SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
Downloaden Sie, um offline zu lesen
พ.อ. มารวย ส่งทานินทร์
26 ตุลาคม 2556
by Hugh Courtney, Dan Lovallo, and Carmina Clarke
Harvard Business Review: November 2013



หน้าที่อย่างหนึ่งของผูบริหารคือ การตัดสินใจ
้
การตัดสินใจทางกลยุทธ์มีความเสี่ยง เราจึงหวังว่า ผูบริหาร
้
ระดับสูงสามารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง นาพาองค์กรไปสู่
ความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือที่ถูกต้องเหมาะสมกับบริบทที่เผชิญ




บริษทส่วนใหญ่ใช้เครืองมือพื้นฐานในการวิเคราะห์ เช่น
ั
่
discounted cash flow analysis หรือ simple quantitative scenario
testing ซึ่งไม่ควรใช้ในบริบทที่ซบซ้อนและไม่แน่นอน
ั
เครืองมือพื้นฐาน ใช้ได้ดีในเหตุการณ์ที่เป็ นปกติและมี
่
สารสนเทศที่น่าเชื่อถือได้ แต่อาจใช้ไม่ได้ผลในสถานการณ์ที่มี
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การออกผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือการ
ทารูปแบบธุรกิจใหม่




ปั ญหาที่พบส่วนใหญ่ ไม่ใช่การขาดเครื่องมือวิเคราะห์ใน
สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน เช่น case-based decision analysis,
qualitative scenario analysis, และ information markets
แต่ขาดแนวทางที่ชดเจน ในการนาเครืองมือมาใช้ให้ถูกกับ
ั
่
สถานการณ์




รูปแบบการใช้เครื่องมือให้ถูกต้องในการตัดสินใจ มี 3 ปั จจัยที่
เกี่ยวข้องคือ คุณรูตวแปรที่ทาให้ประสบผลสาเร็จหรือไม่ คุณ
้ ั
สามารถทานายผลที่จะเกิดขึ้นได้ดีเพียงใด และ คุณมีวิธีการ
อย่างไรในรวบรวมสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
ผูประพันธ์แนะนาให้ใช้ case-based decision analysis และ
้
qualitative scenario analyses ในสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน





การพัฒนาในการตัดสินใจ ขึ้นกับ 2 คาถามสาคัญ :
อะไรทาให้เราประสบผลสาเร็จ (Do I know what it will take to
succeed?) หมายถึง รูสาเหตุ คือ ปั จจัยความสาเร็จที่สาคัญ และ
้
สภาพเศรษฐกิจ
เราสามารถพยากรณ์ผลได้ดีเพียงใด (Can I predict the range of
possible outcomes?) ในการเลือกใช้เครืองมือช่วยในการ
่
ตัดสินใจ ขึ้นกับการคาดการณ์ความเป็ นไปได้ของผลลัพธ์ ที่อาจ
เกิดขึ้นภายหลังจากการตัดสินใจไปแล้วด้วย
เครื่องมือที่ช่วยการตัดสินใจ
 1.Conventional Capital Budgeting Tools
 2.Quantitative Multiple Scenario Tools
 3.Qualitative Scenario Analysis
 4.Case-based Decision Analysis
 5.Information Aggregation Tools
1.เครื่องมือด้านงบประมาณ
 ใช้ในการประมาณการลงทุนว่ามีความคุมค่าหรือไม่ เช่น
้
discounted cash flow, expected rate of return, และ net present
value models
2.เครื่องมือจาลองสภาพการณ์ตาง ๆ ด้านปริมาณ
่
 เป็ นเครืองมือใช้วิเคราะห์เหตุการณ์ความน่าจะเป็ นที่อาจเกิดขึ้น
่
โดยใช้การคานวณทางคณิตศาสตร์ สถิติ เหตุการณ์จาลอง เพื่อดู
ความเสี่ยงและผลตอบแทน เช่น
 • Monte Carlo methods คานวณจากการสุมตัวอย่าง
่
 • Decision analysis ใช้ความน่าจะเป็ นและเหตุการณ์จาลอง เพื่อ
ช่วยในการตัดสินใจ
 • Real options เป็ นทางเลือกด้านการเงินที่เป็ นจริง ด้านต้นทุน
และกาไร ภายใต้ความไม่แน่นอน
3.การวิเคราะห์สถานการณ์จาลองด้านคุณภาพ
 เครืองมือนี้เป็ นชุดของการพัฒนา เรืองวิวฒนาการความน่าจะ
่
่
ั
เป็ นที่จะเกิดขึ้นในอนาคตด้านคุณภาพ เทคนิคนี้จะไม่บอกถึง
ความแน่นอนของผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงเหมาะสมที่จะ
ใช้กบสถานการณ์ที่ไม่มีความแน่นอน
ั
4.การวิเคราะห์เป็ นรายกรณี
 เครืองมือนี้เป็ นการรวบรวมและวิเคราะห์สารสนเทศจาก
่
ประสบการณ์ตวอย่างในอดีต ของสิ่งประเภทเดียวกันอย่างเป็ น
ั
ระบบ โดยทั ่วไป ความเหมือนกันและการตัดสินใจในอดีต จะมี
น้ าหนักในการเลือกหนทางที่ดีที่สุด
5.เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมสารสนเทศ
 เป็ นเครื่องมือรวบรวมสารสนเทศจากหลายแหล่ง คือ
 • แนวทางทั ่วไป เช่น จากผูเชี่ยวชาญ การตอบสนอง ความ
้
เป็ นไปได้ การตัดสินใจที่เป็ นเอกฉันท์
 • การทานายตลาด เพื่อรวบรวมความต้องการของฝูงชน
 • การทาผลสารวจ ในกลุ่มที่มีความหลากหลาย
 • การถามเป็ นรายบุคคล เพื่อจัดลาดับการตัดสินใจ แล้วใช้
วิธีการทางสถิตในการทานายผล
ิ







