SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสาเร็จ
พีรศุษย์ บุญมาธรรม
ปราโมทย์ ตงฉิน
สุกัญชลิกา บุญมาธรรม
24 มิถุนายน 2561
บทนา
กรอบความคิด หรือ Mindset มาบ้าง เป็นคาที่นิยมใช้กันมากขึ้น เพื่อสร้างแรงจูงใจและพัฒนาตนเอง ซึ่ง
อาจหมายถึง ความเชื่อ กระบวนการคิด(Thought Process) หรือ วิธีคิดและทัศนคติของคนแต่ละคน ที่ส่งผลต่อ
พฤติกรรมและการตัดสินใจ หากกรอบความคิดดีก็จะส่งผลให้ตัดสินใจได้ดี ชีวิตก็จะดีและก้าวต่อไปอย่างมั่นคงได้
ด้วยตัวเอง
กรอบความคิด(Mindset)
“กรอบความคิด” คือ ความเชื่อหรือวิธีการคิดที่ส่งผลต่อพฤติกรรม มุมมองและทัศนคติในการรับรู้
มองเห็น เข้าใจ และตีความสิ่งที่อยู่รอบตัว ตามทฤษฎีของ Carol Dweck ผู้คิดค้นทฤษฎีเรื่อง Mindset ได้แบ่ง
ประเภทของ Mindset เป็น 2 แบบด้วยกันคือ
กรอบคิดแบบตายตัว (Fixed mindset) หมายถึง ความเชื่อว่าคุณสมบัติของตัวเองเป็นสิ่งที่ไม่สามารถ
เปลี่ยนแปลงได้ ลักษณะของกรอบคิดนี้ เช่น การให้ความสาคัญกับการเป็นคนฉลาดซึ่งเชื่อว่า ความฉลาด ทักษะ
ความสามารถ เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ จะให้ความสาคัญต่อภาพลักษณ์ คุณลักษณะ เช่น ต้องดูฉลาด ดูเก่ง ต้อง
ได้รับการยอมรับ มักหลีกเลี่ยงงานที่ท้าท้ายหรือปัญหายากๆ โดยกลัวว่าหากทาไม่ได้หรือไม่สาเร็จแล้วจะดูโง่ หรือ
กลัวความล้มเหลวนั่นเอง
กรอบคิดแบบพัฒนาได้ (Growth mindset) หมายถึง ความเชื่อว่าคุณสมบัติพื้นฐานที่เรามีเป้นสิ่งที่
พัฒนาได้ด้วยความพยายาม ถึงจะมีความแตกต่างกันในทุก ๆ ด้านของแต่ละบุคคล เช่น พรสวรรค์ที่ติดตัวมาแต่
กาเนิด ความถนัด ความสนใจ และนิสัยใจคอ แต่ทุกคนสามารถเปลี่ยนแปลงและเติบโตได้ด้วยความพยายามและ
ประสบการณ์ จะเห็นได้ว่าลักษณะของกรอบคิดนี้ จะมีแนวความคิดที่ตรงกันข้ามกับกรอบคิดแบบตายตัว เช่น
เชื่อว่าความฉลาดและความสามรถสร้างได้ด้วยการเรียนรู้ ให้ความสาคัญกับความพยายาม ชอบปัญหาและความ
ท้าทาย มองเป็นโอกาสในการเรียนรู้และพัฒนาซึ่งคนที่ประสบความสาเร็จส่วนใหญ่จะมีกรอบคิดแบบพัฒนาได้
(Growth mindset) นั่นเอง
การพัฒนากรอบความคิด
ก่อนจะทาการพัฒนากรอบความคิดของตัวเองจาเป็นต้องรู้ก่อนว่าตัวเองนั้นมีกรอบความคิดแบบไหน ซึ่ง
การสารวจตัวเองนั้นสามารถทาได้หลายวิธี โดยวิธีการที่นิยมคือการให้ตอบคาถามเกี่ยวกับสติปัญญา ซึ่งอาจเป็นไป
ได้ว่าตัวเองมีกรอบคิดทั้งสองแบบ แต่คนส่วนใหญ่จะมีแนวโน้มไปทางด้านใดด้านหนึ่งมากกว่า นอกจากคาถามที่
เกี่ยวกับสติปัญญา ความฉลาด พรสวรรค์ทางศิลปะ ความสามารถทางกีฬา หรือทักษะทางธุรกิจแล้ว ยังมีคาถามที่
เกี่ยวกับบุคลิกภาพส่วนบุคคลด้วย ซึ่งจะช่วยให้สามารถรู้ได้ว่าตัวเองมีกรอบความคิดโน้มเอียงไปทางใด
ความแตกต่างระหว่างกรอบความคิดทางด้านสติปัญญาและกรอบความคิดทางด้านบุคลิกภาพ คือ กรอบ
ความคิดทางด้านสติปัญญา มักจะมีบทบาทในสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการคิด ส่วนกรอบ
ความคิดทางด้านบุคลิกภาพมักจะใช้ในสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับบุคลิก เช่น สามารถเป็นที่พึ่งพาได้แค่ไหน การให้
