อเราพยายามที่จะสมบูรณ์แบบ (การไม่ทาผิดพลาดใดๆ) ซึ่งในความจริงแล้ว ความสาเร็จคือการ ตอบสนองต่อความผิดพลาดของคุณ คนที่มีแนวโน้มเป็นพวกชอบความสมบูรณ์แบบ มักตอบสนองต่อ ความทุกข์ยากหรือความพ่ายแพ้ได้ไม่ดี เพราะความเชื่อของพวกเขาคือ ถ้าฉันทาถูกต้อง จะไม่มีการ ล้มเหลว  การไม่เข้าใจว่า ความล้มเหลวว่าเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางแห่งความสาเร็จ จะนาไปสู่ความล้มเหลวที่ มากขึ้ น บางทีวิธีที่ดีที่สุดและง่ายที่สุดในการบรรลุความสาเร็จคือ ล้ม 100 ครั้ง ลุกขึ้ น 101 ครั้ง
  • 6. ยอมรับทั้งดีและไม่ดี  เราต้องยอมรับว่า บ่อยครั้งเรามีวันที่ไม่ดี ความสามารถในการยอมรับความผันผวนของเรื่องเหล่านี้ ช่วยให้นักกีฬายังคงมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการฝึกฝนและรักษาเป้าหมายให้สูงไว้  วิธีที่คุณทางานในช่วงวันที่ดีไม่ได้กาหนดลักษณะนิสัยของคุณ แต่วิธีที่คุณทางานในวันที่เลวร้ายนั่น คือการทดสอบที่แท้จริง เพื่อให้คุณบรรลุศักยภาพ คุณต้องรู้ว่า คุณตอบสนองต่อผลงานที่ไม่ดี อย่างไร นี่เป็นข้อมูลสาคัญที่คุณจะก้าวไปข้างหน้าได้  ถ้าความสมบูรณ์แบบไม่ใช่เป้าหมาย แล้วมันคืออะไร? ง่ายมาก ทาให้ดีที่สุด แค่นั้นแหละ  ทุกๆวัน จงตั้งใจทาให้ดีที่สุดเท่าที่จะทาได้กับสิ่งที่คุณมีในวันนั้น ข้อควรจาคือ เป้าหมายไม่ใช่ความ สมบูรณ์แบบ พยายามอย่างเต็มที่ และฟื้ นตัวอย่างรวดเร็วจากความล้มเหลว
  • 7. อะไรคือความสมบูรณ์แบบ  Beecham เชื่อว่า ระดับความสาเร็จที่คุณบรรลุและวิธีดาเนินการของคุณนั้นมาจากจิตใจ 100%  จิตใจมีหน้าที่ดูแลร่างกาย (สมอง = ซอฟต์แวร์ ร่างกาย = ฮาร์ดแวร์) เรามักเข้าใจผิดว่า ให้เรา มุ่งเน้นที่ความสามารถและประสบการณ์ ซึ่งยังไม่เพียงพอ  จิตใจของคุณเป็นทรัพย์สินหรือเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของคุณ? ความจริงคือ พวกเราเพียง ไม่กี่คนเท่านั้นที่เข้าใจถึงสิ่งที่เราเชื่ออย่างแท้จริง เกี่ยวกับตนเองและโลกรอบตัวเรา 'สิ่งที่คุณเชื่อ เกี่ยวกับตัวเองและโลกของคุณ เป็นปัจจัยหลักในสิ่งที่คุณทา และท้ายที่สุดคุณจะทามันได้ดีเพียงใด'  การเรียนรู้โดยไม่รู้ตัว นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยไม่รู้ตัว ซึ่งนาไปสู่นิสัยที่ไม่รู้ตัวของเรา