Situation 1: You understand your causal model and can predict the
outcome of your decision with reasonable certainty.
Situation 2: You understand your causal model and can predict a
range of possible outcomes, along with probabilities for those
outcomes.
Situation 3: You understand your causal model but cannot predict
outcomes.
Situation 4: You don’t understand your causal model, but you can
still predict a range of outcomes.
Situation 5: You don’t understand your causal model, and you can’t
predict a range of outcomes.
หมายเหตุผสรุป หลักคิดคล้ายกับเรื่อง รูเ้ ขารูเ้ รา ของซุนวู
ู้






สถานการณ์ที่ 1: รูเ้ รืองของเราดี และสามารถทานายผลที่จะเกิด
่
ได้ค่อนข้างแน่นอน
ตัวอย่างการเปิ ดร้านสาขาใหม่ ที่เรามีสารสนเทศครบถ้วน ไม่ว่า
สถานที่ การจราจร ค่าที่ดิน ฯลฯ ทาให้สามารถทานายรายได้ที่
จะเกิดค่อนข้างแน่นอน
เครื่องมือที่ใช้: ใช้เครื่องมือด้านการงบประมาณปกติ เช่น
discounted cash flow และ expected rate of return






สถานการณ์ที่ 2: รูเ้ รืองของเราดี สามารถคาดเดาผลที่อาจจะ
่
เกิดขึ้นได้ระดับหนึ่ง
เช่น การออกผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่รูวิธีการผลิตและต้นทุน แต่ไม่รูชด
้
้ ั
เรืองความต้องการของสินค้า ยอดขาย เพียงแค่คาดเดาระยะช่วง
่
ของยอดขายได้ ดังนั้นการทาเป็ นโครงการนาร่องก่อน จะทาให้มี
สารสนเทศมากขึ้นเพียงพอต่อการตัดสินใจ โดยไม่เสี่ยงกับการ
เปิ ดตัวอย่างเต็มโครงการ
เครื่องมือที่ใช้: เครื่องมือจาลองสภาพการณ์ตาง ๆ ด้านปริมาณ
่
เช่น Monte Carlo simulations, decision analysis, และ real
options valuation






สถานการณ์ที่ 3: รูเ้ รืองของเราดี แต่ไม่สามารถคาดการณ์
่
ผลลัพธ์ได้
เช่น การเปิ ดตัวในตลาดใหม่ เรารูเ้ รื่องต้นทุน วิธีสร้างผลกาไร
แต่ไม่สามารถคาดเดาผลลัพธ์ว่าจะออกมาเป็ นเช่นไร คู่แข่งขัน
ใหม่เป็ นอย่างไร ความน่าเชื่อถือของผูส่งมอบ รวมถึงการจ้าง
้
และฝึ กอบรมบุคลากร
เครื่องมือที่ใช้ : การวิเคราะห์สถานการณ์จาลองด้านคุณภาพ
ประกอบกับการวิเคราะห์เป็ นรายกรณี