ความร่วมมือ การเป็นห่วงเป็นใย หรือมีทักษะทางสังคมมากแค่ไหน ซึ่งหากเป็นกรอบความคิดแบบตายตัว จะทา
ให้รู้สึกกังวลว่าสังคมจะมองคุณอย่างไร ในขณะที่กรอบความคิดแบบพัฒนาได้ จะทาให้รู้สึกกังวลว่าจะพัฒนา
ตัวเองอย่างไร
คนส่วนหนึ่งมีกรอบความคิดทั้งสองแบบ ซึ่งคนเราจะมีแง่มุมของการใช้กรอบความคิดที่แตกต่างกันไป
เช่น เราคิดว่าทักษะทางด้านกีฬาของตัวเองเป็นแบบตายตัว แต่มองว่าทักษะทางด้านสติปัญญาของตัวเองเป็นแบบ
พัฒนาได้ หรือ บุคลิกของฉันเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ แต่ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่พัฒนาได้
สิ่งที่ชวนคิดเพิ่มเติมเกี่ยวกับกรอบความคิดที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันและสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับ
คุณและคนรอบข้าง ซึ่งตัวอย่างต่อไปนี้เป็นส่วนหนึ่งที่จะทาให้เข้าใจกรอบความคิดมากขึ้น
ลองนึกถึงคนรู้จักหรือคนสนิทของคุณที่มีกรอบความคิดแบบตายตัว นึกถึงสิ่งที่พวกเขาพยายามทาเพื่อ
พิสูจน์ตัวเองให้เป็นที่ยอมรับบ่อยแค่ไหน และอ่อนไหวมากแค่ไหนกับการเป็นคนที่ทาอะไรผิดพลาดหรือดูโง่ คุณ
เคยตั้งข้อสังเกตบ้างหรือไม่ว่าเหตุใดพวกเขาจึงเป็นเช่นนั้น และคุณเป็นอย่างนั้นบ้างไหม ซึ่งเรื่องนี้จะทาให้คุณเริ่ม
เข้าใจว่ากรอบความคิดนั้นสาคัญไฉน
ลองนึกถึงคนรู้จักหรือคนสนิทของคุณที่มีกรอบความคิดแบบพัฒนาได้ โดยมองว่าคุณลักษณะที่สาคัญ
ของบุคคลพัฒนาได้ ซึ่งลองนึกถึงวิธีการที่พวกเขาใช้เวลาเจอกับปัญหาที่ยากหรือท้าทาย แล้วถามตัวเองว่าอยาก
เปลี่ยนวิธีที่ใช้เวลาเจอกับปัญหาหรืออุปสรรคหรืออยากท้าทายศักยภาพของตนเองบ้างไหม
ลองจินตนาการว่า เมื่อเราต้องเรียนภาษาต่างชาติที่ไม่เคยรู้จักมาก่อน หลังจากเรียนได้ไม่กี่ชั่วโมง ครูเรียก
ให้ออกไปหน้าชั้นแล้วเริ่มยิงคาถามใส่ จากนั้นลองคิดดูว่าคนที่มีกรอบความคิดแบบตายตัว จะรู้สึกอย่างไร
ความสามารถของคุณกาลังถูกทดสอบไหม รู้สึกไหมว่าทุกคนกาลังจับจ้องอยู่ หรือ รู้สึกไหมว่าครูกาลังประเมินคุณ
อยู่ รู้สึกถึงความเครียดไหม แล้วคุณคิดอย่างไร และรู้สึกอะไรอีกบ้าง ทีนี้ลองคิดดูว่าถ้าเป็นคนที่มีกรอบความคิด
แบบพัฒนาได้ คุณมองว่าการที่เรียนภาษานี้เพราะว่าอยากเรียนรู้ ส่วนครูเป็นผู้ให้ความรู้ เมื่อคิดแบบนี้
ความเครียดจะหายไปและคุณจะเปิดใจและเปิดโอกาสในการเรียนรู้ได้มากขึ้น ทั้งหมดที่กล่าวมานี้จะแสดงให้เห็น
ว่ากรอบความคิดสามารถเปลี่ยนได้
วิธีการสร้างกรอบความคิดแบบพัฒนา
ในงานวิจัยของศาสตราจารย์ Carol S. Dweck ผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านจิตวิทยา มหาวิทยาลัย
สแตนฟอร์ด พบว่า คนที่ประสบความสาเร็จในชีวิตนั้นจะมี Mindset ที่แตกต่างจากคนทั่วไป โดยคนที่ประสบ
ความสาเร็จนั้นจะมีกรอบความคิดแบบพัฒนาได้ ซึ่งคนเหล่านั้นเชื่อว่าตัวเองสามารถพัฒนาในทักษะหรือ
คุณลักษณะต่าง ๆ ที่ตัวเองบกพร่องได้ ในขณะที่คนทั่วไปจะมีกรอบความคิดแบบตายตัว โดยมีความเชื่อว่าคนเรา
มีทักษะที่จากัด ไม่สามารถที่จะพัฒนาขึ้นได้แล้ว
ซึ่งในความเป็นจริงแล้วจะมีกรอบความคิดแบบไหน ไม่ใช่สิ่งที่ผิด ด้วยแรงผลักดันจากความต้องการ