  • 8. ความมั่นใจ  ความมั่นใจ เป็นอีกวิธีหนึ่งในการอธิบายระบบความเชื่อของเรา  ความมั่นใจเป็นความคิดหรือความรู้สึก? คนส่วนใหญ่คิดว่ามันเป็นความรู้สึก แต่เมื่อคุณมี สติสัมปชัญญะ จะรู้ว่ามันคือความคิด  เพื่อเพิ่มความมั่นใจ คุณต้องทางานในระดับที่มีสติ ด้วยความมั่นใจในสิ่งที่คิด  และเมื่อคุณตระหนักว่าคุณมีความเชื่อเชิงลบและผิดๆ เกี่ยวกับตัวเอง คุณสามารถแทนที่สิ่งเหล่านี้ ด้วยมุมมองที่เป็ นบวกมากขึ้ น  เมื่อผู้คนหานักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์ มักจะเป็นเพราะพวกเขาต้องการที่จะรู้สึกแตกต่าง และมีความ จาเป็ นต้องพูดถึงความคิดที่อยู่เบื้ องลึกในใจ
  • 9. การตั้งเป้าหมาย  ความสาคัญของ ความตั้งใจ (intentions) คือ ทาไมมาก่อนอะไรและอย่างไร (Why before what and how) เป้าหมายเป็ นเรื่องเกี่ยวกับอะไรและอย่างไร แต่ความตั้งใจระบุว่าทาไม?  ปัญหาของการตั้งเป้าหมายส่วนใหญ่คือ เราตั้งไว้อย่างปลอดภัยเกินไป เริ่มต้นเขียนเป้าหมายของคุณ ว่าคุณทาได้ 100% ต่อมาเขียนใหม่เป็น 90,80,70%? คุณกลัวมากไปหรือเปล่าที่จะมีอะดรีนาลีน (ฮอร์โมนที่หลั่งออกมาเมื่อตื่นเต้น) ทาให้ตั้งเป้าหมายอยู่ที่ 60% 'นั่นคือเป้าหมายของคุณหรือ?’  ถ้ามันไม่ได้ทาให้คุณกลัว มันก็ไม่คุ้มที่จะเป็นเป้าหมาย และต้องฆ่าแผน B ด้วย ถ้าแผน B ของคุณ คือการวางแผนของคุณเผื่อจะล้มเหลว 'ฆ่าแผน B ไม่อย่างนั้นมันจะฆ่าคุณ’ (ทาให้นึกถึงเหตุการณ์ ประวัติศาสตร์ ตอนที่พระเจ้าตากสินมหาราช ยกทัพเข้าตีเมืองจันทบุรี ก่อนกู้เอกราช – ผู้แปล)
  • 10. ความเชื่อที่ผิดในเรื่องต้องทาให้ได้ 110%  มีความสัมพันธ์กันระหว่าง ความพยายามและผลงาน แต่ไม่ใช่ความสัมพันธ์เชิงบวกเสมอไป เรา จาเป็นต้องสร้างสมดุลระหว่างความพยายามทางกายและความพยายามทางจิตใจ  ในสภาวะที่ลื่นไหล (จิตใจที่สงบนิ่ง) แทบจะไม่รู้สึกว่าต้องมีความพยายามทางกาย  และการมีความพยายามทาให้มักนึกถึงการต่อต้าน แต่บ่อยครั้ง สิ่งที่ดีที่สุดของเราคือ การยอมรับ สภาพความเป็นจริงมากกว่าการต่อต้าน  ให้ถามทุกวันว่า ฉันได้ทาให้ดีที่สุดและเป็นการก้าวไปสู่เป้าหมายของฉันแล้วหรือยัง