สถานการณ์ที่ 4: เรายังไม่แน่ชดในตนเอง แต่พอคาดการณ์
ั
ผลลัพธ์ได้
เช่น การทาธุรกิจใหม่ที่ไม่เหมือนเดิมและไม่เคยทามาก่อน แต่มี
สารสนเทศที่มั ่นใจได้ว่าผลลัพธ์เป็ นไปตามที่คาดหมาย โดย
อาศัยความสาเร็จของผูที่เคยทามาก่อนเป็ นแนวทาง
้
เครื่องมือที่ใช้: การวิเคราะห์เป็ นรายกรณี






สถานการณ์ที่ 5: เราไม่รูเ้ รืองของเราดี และไม่สามารถ
่
คาดการณ์ผลลัพธ์ได้เลย
เช่น ผลกระทบด้านสังคมที่มีตอผลิตภัณฑ์ดานลบ การออก
่
้
กฏหมายใหม่ที่มีผลกระทบต่อผลิตภัณฑ์หรือบริการ การเข้ามา
ของคู่แข่งรายใหม่
เครื่องมือที่ใช้: การวิเคราะห์เป็ นรายกรณี
Executives need to answer
three questions:
1. Do I know what it will
take to succeed?
2. Can I predict the range
of possible outcomes?
3. Do I need to aggregate
information?
วิธีการรวบรวมสารสนเทศ
 เป็ นแนวทางใหม่ ที่ใช้รวบรวมสารสนเทศด้านการตลาดที่มีอยู่
อย่างกระจัดกระจาย เพื่อดักจับความคิดของฝูงชน เช่น การ
ทานายเศรษฐกิจในปี หน้า หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ได้รบการ
ั
สนองตอบได้ดีเพียงใด
 วิธีน้ ีมีขอจากัดอยู่ 2 ประการ คือ
้
 ประการแรก สารสนเทศการตลาดมีหลายอย่าง ผูบริหารต้อง
้
เฉพาะเจาะจงว่าต้องการทราบในเรืองใด (จากตัวอย่าง
่
สถานการณ์ที่ 2 และ 4)
 ประการที่สอง การสารวจตลาด อาจทาให้ความลับรั ่วไหล
ปั จจัยที่ทาให้เรืองราวซับซ้อน
่
 ผูบริหารไม่รูว่าตนเองไม่รู ้
้
้
 การมีอคติ
 มีการเมืองในองค์กร
 คนตัดสินใจ ใช้เครืองมือเพียงตัวเดียว
่
 ตัดสินใจช้าเกินควร
ทาอย่างไรจึงจะเป็ นนักตัดสินใจที่ดี
 เริมจากทาความรูจกกับเครื่องมือต่าง ๆ
่
้ั
 เรียนรูเครืองมือจาลองสถานการณ์ เช่น Monte Carlo simulations,
้ ่
decision analysis, และ real options valuation
 อบรมเรื่องการจาลองสถานการณ์เพิ่มเติม
 ติดตามข่าวสารการตลาด
 ใช้ประวัตศาสตร์การตัดสินใจในเรืองเดียวกันเป็ นแบบ
ิ
่
 สุดท้าย ทาการตัดสินใจ โดยมีวิธีการทีดีเป็ นนิสย
่
ั
- Turkish proverb

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

A few thoughts on work life balance
A few thoughts on work life balanceA few thoughts on work life balance
A few thoughts on work life balance
Karthik Kalimuthu
 

Was ist angesagt? (20)

I am a personal brand
I am a personal brandI am a personal brand
I am a personal brand
 
Lead Nurturing
Lead Nurturing Lead Nurturing
Lead Nurturing
 
Personal branding
Personal brandingPersonal branding
Personal branding
 
Personal branding
Personal brandingPersonal branding
Personal branding
 
Personal Branding for Career Growth - Feb 2012
Personal Branding for Career Growth - Feb 2012Personal Branding for Career Growth - Feb 2012
Personal Branding for Career Growth - Feb 2012
 
Personal Branding 101
Personal Branding 101Personal Branding 101
Personal Branding 101
 