พื้นฐานของมนุษย์คือ ต้องการความปลอดภัย อยากจะอยู่ในที่ที่คุ้นเคย ไม่อยากที่จะเสี่ยง แต่สาหรับคนที่ทางาน
แล้วการมี กรอบความคิดแบบพัฒนาได้จะทาให้คนเหล่านั้นมีแนวโน้มที่จะปรับปรุงและพัฒนาตนเองได้ดีขึ้น ซึ่ง
วิธีการในการพัฒนากรอบความคิดของตัวเองสามารถทาได้ตามแนวทางต่อไปนี้
1. สารวจและฟังเสียงกรอบความคิด
ขั้นตอนแรกของการปรับกรอบความคิด คือ เราต้องสารวจและรู้ก่อนว่ากรอบความคิดของเรานั้นเป็นแบบ
ใด หากจินตนาการว่ากรอบความคิดเป็นตัวเราที่อยู่ในหัวของเราเหมือนในการ์ตูนที่จะเห็นว่าคนเราความคิดด้าน
สว่างและด้านมืด ตัวเราที่อยู่ในหัวจะพูดกับเราอย่างไร ถ้าต้องเผชิญกับงานใหม่ที่มีความยากและท้าทาย กรอบ
ความคิด จะพูดกับเราว่า “จะทาได้เหรอ” “ฉลาดพอหรือเปล่า” “ถ้าพลาดนี่ดูโง่นะ” ให้คอยสังเกตและฟังเสียง
ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในหัวให้ดี ถ้ามีคาพูดเหล่านี้ในหัวออกมาบ่อย ๆ เป็นไปได้ว่าเราจะเป็นคนที่มีกรอบความคิดแบบ
ตายตัว ซึ่งจะทาให้เกิดความกลัว ไม่กล้าพัฒนาตนเอง และสุดท้ายจะส่งผลทาให้อาชีพการงานไม่ประสบ
ความสาเร็จ
2. เลือกที่จะฟังกรอบความคิดแบบพัฒนาได้
เมื่อเราสารวจตัวเองและรู้แล้วว่ากรอบความคิดของเราเป็นอย่างไร ขั้นตอนต่อไป คือ หาสาเหตุให้ได้ว่าสิ่ง
ใดที่ทาให้เรารู้สึกขาดความมั่นใจในตัวเองเมื่อต้องตกอยู่ในสถานการณ์ที่บีบคั้นและท้าทายต่าง ถ้าหาพบแล้วก็
ขึ้นอยู่กับว่า เราจะมองสิ่งนั้นเป็นปัญหาที่จะทาให้เราล้มเหลวที่ต้องหาทางหลีกเลี่ยง หรือมองเป็นโอกาสที่ทาให้
เราได้พัฒนาทักษะใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทามาก่อน ถ้าเราเลือกที่จะหลีกเลี่ยงนั่นหมายความว่าเราใช้กรอบความคิดแบบ
ตายตัว แต่ถ้าเราเลือกที่จะพัฒนาทักษะใหม่ ๆ หมายความว่าเรากาลังใช้กรอบความคิดแบบพัฒนาได้
3. โต้ตอบและเถียงกลับ
กรอบความคิดเป็นสิ่งที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด การจะเปลี่ยนแปลงกรอบความคิดในความพยายามครั้งแรกให้
ได้นั้นเป็นเรื่องที่ยากมาก กรอบความคิดแบบตายตัวที่อยู่ในหัวเราจะคอยมาพูดกับเราตลอดเวลา วิธีการจัดการก็
คือการโต้เถียงกลับไป เมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่ท้าทาย กรอบความคิดแบบตายตัวจะส่งเสียงพูดกับเรา ให้เราตอบ
กลับเสียงนั้นไปด้วย กรอบความคิดแบบพัฒนาได้ เช่น
กรอบความคิดแบบตายตัว ในหัวบอกว่า: แน่ใจเหรอว่าจะทางานนี้ได้ บางทีความสามารถของเราไม่น่าจะ
ถึงหรือเปล่า
กรอบความคิดแบบพัฒนาได้ ตอบกลับไปว่า: ก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าจะทาได้ไหม แต่ถ้าเราพยายามก็
น่าจะเรียนรู้ได้นะ
กรอบความคิดแบบตายตัว ในหัวบอกว่า: ถ้าพลาดล่ะ น่าอายนะ
กรอบความคิดแบบพัฒนาได้ ตอบกลับ: ไม่มีใครไม่เคยทาพลาด เราเรียนรู้จากมันได้
4. ลงมือปฏิบัติ
จุดมุ่งหมายสาคัญของการเปลี่ยนแปลงกรอบความคิด คือ ต้องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม สิ่งที่ทาให้เรา
ติดอยู่กับกรอบความคิดแบบตายตัวเป็นเพราะว่าความไม่กล้าที่จะออกจากจุดที่เรารู้สึกปลอดภัยที่สุด เมื่อเรา