  • 11. ความคาดหวัง  เกี่ยวกับการตั้งความคาดหวัง 'ทุกคนต้องการเหรียญรางวัล แต่เฉพาะผู้ที่เชื่อจริงๆ ว่าพวกเขาจะ ได้รับเหรียญเท่านั้นที่มีโอกาส การอยากได้เหรียญเป็ นความปรารถนาอย่างมีสติ ความคาดหวังว่าจะ ได้เหรียญนั้นเป็ นจิตใต้สานึก’ ไม่ใช่เพียงมีโชค แต่เป็นความคาดหวังของคุณที่กาหนดความสาเร็จ  'ความคาดหวังเป็ นตัวกาหนดผลงาน ทุกคนต้องการชนะ แต่มีเพียงไม่กี่คนที่ตั้งความหวังว่าจะชนะ'
  • 12. ไม่มีสิ่งที่เรียกว่าการแสดงเดี่ยว ให้สร้างทีม  รับสมัครและเลือกคนที่เหมาะสม  พัฒนามิตรภาพที่แข็งแกร่ง (ความไว้วางใจ และความสัมพันธ์)  สร้างระบบค่านิยมที่ใช้ร่วมกัน  ต่อสู้ไปด้วยกัน ไม่ทาร้ายกันเอง  ปลูกฝังการเป็นผู้นาที่เข้มแข็ง  กาหนดเป้าหมายของทีมให้ชัดเจน
  • 13. 3 องค์ประกอบหลักในการสร้างผลงาน ความเชื่อ ความคิด และพฤติกรรม  เมื่อสามสิ่งเหล่านี้ มีความสอดคล้องกัน ผลงานจะออกมาสูง  ความเชื่อ เป็นสิ่งสาคัญว่ามาจากไหน  ความคิด คือมีสติสัมปชัญญะ มักจะเป็นผลพลอยได้ของความเชื่อ (การเปลี่ยนความคิดง่ายกว่า เปลี่ยนความเชื่อ ความพยายามส่วนใหญ่แล้วอยู่ที่จุดนี้ สุดท้ายแล้ว คุณสามารถเปลี่ยนความเชื่อ โดยไม่รู้ตัว ผ่านความคิดที่มีสติสัมปชัญญะได้)  พฤติกรรม สิ่งที่เราทา  เมื่อมีการเปลี่ยนสิ่งใดสิ่งหนึ่งเหล่านี้ แล้ว คุณจะรู้สึกไม่สบายใจ
  • 14. ความคิดหลัก  เป็นไปตามชื่อหนังสือ ที่ Beecham บอกเราว่า จิตใจ (MINDS) นั้น สร้างความแตกต่างในการทางาน ในระดับสูงได้อย่างยั่งยืน คือสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและเพิ่มความสาเร็จได้สูงสุด ซึ่งมี แนวคิดที่สาคัญได้แก่  เรื่องที่คุณเข้าใจผิด (คุณยิ่งใหญ่กว่าที่คุณคิด)  คาสาปของความสมบูรณ์แบบ (จาไว้ว่าอาจมีการเล่นที่ไม่ดีบ้าง)  ความหมายที่แท้จริงของคาว่า "แข่งขัน" ("ต่อสู้กัน" ไม่ใช่ต่อต้าน)  คาว่า "ประกวด" (เป็นไปตามสัญญา!)  คู่ต่อสู้สูงสุดของคุณ (ความกลัว!!)  และ คาถามสุดท้าย จะไปต่อหรือไม่ไป (คาตอบคือ ไป!!!)