린런치패드(Lean launchpad)_How to build a startup_part1
린런치패드(Lean launchpad)_How to build a startup_part1린런치패드(Lean launchpad)_How to build a startup_part1
린런치패드(Lean launchpad)_How to build a startup_part1
 
Personal Branding
Personal BrandingPersonal Branding
Personal Branding
 
Profits before People
Profits before PeopleProfits before People
Profits before People
 
SaaS Metrics Masterclass: What Key Business Metrics, Pricing Strategies, and ...
SaaS Metrics Masterclass: What Key Business Metrics, Pricing Strategies, and ...SaaS Metrics Masterclass: What Key Business Metrics, Pricing Strategies, and ...
SaaS Metrics Masterclass: What Key Business Metrics, Pricing Strategies, and ...
 
Value Proposition Design by Tommaso Di Bartolo
Value Proposition Design by Tommaso Di BartoloValue Proposition Design by Tommaso Di Bartolo
Value Proposition Design by Tommaso Di Bartolo
 
Personal Branding
Personal BrandingPersonal Branding
Personal Branding
 
Personal Branding: The Power of You - Creating an Influential & Credible Per...
Personal Branding: The Power of You - Creating an Influential & Credible Per...Personal Branding: The Power of You - Creating an Influential & Credible Per...
Personal Branding: The Power of You - Creating an Influential & Credible Per...
 
Personal Branding
Personal BrandingPersonal Branding
Personal Branding
 
Mindset.pptx
Mindset.pptxMindset.pptx
Mindset.pptx
 
The Shift: UX Designer as Business Consultant (2016)
The Shift: UX Designer as Business Consultant (2016)The Shift: UX Designer as Business Consultant (2016)
The Shift: UX Designer as Business Consultant (2016)
 
A few thoughts on work life balance
A few thoughts on work life balanceA few thoughts on work life balance
A few thoughts on work life balance
 
Workplace Political Intelligence - Workplace Politics - Games people play
Workplace Political Intelligence - Workplace Politics - Games people playWorkplace Political Intelligence - Workplace Politics - Games people play
Workplace Political Intelligence - Workplace Politics - Games people play
 
Begin with the end in Mind - Habit 2
Begin with the end in Mind - Habit 2Begin with the end in Mind - Habit 2
Begin with the end in Mind - Habit 2
 
Success
SuccessSuccess
Success
 

Andere mochten auch

แผนสืบทอดตำแหน่งผู้นำ Succession planning
แผนสืบทอดตำแหน่งผู้นำ  Succession planning แผนสืบทอดตำแหน่งผู้นำ  Succession planning
แผนสืบทอดตำแหน่งผู้นำ Succession planning
maruay songtanin
 
การตัดสินใจ
การตัดสินใจการตัดสินใจ
การตัดสินใจ
jeab87
 
กับดักการวางแผนกลยุทธ์ The big lie of strategic planning
กับดักการวางแผนกลยุทธ์ The big lie of strategic planning กับดักการวางแผนกลยุทธ์ The big lie of strategic planning
กับดักการวางแผนกลยุทธ์ The big lie of strategic planning
maruay songtanin
 
T and L websites (lecture 1)
T and L websites (lecture 1)T and L websites (lecture 1)
T and L websites (lecture 1)
Miles Berry
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650
Jakkree Eiei
 
ที่ทำงานยุคใหม่ The 21st century workspace
ที่ทำงานยุคใหม่ The 21st century workspace ที่ทำงานยุคใหม่ The 21st century workspace
ที่ทำงานยุคใหม่ The 21st century workspace
maruay songtanin
 

Andere mochten auch (20)

แผนสืบทอดตำแหน่งผู้นำ Succession planning
แผนสืบทอดตำแหน่งผู้นำ  Succession planning แผนสืบทอดตำแหน่งผู้นำ  Succession planning
แผนสืบทอดตำแหน่งผู้นำ Succession planning
 
เอกสารประกอบการบรรยาย อาจารย์ศรีปัญญา วัชนาค 13 กค. 59
เอกสารประกอบการบรรยาย อาจารย์ศรีปัญญา วัชนาค 13 กค. 59 เอกสารประกอบการบรรยาย อาจารย์ศรีปัญญา วัชนาค 13 กค. 59
เอกสารประกอบการบรรยาย อาจารย์ศรีปัญญา วัชนาค 13 กค. 59
 