เปลี่ยนเสียงของกรอบความคิดแบบพัฒนาได้ให้เป็นพฤติกรรมได้ เรารู้สาเหตุว่าอะไรที่เราบกพร่องทาให้เราขาด
ความมั่นใจ เราก็หาวิธีฝึกฝนในเรื่องนั้น ๆ เราก็จะรู้สึกมีความมั่นใจไม่กลัวที่จะทาสิ่งที่ท้าทายได้ ซึ่งจะส่งผลให้
ความสามารถในการพัฒนาตนเองเรามีมากขึ้นตามไปด้วย
5. ยังทาไม่ได้ ไม่ใช่ ทาไม่ได้
หลายเรื่องก็ต้องยอมรับว่า การคิดแล้วลงมือทาเลยนั้นอาจจะยังไม่ประสบความสาเร็จได้อย่างที่คาดคิดไว้
ได้ในทันที เมื่อทาแล้วเกิดผิดพลาด อาจจะยิ่งตอกย้า และทาให้เรากลับไปมีความเชื่อแบบกรอบความคิดแบบ
ตายตัวอีกครั้ง สิ่งที่เราจะทาได้เมื่อสิ่งที่เราลงมือทายังไม่ประสบความสาเร็จ คือ บอกกับตัวเองว่าคุณสมบัติในตอน
นั้นของเรายังไม่ถึง ยังทาไม่ได้ เราแค่ยังทาไม่ได้ไม่ใช่ว่าเราทามันไม่ได้เลย การเติมคาว่ายังเข้าไปในกรอบความคิด
แบบตายตัวจะช่วยเปลี่ยนกรอบความคิดของเราให้กลายเป็นกรอบความคิดแบบพัฒนาได้
เครื่องมือในการสร้าง Growth Mindset สาหรับพัฒนาบุคคลากร
เครื่องมือที่สามารถปรับใช้เมื่อต้องพัฒนากรอบความคิดแบบพัฒนาได้ มีดังนี้
1. ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring) หาจัดให้มีผู้ที่มีประสบการณ์ และทัศนคติที่เป็นบวกทั้งต่อตนเอง เป็นพี่เลี้ยง
ให้กับเรา “คบคนพาลพาลพาไปหาผิด คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผล”
2. การโค้ช (Coaching) การโค้ชเพื่อพัฒนาตัวเอง เพื่อให้สามารถพัฒนาตนเองเติบโตขึ้นได้ด้วย
ความสามารถของเราเอง เช่น การเปิดใจและเชื่อมั่นในศักยภาพของผู้อื่น, การใช้คาถามปลายเปิดเพื่อ
ระดมความคิดให้ได้ความคิดใหม่ๆ , การสร้างความสามัคคีเพื่อสร้างความไว้วางใจ, การโต้ตอบที่ดีทาให้
เกิดการพัฒนาตัวเอง และการสร้างแรงบันดาลใจด้วยเรื่องเล่า เป็นต้น
3. การหาแรงบันดาลใจดีๆรอบตัว เพื่อสร้างพลังเชิงบวก
4. เครื่องมือต่าง ๆ ที่จะช่วยให้การคิดเป็นระบบ ในปัจจุบันมีแนวทางการคิดแบบต่าง ๆ เช่น Systematic
thinking, analysis thinking, Strategic thinking และ Creative thinking จะมีหลายเครื่องมือและ
วิธีการ เช่น mind map, model house, 8 quotient ที่ใช้พัฒนาตัวเองได้ ซึ่งสามารถเพิ่มศักยภาพการ
คิดอย่างเป็นระบบ
สรุป
กรอบความคิดเป็นสิ่งที่พัฒนาได้ การเปลี่ยนกรอบความคิดไม่ไช่การนาเอาคาแนะนาต่าง ๆมาใช้ แต่เป็น
การมองสิ่งต่าง ๆ ด้วยวิธีคิดใหม่ ๆ ไม่ว่าจะเป็นคู่รัก โค้ชกับนักกีฬา ผู้จัดการกับพนักงาน พ่อแม่กับลูก หรือ ครูกับ
นักเรียน เวลาที่พวกเขาเปลี่ยนไปใช้กรอบความคิดแบบพัฒนาได้ นั่นหมายถึงการที่พวกเขาเปลี่ยนจากกรอบแห่ง
การตัดสินและถูกตัดสินไปเป็นกรอบแห่งการเรียนรู้และช่วยให้เรียนรู้ พวกเขาพร้อมจะทุ่มเทให้กับการพัฒนา ซึ่ง
การพัฒนาต้องการเวลา ความอดทน ความพยายาม และแรงสนับสนุน
อ้างอิง
Dweck, C. S. (2006). Mindset: The new psychology of success. New York: Random House.
Dweck, C. S. (2012). Mindset: How you can fulfill your potential. Constable & Robinson
Limited.
พัฒนาศักยภาพในการทางานได้ง่าย ๆ ด้วย 5 ขั้นตอนปรับ Mindset https://www.jobthai.com
/REACH/career-tips/55 online: 30/03/17