  • 15. สามบทเรียนจากหนังสือเล่มนี้ 1. โอกาสที่คุณจะทุกข์จากการมองตนเองที่ผิดพลาดนั้น มีค่อนข้างสูง (The chances of you suffering from a mistaken identity are quite high) 2. วันที่เลวร้ายและความยากลาบากในเส้นทางสู่ความสาเร็จ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการที่คุณต้อง ยอมรับ (Bad days and hardship on the way to success are a part of the process that you must accept) 3. กาจัดความกลัวและใช้ศักยภาพสูงสุดของคุณ ในก้าวไปสู่ความฝันของคุณ (Kill fear and embrace your highest potential by taking that jump towards your dreams)
  • 16. บทเรียนที่ 1 การบรรลุศักยภาพของคุณอาจล่าช้า เนื่องจากการระบุตัวตนที่ผิดพลาดของคุณ  จะเกิดอะไรขึ้ นถ้าคุณยังไม่ได้พบตัวตนของตัวเองที่ดีที่สุด? โอกาสคือจะไม่มีใครอื่นพบ! เมื่อติดตาม สมมติฐานนี้ ไปต่อ อาจดูเหมือนว่าไม่มีใครรู้จักคุณจริงๆ รวมทั้งตัวคุณเองด้วย อย่างไรก็ตาม นั่น ไม่ใช่สิ่งเลวร้ายเกินไปนัก  การไม่ใช้ชีวิตอย่างมีศักยภาพสูงสุด เป็ นการสิ้นเปลืองความสามารถและอาจทาให้คุณรู้สึกอนาถ  นั่นเป็นเพราะคุณยังไม่รู้จักตัวตนที่แท้จริงของคุณ เราเป็นมากกว่าที่เราคิด ในฐานะมนุษย์ เรามี เป้าหมายที่จะทาให้สาเร็จ ภารกิจที่ต้องทา และมีความเก่งเพื่อการใช้ประโยชน์
  • 17.  อย่างไรก็ตาม เราทุกคนต่างถูกพามายังโลกนี้ เพื่อทาภารกิจนี้ ให้สาเร็จ โดยไม่รู้ว่าต้องทาอย่างไร หรือ แม้แต่ไม่รู้ว่าปลายทางสุดท้ายคืออะไร สิ่งหนึ่งที่แน่นอนคือ จนกว่าเราจะไปถึงขั้นนั้น เรายังไม่เข้าใจ พลังของจิตสานึก  ความคิดของคุณคือคุณ และนั่นเป็นพลังพิเศษเพียงอย่างเดียวที่คุณต้องการ เพื่อเอาชนะอุปสรรค และความยากลาบาก แล้วจึงจะบรรลุศักยภาพของคุณ นี่เป็ นก้าวแรก จากนั้น การเสริมสร้างจิตใจให้ เข้มแข็งเพื่อมองโลกอย่างมีจุดมุ่งหมาย เป็นภารกิจที่คุณต้องทาให้สาเร็จ  การบรรลุเป้าหมายทั้งหมด เป็ นผลโดยตรงจากการกระทาของจิตใจที่มีต่อร่างกายของคุณ  เมื่อถึงขั้นนั้น คุณจะพบตัวตนที่แท้จริงของคุณในที่สุด สิ่งที่ต่ากว่าตัวตนที่ดีที่สุดของคุณคือการมอง ตัวตนของตนเองที่ผิดพลาด และคุณต้องดาเนินชีวิตตามแนวคิดนี้ จึงจะประสบความสาเร็จได้
  • 18. บทเรียนที่ 2 เวลาที่ท้าทาย เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางสู่ความสาเร็จ  แนวโน้มของความพอใจแต่สิ่งดีเลิศและความวิตกกังวลเรื่องต้องมีผลงานสูงกาลังครอบงาโลก และ มันทาให้ผู้คนเสียสติไปอย่างน่าเสียดาย ความสมบูรณ์แบบ ทาให้ผู้คนคิดว่าไม่มีสิ่งใดที่พวกเขาทา ได้ดีพอ (ตราบเท่าที่พวกเขาประสบความล้มเหลวและมีวันที่เลวร้าย) เป็นเรื่องที่เข้าใจผิด!  วันที่ไม่ดีเหล่านั้น เป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการ ไม่มีบุคคลใดที่ประสบความสาเร็จไปถึงจุดสูงสุด โดยไม่ได้พบกับความยากลาบากระหว่างทาง แม้ว่าคุณจะบรรลุเป้าหมายแล้ว คุณก็ยังมีวันที่แย่ มัน ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของตัวตนของคุณ ไม่ได้หมายความว่าคุณกาลังทาอะไรผิด แต่มันเป็นเพียงกฎ สากลของชีวิต
  • 19.  เรากาลังพูดถึงวันที่เลวร้ายสักกี่วัน? ชีวิตของทุกคนแตกต่างกัน และเราทุกคนต้องเผชิญกับปีศาจ ของตัวเอง แต่จากการศึกษาเกี่ยวกับนักกีฬาที่เก่งที่สุดในโลกระบุว่า พวกเขายังมีวันที่แย่ๆ อยู่สาม ถึงหกวันต่อเดือน  สิ่งที่ดีที่สุดที่จะตอบสนองเกี่ยวกับเรื่องนี้ คือ ไม่ต้องทาอะไร! ยอมรับความล้มเหลวว่าเป็นบทเรียน และความยากลาบากเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต  ปลดปล่อยตัวเองจากคาสาปแห่งความสมบูรณ์แบบ!