บทที่ 6 การตัดสินใจ
บทที่ 6 การตัดสินใจบทที่ 6 การตัดสินใจ
บทที่ 6 การตัดสินใจ
 
ดีสู่ดีเลิศ Good to great
ดีสู่ดีเลิศ Good to great ดีสู่ดีเลิศ Good to great
ดีสู่ดีเลิศ Good to great
 
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
 
การตัดสินใจ
การตัดสินใจการตัดสินใจ
การตัดสินใจ
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
Lesson 2-Planning and Decision Making
Lesson 2-Planning and Decision MakingLesson 2-Planning and Decision Making
Lesson 2-Planning and Decision Making
 
Tools for decision making (Brian Haff) ProductCamp Boston 2014
Tools for decision making (Brian Haff) ProductCamp Boston 2014Tools for decision making (Brian Haff) ProductCamp Boston 2014
Tools for decision making (Brian Haff) ProductCamp Boston 2014
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
กับดักการวางแผนกลยุทธ์ The big lie of strategic planning
กับดักการวางแผนกลยุทธ์ The big lie of strategic planning กับดักการวางแผนกลยุทธ์ The big lie of strategic planning
กับดักการวางแผนกลยุทธ์ The big lie of strategic planning
 
ตุ๊กตาเล่าเรื่อง
ตุ๊กตาเล่าเรื่องตุ๊กตาเล่าเรื่อง
ตุ๊กตาเล่าเรื่อง
 
T and L websites (lecture 1)
T and L websites (lecture 1)T and L websites (lecture 1)
T and L websites (lecture 1)
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
 
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
 
อุปนิสัยที่ 8 - 8th habit
อุปนิสัยที่ 8 - 8th habit อุปนิสัยที่ 8 - 8th habit
อุปนิสัยที่ 8 - 8th habit
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650
 
ที่ทำงานยุคใหม่ The 21st century workspace
ที่ทำงานยุคใหม่ The 21st century workspace ที่ทำงานยุคใหม่ The 21st century workspace
ที่ทำงานยุคใหม่ The 21st century workspace
 
สถิติที่ควรรู้จัก
สถิติที่ควรรู้จักสถิติที่ควรรู้จัก
สถิติที่ควรรู้จัก
 

Mehr von maruay songtanin

139 อุภโตภัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
139 อุภโตภัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...139 อุภโตภัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
139 อุภโตภัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
138 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
138 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx138 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
138 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
137 พัพพุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
137 พัพพุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx137 พัพพุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
137 พัพพุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
136 สุวัณณหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
136 สุวัณณหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...136 สุวัณณหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
136 สุวัณณหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
134 ฌานโสธนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
134 ฌานโสธนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....134 ฌานโสธนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
134 ฌานโสธนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
133 ฆตาสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
133 ฆตาสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx133 ฆตาสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
133 ฆตาสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
132 ปัญจภีรุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
132 ปัญจภีรุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...132 ปัญจภีรุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
132 ปัญจภีรุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
131 อสัมปทานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
131 อสัมปทานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...131 อสัมปทานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
131 อสัมปทานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
130 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
130 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx130 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
130 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
129 อัคคิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
129 อัคคิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx129 อัคคิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
129 อัคคิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
127 กลัณฑุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
127 กลัณฑุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....127 กลัณฑุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
127 กลัณฑุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
126 อสิลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
126 อสิลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...126 อสิลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
126 อสิลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
124 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
124 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx124 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
124 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
123 นังคลีสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ...
123 นังคลีสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ...123 นังคลีสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ...
123 นังคลีสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ...
maruay songtanin
 
122 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
122 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx122 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
122 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
121 กุสนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
121 กุสนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....121 กุสนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
121 กุสนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

Mehr von maruay songtanin (20)