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์khanidthakpt
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1Sivagon Soontong
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)Boukee Singlee
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 

Was ist angesagt? (20)

ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
การใช้ a/an/some/any
การใช้ a/an/some/any การใช้ a/an/some/any
การใช้ a/an/some/any
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 

Ähnlich wie การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ

บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์bussaba_pupa
 
Disc model โมเดล Disc
Disc model โมเดล DiscDisc model โมเดล Disc
Disc model โมเดล Discmaruay songtanin
 
บทความ
บทความบทความ
บทความaorchalisa
 
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allKruKaiNui
 
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำLeadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำmaruay songtanin
 
Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingTeetut Tresirichod
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
Get smart คิดอย่างฉลาด
Get smart คิดอย่างฉลาดGet smart คิดอย่างฉลาด
Get smart คิดอย่างฉลาดmaruay songtanin
 
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธDrDanai Thienphut
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 

Ähnlich wie การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ (20)

งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 
7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)
 
Disc model โมเดล Disc
Disc model โมเดล DiscDisc model โมเดล Disc
Disc model โมเดล Disc
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all
 
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำLeadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
 
Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinking
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
Get smart คิดอย่างฉลาด
Get smart คิดอย่างฉลาดGet smart คิดอย่างฉลาด
Get smart คิดอย่างฉลาด
 
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
 
Consult
ConsultConsult
Consult
 
[5]life transformation
[5]life transformation[5]life transformation
[5]life transformation
 
Strengths Quest Thai version
Strengths Quest Thai versionStrengths Quest Thai version
Strengths Quest Thai version
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 

การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ

  • 1. การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสาเร็จ พีรศุษย์ บุญมาธรรม ปราโมทย์ ตงฉิน สุกัญชลิกา บุญมาธรรม 24 มิถุนายน 2561 บทนา กรอบความคิด หรือ Mindset มาบ้าง เป็นคาที่นิยมใช้กันมากขึ้น เพื่อสร้างแรงจูงใจและพัฒนาตนเอง ซึ่ง อาจหมายถึง ความเชื่อ กระบวนการคิด(Thought Process) หรือ วิธีคิดและทัศนคติของคนแต่ละคน ที่ส่งผลต่อ พฤติกรรมและการตัดสินใจ หากกรอบความคิดดีก็จะส่งผลให้ตัดสินใจได้ดี ชีวิตก็จะดีและก้าวต่อไปอย่างมั่นคงได้ ด้วยตัวเอง กรอบความคิด(Mindset) “กรอบความคิด” คือ ความเชื่อหรือวิธีการคิดที่ส่งผลต่อพฤติกรรม มุมมองและทัศนคติในการรับรู้ มองเห็น เข้าใจ และตีความสิ่งที่อยู่รอบตัว ตามทฤษฎีของ Carol Dweck ผู้คิดค้นทฤษฎีเรื่อง Mindset ได้แบ่ง ประเภทของ Mindset เป็น 2 แบบด้วยกันคือ กรอบคิดแบบตายตัว (Fixed mindset) หมายถึง ความเชื่อว่าคุณสมบัติของตัวเองเป็นสิ่งที่ไม่สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ ลักษณะของกรอบคิดนี้ เช่น การให้ความสาคัญกับการเป็นคนฉลาดซึ่งเชื่อว่า ความฉลาด ทักษะ ความสามารถ เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ จะให้ความสาคัญต่อภาพลักษณ์ คุณลักษณะ เช่น ต้องดูฉลาด ดูเก่ง ต้อง ได้รับการยอมรับ มักหลีกเลี่ยงงานที่ท้าท้ายหรือปัญหายากๆ โดยกลัวว่าหากทาไม่ได้หรือไม่สาเร็จแล้วจะดูโง่ หรือ กลัวความล้มเหลวนั่นเอง กรอบคิดแบบพัฒนาได้ (Growth mindset) หมายถึง ความเชื่อว่าคุณสมบัติพื้นฐานที่เรามีเป้นสิ่งที่ พัฒนาได้ด้วยความพยายาม ถึงจะมีความแตกต่างกันในทุก ๆ ด้านของแต่ละบุคคล เช่น พรสวรรค์ที่ติดตัวมาแต่ กาเนิด ความถนัด ความสนใจ และนิสัยใจคอ แต่ทุกคนสามารถเปลี่ยนแปลงและเติบโตได้ด้วยความพยายามและ ประสบการณ์ จะเห็นได้ว่าลักษณะของกรอบคิดนี้ จะมีแนวความคิดที่ตรงกันข้ามกับกรอบคิดแบบตายตัว เช่น เชื่อว่าความฉลาดและความสามรถสร้างได้ด้วยการเรียนรู้ ให้ความสาคัญกับความพยายาม ชอบปัญหาและความ ท้าทาย มองเป็นโอกาสในการเรียนรู้และพัฒนาซึ่งคนที่ประสบความสาเร็จส่วนใหญ่จะมีกรอบคิดแบบพัฒนาได้ (Growth mindset) นั่นเอง การพัฒนากรอบความคิด ก่อนจะทาการพัฒนากรอบความคิดของตัวเองจาเป็นต้องรู้ก่อนว่าตัวเองนั้นมีกรอบความคิดแบบไหน ซึ่ง การสารวจตัวเองนั้นสามารถทาได้หลายวิธี โดยวิธีการที่นิยมคือการให้ตอบคาถามเกี่ยวกับสติปัญญา ซึ่งอาจเป็นไป ได้ว่าตัวเองมีกรอบคิดทั้งสองแบบ แต่คนส่วนใหญ่จะมีแนวโน้มไปทางด้านใดด้านหนึ่งมากกว่า นอกจากคาถามที่