  • 20. บทเรียนที่ 3 ความยิ่งใหญ่เข้ามาในชีวิตของคุณ เมื่อคุณเรียนรู้วิธีกาจัดความกลัว  ความกลัวเป็นศัตรูตัวฉกาจที่สุดในการบรรลุความฝันของเรา ในชีวิตจริง คนอื่นมักบอกเราให้เป็นคน มีเหตุผล อยู่กับความจริง และระมัดระวัง คาแนะนาประเภทนี้ ป้องกันไม่ให้เราทาสิ่งที่กล้าหาญและ ยิ่งใหญ่ ไม่มีใครทาอะไรให้น่าจดจาได้เพราะความกลัว  และแนวความคิดนี้ กลับไปสู่ปรัชญาโบราณ อริสโตเติลเชื่อว่า ผู้ที่สาเร็จคือผู้ที่เอาชนะความกลัวได้ใน ชีวิต อันที่จริงเขากล่าวว่าความกล้าหาญคือคุณธรรมที่จะมีชีวิตอยู่ และด้วยความกล้าหาญในความ พยายามและไล่ตามเป้าหมายเท่านั้น คุณก็จะไปถึงสถานภาพของความสุข เป็ นสภาวะแห่งความสุข อย่างบริสุทธิ์ใจ ความสาเร็จ และการเติมเต็มในตนเอง
  • 21.  ดังนั้น อีกก้าวหนึ่งของความเข้มแข็งทางจิตใจคือ การเอาชนะความกลัวและไล่ตามความฝัน แม้ว่า จะทาให้คุณอยู่ในสภาวะอึดอัดก็ตาม  ช่วยตัวเองโดยมองหาแรงจูงใจภายนอก ตื่นเต้นกับการเดินทางข้างหน้า และทาทุกอย่างที่ทาให้คุณ กลัว ทั้งที่สัญชาตญาณบอกคุณเป็ นอย่างอื่น
  • 22. สรุป  Elite Minds พูดถึงความสาคัญของการฝึกจิตใจ ช่วยคุณหยุดทาร้ายตนเอง โดยใช้ความเข้มแข็งทาง จิตใจเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย การเอาชนะความกลัว การกระทาทุกอย่างที่คุณต้องการ การบรรลุ จุดประสงค์ที่สูงขึ้ น และการยอมรับความล้มเหลว ล้วนเป็ นประเด็นหลักที่หนังสือเล่มนี้ กล่าวถึง  การอ่านหนังสืออันน่าทึ่งนี้ จะสอนแนวคิดอันมีค่าแก่คุณ ตั้งแต่ปรัชญาโบราณไปจนถึงการศึกษา สมัยใหม่ เกี่ยวกับความสาคัญของการฝึกจิตใจ และการเปิดรับแนวคิดแห่งชัยชนะ ในการเดินทางสู่ ความสาเร็จ

Hinweis der Redaktion

  1. Dr. Stan Beecham is a Sport Psychologist and Leadership Consultant based in Roswell, Georgia. A frequent speaker and presenter, Beecham is also the director and founding member of the Leadership Resource Center in Atlanta, Georgia. Today, his work with collegiate, Olympic, and professional athletes from many sports has afforded him an insight into the minds of great competitors that only few have had the good fortune to gain. Beecham has taken his wisdom into the business world as he develops and creates leadership development programs for corporate clients.