140 กากชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
140 กากชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx140 กากชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
140 กากชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
139 อุภโตภัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
139 อุภโตภัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...139 อุภโตภัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
139 อุภโตภัฏฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
138 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
138 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx138 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
138 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
137 พัพพุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
137 พัพพุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx137 พัพพุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
137 พัพพุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
136 สุวัณณหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
136 สุวัณณหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...136 สุวัณณหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
136 สุวัณณหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
135 จันทาภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
135 จันทาภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx135 จันทาภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
135 จันทาภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
134 ฌานโสธนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
134 ฌานโสธนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....134 ฌานโสธนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
134 ฌานโสธนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
133 ฆตาสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
133 ฆตาสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx133 ฆตาสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
133 ฆตาสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
132 ปัญจภีรุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
132 ปัญจภีรุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...132 ปัญจภีรุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
132 ปัญจภีรุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
131 อสัมปทานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
131 อสัมปทานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...131 อสัมปทานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
131 อสัมปทานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
130 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
130 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx130 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
130 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
129 อัคคิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
129 อัคคิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx129 อัคคิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
129 อัคคิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
128 พิฬารวตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
128 พิฬารวตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....128 พิฬารวตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
128 พิฬารวตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
127 กลัณฑุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
127 กลัณฑุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....127 กลัณฑุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
127 กลัณฑุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
126 อสิลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
126 อสิลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...126 อสิลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
126 อสิลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
124 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
124 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx124 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
124 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
123 นังคลีสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ...
123 นังคลีสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ...123 นังคลีสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ...
123 นังคลีสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ...
 
122 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
122 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx122 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
122 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
121 กุสนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
121 กุสนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....121 กุสนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
121 กุสนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

ตัดสินใจอย่างฉลาด Decision making 1

  • 2. by Hugh Courtney, Dan Lovallo, and Carmina Clarke Harvard Business Review: November 2013
  • 3.   หน้าที่อย่างหนึ่งของผูบริหารคือ การตัดสินใจ ้ การตัดสินใจทางกลยุทธ์มีความเสี่ยง เราจึงหวังว่า ผูบริหาร ้ ระดับสูงสามารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง นาพาองค์กรไปสู่ ความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือที่ถูกต้องเหมาะสมกับบริบทที่เผชิญ
  • 4.   บริษทส่วนใหญ่ใช้เครืองมือพื้นฐานในการวิเคราะห์ เช่น ั ่ discounted cash flow analysis หรือ simple quantitative scenario testing ซึ่งไม่ควรใช้ในบริบทที่ซบซ้อนและไม่แน่นอน ั เครืองมือพื้นฐาน ใช้ได้ดีในเหตุการณ์ที่เป็ นปกติและมี ่ สารสนเทศที่น่าเชื่อถือได้ แต่อาจใช้ไม่ได้ผลในสถานการณ์ที่มี การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การออกผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือการ ทารูปแบบธุรกิจใหม่
  • 5.   ปั ญหาที่พบส่วนใหญ่ ไม่ใช่การขาดเครื่องมือวิเคราะห์ใน สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน เช่น case-based decision analysis, qualitative scenario analysis, และ information markets แต่ขาดแนวทางที่ชดเจน ในการนาเครืองมือมาใช้ให้ถูกกับ ั ่ สถานการณ์
  • 6.   รูปแบบการใช้เครื่องมือให้ถูกต้องในการตัดสินใจ มี 3 ปั จจัยที่ เกี่ยวข้องคือ คุณรูตวแปรที่ทาให้ประสบผลสาเร็จหรือไม่ คุณ ้ ั สามารถทานายผลที่จะเกิดขึ้นได้ดีเพียงใด และ คุณมีวิธีการ อย่างไรในรวบรวมสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง ผูประพันธ์แนะนาให้ใช้ case-based decision analysis และ ้ qualitative scenario analyses ในสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน
  • 7.
  • 8.    การพัฒนาในการตัดสินใจ ขึ้นกับ 2 คาถามสาคัญ : อะไรทาให้เราประสบผลสาเร็จ (Do I know what it will take to succeed?) หมายถึง รูสาเหตุ คือ ปั จจัยความสาเร็จที่สาคัญ และ ้ สภาพเศรษฐกิจ เราสามารถพยากรณ์ผลได้ดีเพียงใด (Can I predict the range of possible outcomes?) ในการเลือกใช้เครืองมือช่วยในการ ่ ตัดสินใจ ขึ้นกับการคาดการณ์ความเป็ นไปได้ของผลลัพธ์ ที่อาจ เกิดขึ้นภายหลังจากการตัดสินใจไปแล้วด้วย
  • 9. เครื่องมือที่ช่วยการตัดสินใจ  1.Conventional Capital Budgeting Tools  2.Quantitative Multiple Scenario Tools  3.Qualitative Scenario Analysis  4.Case-based Decision Analysis  5.Information Aggregation Tools
  • 11. 2.เครื่องมือจาลองสภาพการณ์ตาง ๆ ด้านปริมาณ ่  เป็ นเครืองมือใช้วิเคราะห์เหตุการณ์ความน่าจะเป็ นที่อาจเกิดขึ้น ่ โดยใช้การคานวณทางคณิตศาสตร์ สถิติ เหตุการณ์จาลอง เพื่อดู ความเสี่ยงและผลตอบแทน เช่น  • Monte Carlo methods คานวณจากการสุมตัวอย่าง ่  • Decision analysis ใช้ความน่าจะเป็ นและเหตุการณ์จาลอง เพื่อ ช่วยในการตัดสินใจ  • Real options เป็ นทางเลือกด้านการเงินที่เป็ นจริง ด้านต้นทุน และกาไร ภายใต้ความไม่แน่นอน
  • 12. 3.การวิเคราะห์สถานการณ์จาลองด้านคุณภาพ  เครืองมือนี้เป็ นชุดของการพัฒนา เรืองวิวฒนาการความน่าจะ ่ ่ ั เป็ นที่จะเกิดขึ้นในอนาคตด้านคุณภาพ เทคนิคนี้จะไม่บอกถึง ความแน่นอนของผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงเหมาะสมที่จะ ใช้กบสถานการณ์ที่ไม่มีความแน่นอน ั
  • 13. 4.การวิเคราะห์เป็ นรายกรณี  เครืองมือนี้เป็ นการรวบรวมและวิเคราะห์สารสนเทศจาก ่ ประสบการณ์ตวอย่างในอดีต ของสิ่งประเภทเดียวกันอย่างเป็ น ั ระบบ โดยทั ่วไป ความเหมือนกันและการตัดสินใจในอดีต จะมี น้ าหนักในการเลือกหนทางที่ดีที่สุด
  • 14. 5.เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมสารสนเทศ  เป็ นเครื่องมือรวบรวมสารสนเทศจากหลายแหล่ง คือ  • แนวทางทั ่วไป เช่น จากผูเชี่ยวชาญ การตอบสนอง ความ ้ เป็ นไปได้ การตัดสินใจที่เป็ นเอกฉันท์  • การทานายตลาด เพื่อรวบรวมความต้องการของฝูงชน  • การทาผลสารวจ ในกลุ่มที่มีความหลากหลาย  • การถามเป็ นรายบุคคล เพื่อจัดลาดับการตัดสินใจ แล้วใช้ วิธีการทางสถิตในการทานายผล ิ