  2. Our mind is the single most powerful tool in achieving performance of any kind. It’s an undebatable fact that the brain controls the body. Our mind is therefore responsible for everything the body does, whether it’s good or bad, much like software controls a computer. Training the mind to become an asset and participate in achieving success, rather than standing in the way of it, is essential in every field of activity. For this reason, Elite Minds talks about strengthening the brain to become the competitive edge that you need to get ahead in life, instead of letting it become an obstruction in your path.
  3. Most elite athletes—from golfers to gymnasts, placekickers, and baseball pitchers—tend to be very focused, disciplined, and perfectionistic. Their belief is that the desire to be “perfect” will end up making them better. Unfortunately, this is not always true. More often than not, the desire to be perfect actually hinders performance. When we try to be perfect, we assume that success equals not making any mistakes, when in fact, success is your response to the mistake. People who tend to be perfectionists do not respond well to adversity or defeat. Their belief is “If I’m doing it correctly, there will be no struggle or failure.” Not understanding that failure is part of the journey of success will lead to more failure—not perfection. Perhaps the best and easiest way to define success is this: Fall down 100 times, get up 101.
  4. We must accept that every now and then, we will have a bad day. The ability to accept these fluctuations in performance allows athletes to remain fully engaged in their training and keep their goals high. How you function during a good day does not define your character. It’s how you function during a bad day that is the true test. In order for you to reach your potential, you must know how you respond to poor performance. This is critical information you simply cannot move forward without. If perfect is not the goal, what is? It’s simple: Do your best. That’s it. Each and every day, make it your intention to do the very best you can with what you have that day. Remember: The goal is not to be perfect. It’s to do your best and recover quickly from failure.
  5. Beecham believes the degree of success you achieve and how you perform is 100% mental. The mind is in charge of the body. Brain = software. body = hardware. We are mistaken if we focus on talent and experience, which are not enough. Is your mind an asset or an obstruction to your performance? Truth is few of us much understanding of what we really believe about ourselves and the world around us. ‘What you believe about yourself and your world is the primary determinant to what you do and ultimately how well you do it’. Unconscious learning leads to unconscious behavioral change in turn leading to our unconscious habits.
  6. Confidence is another way of describing our belief systems. Is confidence a thought or a feeling? Most feel it as an emotion but when you become conscious of confidence it is really a thought. To improve confidence, you need to work at the conscious level with confidence as a thought. When you realize you have negative and false beliefs about yourself you can start replacing these with a more positive view. When people seek out a psychologist or psychiatrist its usually because they want to feel different. But need to address the underlying thoughts.
  7. Importance of intentions. Why before what and how. Goals are about what and how, but intentions address the why? Problem with most goal setting is we play it too safe. Write the goal your 100% sure you can hit. Re-write it at 90, 80, 70 – how good do you want to be? Are you nervous is there adrenaline, does this thing have your full attention re-write at 60% – ‘That’s your goal?’. If it does not scare you, it’s not worth being a goal. Also need to kill plan B, if your planning plan B, your planning to fail. ‘Kill plan B or it will kill you’
  8. The myth of 110%. There is a correlation between effort and performance but not always a positive one. Need to balance mental and physical effort. In a flow state, (quiet mind) physical effort can feel effortless. Effort often thought about in terms of resistance but often at our best its more about acceptance of what is rather than resistance. Go with the grain. Each day ask have I given my best and taken a step towards my goal.
  9. ‘Setting expectations. ‘Everyone wants a medal, but only those who truly believe they will get a medal have a chance. Wanting a medal is a conscious desire, expecting to medal is an unconscious’ It’s not luck but your expectation that determines success ‘Expectation dictates performance. Everyone wants to win, but only a few expect to win’.
  10. No such thing as individual performance: Building teams Recruit and select the right people Develop strong friendships (trust & relationships) Create a shared value system Fight without hurting each other Cultivate strong leaders Clearly define team goals
  11. 3 Primary components in addressing performance, belief, thought and behavior. When these are strongly aligned performance is high Beliefs are critical – where do they come from Thought is conscious usually a by-product of beliefs. (Easier to change your thoughts than your beliefs. Most effort should be put here and ultimately you can change your unconscious beliefs through your conscious thoughts) Behavior – what we do When changing any one of these you will feel discomforted.