  • 15.      Situation 1: You understand your causal model and can predict the outcome of your decision with reasonable certainty. Situation 2: You understand your causal model and can predict a range of possible outcomes, along with probabilities for those outcomes. Situation 3: You understand your causal model but cannot predict outcomes. Situation 4: You don’t understand your causal model, but you can still predict a range of outcomes. Situation 5: You don’t understand your causal model, and you can’t predict a range of outcomes. หมายเหตุผสรุป หลักคิดคล้ายกับเรื่อง รูเ้ ขารูเ้ รา ของซุนวู ู้
  • 16.    สถานการณ์ที่ 1: รูเ้ รืองของเราดี และสามารถทานายผลที่จะเกิด ่ ได้ค่อนข้างแน่นอน ตัวอย่างการเปิ ดร้านสาขาใหม่ ที่เรามีสารสนเทศครบถ้วน ไม่ว่า สถานที่ การจราจร ค่าที่ดิน ฯลฯ ทาให้สามารถทานายรายได้ที่ จะเกิดค่อนข้างแน่นอน เครื่องมือที่ใช้: ใช้เครื่องมือด้านการงบประมาณปกติ เช่น discounted cash flow และ expected rate of return
  • 17.    สถานการณ์ที่ 2: รูเ้ รืองของเราดี สามารถคาดเดาผลที่อาจจะ ่ เกิดขึ้นได้ระดับหนึ่ง เช่น การออกผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่รูวิธีการผลิตและต้นทุน แต่ไม่รูชด ้ ้ ั เรืองความต้องการของสินค้า ยอดขาย เพียงแค่คาดเดาระยะช่วง ่ ของยอดขายได้ ดังนั้นการทาเป็ นโครงการนาร่องก่อน จะทาให้มี สารสนเทศมากขึ้นเพียงพอต่อการตัดสินใจ โดยไม่เสี่ยงกับการ เปิ ดตัวอย่างเต็มโครงการ เครื่องมือที่ใช้: เครื่องมือจาลองสภาพการณ์ตาง ๆ ด้านปริมาณ ่ เช่น Monte Carlo simulations, decision analysis, และ real options valuation
  • 18.    สถานการณ์ที่ 3: รูเ้ รืองของเราดี แต่ไม่สามารถคาดการณ์ ่ ผลลัพธ์ได้ เช่น การเปิ ดตัวในตลาดใหม่ เรารูเ้ รื่องต้นทุน วิธีสร้างผลกาไร แต่ไม่สามารถคาดเดาผลลัพธ์ว่าจะออกมาเป็ นเช่นไร คู่แข่งขัน ใหม่เป็ นอย่างไร ความน่าเชื่อถือของผูส่งมอบ รวมถึงการจ้าง ้ และฝึ กอบรมบุคลากร เครื่องมือที่ใช้ : การวิเคราะห์สถานการณ์จาลองด้านคุณภาพ ประกอบกับการวิเคราะห์เป็ นรายกรณี
  • 19.    สถานการณ์ที่ 4: เรายังไม่แน่ชดในตนเอง แต่พอคาดการณ์ ั ผลลัพธ์ได้ เช่น การทาธุรกิจใหม่ที่ไม่เหมือนเดิมและไม่เคยทามาก่อน แต่มี สารสนเทศที่มั ่นใจได้ว่าผลลัพธ์เป็ นไปตามที่คาดหมาย โดย อาศัยความสาเร็จของผูที่เคยทามาก่อนเป็ นแนวทาง ้ เครื่องมือที่ใช้: การวิเคราะห์เป็ นรายกรณี
  • 20.    สถานการณ์ที่ 5: เราไม่รูเ้ รืองของเราดี และไม่สามารถ ่ คาดการณ์ผลลัพธ์ได้เลย เช่น ผลกระทบด้านสังคมที่มีตอผลิตภัณฑ์ดานลบ การออก ่ ้ กฏหมายใหม่ที่มีผลกระทบต่อผลิตภัณฑ์หรือบริการ การเข้ามา ของคู่แข่งรายใหม่ เครื่องมือที่ใช้: การวิเคราะห์เป็ นรายกรณี
  • 21. Executives need to answer three questions: 1. Do I know what it will take to succeed? 2. Can I predict the range of possible outcomes? 3. Do I need to aggregate information?
  • 22. วิธีการรวบรวมสารสนเทศ  เป็ นแนวทางใหม่ ที่ใช้รวบรวมสารสนเทศด้านการตลาดที่มีอยู่ อย่างกระจัดกระจาย เพื่อดักจับความคิดของฝูงชน เช่น การ ทานายเศรษฐกิจในปี หน้า หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ได้รบการ ั สนองตอบได้ดีเพียงใด  วิธีน้ ีมีขอจากัดอยู่ 2 ประการ คือ ้  ประการแรก สารสนเทศการตลาดมีหลายอย่าง ผูบริหารต้อง ้ เฉพาะเจาะจงว่าต้องการทราบในเรืองใด (จากตัวอย่าง ่ สถานการณ์ที่ 2 และ 4)  ประการที่สอง การสารวจตลาด อาจทาให้ความลับรั ่วไหล
  • 23. ปั จจัยที่ทาให้เรืองราวซับซ้อน ่  ผูบริหารไม่รูว่าตนเองไม่รู ้ ้ ้  การมีอคติ  มีการเมืองในองค์กร  คนตัดสินใจ ใช้เครืองมือเพียงตัวเดียว ่  ตัดสินใจช้าเกินควร
  • 24. ทาอย่างไรจึงจะเป็ นนักตัดสินใจที่ดี  เริมจากทาความรูจกกับเครื่องมือต่าง ๆ ่ ้ั  เรียนรูเครืองมือจาลองสถานการณ์ เช่น Monte Carlo simulations, ้ ่ decision analysis, และ real options valuation  อบรมเรื่องการจาลองสถานการณ์เพิ่มเติม  ติดตามข่าวสารการตลาด  ใช้ประวัตศาสตร์การตัดสินใจในเรืองเดียวกันเป็ นแบบ ิ ่  สุดท้าย ทาการตัดสินใจ โดยมีวิธีการทีดีเป็ นนิสย ่ ั