  12. As per the title of the book, Beecham tells us that it’s MINDS that make the difference in sustained high levels of performance—creating a competitive edge and maximizing success. Big Ideas we explore include your case of mistaken identity (you're greater than you think), the curse of perfection (remember to play poorly well), the true meaning of the word "compete" (= "to strive WITH" not against) and of the word "contest" (= "to make a promise"!) your ultimate opponent (fear!!) and the ultimate question: To go or not to go (Answer: GO!!!).
  13. Three favorite lessons from the book: 1. The chances of you suffering from a mistaken identity are quite high. 2. Bad days and hardship on the way to success are a part of the process that you must accept. 3. Kill fear and embrace your highest potential by taking that jump towards your dreams.
  14. Lesson 1: Achieving your potential might be delayed by your mistaken identity. What if you haven’t even met your best self? Chances are, no one has! Leading this hypothesis further, it may look like no one really knows you, including yourself. However, that’s not a bad thing necessarily.  Not living your life to its highest potential is a waste of talent and it’ll likely make you feel miserable. That’s how you know that you don’t know your true self just yet. We are much more than we think we are. As humans, we have a purpose to fulfill, a mission to commit to, and talents to exploit. 
  15. However, we’re all brought to this world to fulfill this quest, not knowing how to, or even without knowing what the final destination is. One thing is for sure: until we reach that stage, we don’t really know ourselves. We rarely understand the power of a conscious mind.  Your mind is you, and that’s the only superpower you need to overcome obstacles and hardship, and therefore achieve your potential. Understanding that is the first step. And then strengthening your mind to look at the world objectively is the quest you must fulfill. The fulfillment of all your goals is a direct result of your mind’s action over your body.  When that stage is reached, you’ll finally find your true self. Anything below your best self is a mistaken identity, and you have to live with this idea in order to achieve success.
  16. Lesson 2: Challenging times are part of the road to success. The trend of perfectionism and high-performance anxiety is taking over the world, and it’s driving people insane, unfortunately. Perfectionism makes people think that nothing they’ll ever do is good enough for as long as they encounter failure and bad days. Wrong! Those days are a natural part of the process. No successful individual got to the top without encountering hardship on the way. Even once you achieve your goal, you’ll still have bad days. It’s not part of your persona, it doesn’t mean that you’re doing something wrong. But it’s simply a universal rule of life.
  17. So how many bad days are we talking about? Well, everyone’s life is different and we all must face our own demons. But studies on the best athletes in the world indicate that even they have between three and six bad days a month. The best thing to do about it is nothing! Accept failure as a lesson and hardship as a natural part of life. Free yourself from the curse of perfectionism!
  18. Lesson 3: Greatness arrives in your life when you learn how to kill fear. Fear is the biggest opponent in achieving our dreams. In life, other people often tell us to be rational, realistic, and careful. This type of advice prevents us from doing something courageous and great. No one made something memorable out of fear. And this concept goes back to ancient philosophy. Aristotle believed that those who conquer their fear win in life. In fact, he said that courage is the virtue to live by. And that only by being brave in your endeavors and chasing your end goal you can reach the state of eudaemonia. A state of pure happiness, achievement, and self-fulfillment.
  19. Therefore, another step to mental toughness is conquering fear and chasing your dreams despite the uncomfortable position it puts you in.  Help yourself do so by looking for extrinsic motivation, getting excited about the journey ahead, and going for whatever scares you despite your instinct telling you otherwise.
  20. Elite Minds talks about the importance of training your mind to help you and stop self-sabotage by using mental toughness to achieve goals. Conquering fear, going for whatever it is that you want, achieving your higher purpose, and embracing failure, are all major aspects the book discusses.  Reading this remarkable piece will teach you valuable ideas from ancient philosophy to modern studies about the importance of training your mind and embracing the winning mindset in your journey to success.