  • 2. เกี่ยวกับสติปัญญา ความฉลาด พรสวรรค์ทางศิลปะ ความสามารถทางกีฬา หรือทักษะทางธุรกิจแล้ว ยังมีคาถามที่ เกี่ยวกับบุคลิกภาพส่วนบุคคลด้วย ซึ่งจะช่วยให้สามารถรู้ได้ว่าตัวเองมีกรอบความคิดโน้มเอียงไปทางใด ความแตกต่างระหว่างกรอบความคิดทางด้านสติปัญญาและกรอบความคิดทางด้านบุคลิกภาพ คือ กรอบ ความคิดทางด้านสติปัญญา มักจะมีบทบาทในสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการคิด ส่วนกรอบ ความคิดทางด้านบุคลิกภาพมักจะใช้ในสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับบุคลิก เช่น สามารถเป็นที่พึ่งพาได้แค่ไหน การให้ ความร่วมมือ การเป็นห่วงเป็นใย หรือมีทักษะทางสังคมมากแค่ไหน ซึ่งหากเป็นกรอบความคิดแบบตายตัว จะทา ให้รู้สึกกังวลว่าสังคมจะมองคุณอย่างไร ในขณะที่กรอบความคิดแบบพัฒนาได้ จะทาให้รู้สึกกังวลว่าจะพัฒนา ตัวเองอย่างไร คนส่วนหนึ่งมีกรอบความคิดทั้งสองแบบ ซึ่งคนเราจะมีแง่มุมของการใช้กรอบความคิดที่แตกต่างกันไป เช่น เราคิดว่าทักษะทางด้านกีฬาของตัวเองเป็นแบบตายตัว แต่มองว่าทักษะทางด้านสติปัญญาของตัวเองเป็นแบบ พัฒนาได้ หรือ บุคลิกของฉันเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ แต่ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่พัฒนาได้ สิ่งที่ชวนคิดเพิ่มเติมเกี่ยวกับกรอบความคิดที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันและสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับ คุณและคนรอบข้าง ซึ่งตัวอย่างต่อไปนี้เป็นส่วนหนึ่งที่จะทาให้เข้าใจกรอบความคิดมากขึ้น ลองนึกถึงคนรู้จักหรือคนสนิทของคุณที่มีกรอบความคิดแบบตายตัว นึกถึงสิ่งที่พวกเขาพยายามทาเพื่อ พิสูจน์ตัวเองให้เป็นที่ยอมรับบ่อยแค่ไหน และอ่อนไหวมากแค่ไหนกับการเป็นคนที่ทาอะไรผิดพลาดหรือดูโง่ คุณ เคยตั้งข้อสังเกตบ้างหรือไม่ว่าเหตุใดพวกเขาจึงเป็นเช่นนั้น และคุณเป็นอย่างนั้นบ้างไหม ซึ่งเรื่องนี้จะทาให้คุณเริ่ม เข้าใจว่ากรอบความคิดนั้นสาคัญไฉน ลองนึกถึงคนรู้จักหรือคนสนิทของคุณที่มีกรอบความคิดแบบพัฒนาได้ โดยมองว่าคุณลักษณะที่สาคัญ ของบุคคลพัฒนาได้ ซึ่งลองนึกถึงวิธีการที่พวกเขาใช้เวลาเจอกับปัญหาที่ยากหรือท้าทาย แล้วถามตัวเองว่าอยาก เปลี่ยนวิธีที่ใช้เวลาเจอกับปัญหาหรืออุปสรรคหรืออยากท้าทายศักยภาพของตนเองบ้างไหม ลองจินตนาการว่า เมื่อเราต้องเรียนภาษาต่างชาติที่ไม่เคยรู้จักมาก่อน หลังจากเรียนได้ไม่กี่ชั่วโมง ครูเรียก ให้ออกไปหน้าชั้นแล้วเริ่มยิงคาถามใส่ จากนั้นลองคิดดูว่าคนที่มีกรอบความคิดแบบตายตัว จะรู้สึกอย่างไร ความสามารถของคุณกาลังถูกทดสอบไหม รู้สึกไหมว่าทุกคนกาลังจับจ้องอยู่ หรือ รู้สึกไหมว่าครูกาลังประเมินคุณ อยู่ รู้สึกถึงความเครียดไหม แล้วคุณคิดอย่างไร และรู้สึกอะไรอีกบ้าง ทีนี้ลองคิดดูว่าถ้าเป็นคนที่มีกรอบความคิด แบบพัฒนาได้ คุณมองว่าการที่เรียนภาษานี้เพราะว่าอยากเรียนรู้ ส่วนครูเป็นผู้ให้ความรู้ เมื่อคิดแบบนี้ ความเครียดจะหายไปและคุณจะเปิดใจและเปิดโอกาสในการเรียนรู้ได้มากขึ้น ทั้งหมดที่กล่าวมานี้จะแสดงให้เห็น ว่ากรอบความคิดสามารถเปลี่ยนได้ วิธีการสร้างกรอบความคิดแบบพัฒนา ในงานวิจัยของศาสตราจารย์ Carol S. Dweck ผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านจิตวิทยา มหาวิทยาลัย สแตนฟอร์ด พบว่า คนที่ประสบความสาเร็จในชีวิตนั้นจะมี Mindset ที่แตกต่างจากคนทั่วไป โดยคนที่ประสบ ความสาเร็จนั้นจะมีกรอบความคิดแบบพัฒนาได้ ซึ่งคนเหล่านั้นเชื่อว่าตัวเองสามารถพัฒนาในทักษะหรือ คุณลักษณะต่าง ๆ ที่ตัวเองบกพร่องได้ ในขณะที่คนทั่วไปจะมีกรอบความคิดแบบตายตัว โดยมีความเชื่อว่าคนเรา มีทักษะที่จากัด ไม่สามารถที่จะพัฒนาขึ้นได้แล้ว
  • 3. ซึ่งในความเป็นจริงแล้วจะมีกรอบความคิดแบบไหน ไม่ใช่สิ่งที่ผิด ด้วยแรงผลักดันจากความต้องการ พื้นฐานของมนุษย์คือ ต้องการความปลอดภัย อยากจะอยู่ในที่ที่คุ้นเคย ไม่อยากที่จะเสี่ยง แต่สาหรับคนที่ทางาน แล้วการมี กรอบความคิดแบบพัฒนาได้จะทาให้คนเหล่านั้นมีแนวโน้มที่จะปรับปรุงและพัฒนาตนเองได้ดีขึ้น ซึ่ง วิธีการในการพัฒนากรอบความคิดของตัวเองสามารถทาได้ตามแนวทางต่อไปนี้ 1. สารวจและฟังเสียงกรอบความคิด ขั้นตอนแรกของการปรับกรอบความคิด คือ เราต้องสารวจและรู้ก่อนว่ากรอบความคิดของเรานั้นเป็นแบบ ใด หากจินตนาการว่ากรอบความคิดเป็นตัวเราที่อยู่ในหัวของเราเหมือนในการ์ตูนที่จะเห็นว่าคนเราความคิดด้าน สว่างและด้านมืด ตัวเราที่อยู่ในหัวจะพูดกับเราอย่างไร ถ้าต้องเผชิญกับงานใหม่ที่มีความยากและท้าทาย กรอบ ความคิด จะพูดกับเราว่า “จะทาได้เหรอ” “ฉลาดพอหรือเปล่า” “ถ้าพลาดนี่ดูโง่นะ” ให้คอยสังเกตและฟังเสียง ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในหัวให้ดี ถ้ามีคาพูดเหล่านี้ในหัวออกมาบ่อย ๆ เป็นไปได้ว่าเราจะเป็นคนที่มีกรอบความคิดแบบ ตายตัว ซึ่งจะทาให้เกิดความกลัว ไม่กล้าพัฒนาตนเอง และสุดท้ายจะส่งผลทาให้อาชีพการงานไม่ประสบ ความสาเร็จ 2. เลือกที่จะฟังกรอบความคิดแบบพัฒนาได้ เมื่อเราสารวจตัวเองและรู้แล้วว่ากรอบความคิดของเราเป็นอย่างไร ขั้นตอนต่อไป คือ หาสาเหตุให้ได้ว่าสิ่ง ใดที่ทาให้เรารู้สึกขาดความมั่นใจในตัวเองเมื่อต้องตกอยู่ในสถานการณ์ที่บีบคั้นและท้าทายต่าง ถ้าหาพบแล้วก็ ขึ้นอยู่กับว่า เราจะมองสิ่งนั้นเป็นปัญหาที่จะทาให้เราล้มเหลวที่ต้องหาทางหลีกเลี่ยง หรือมองเป็นโอกาสที่ทาให้ เราได้พัฒนาทักษะใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทามาก่อน ถ้าเราเลือกที่จะหลีกเลี่ยงนั่นหมายความว่าเราใช้กรอบความคิดแบบ ตายตัว แต่ถ้าเราเลือกที่จะพัฒนาทักษะใหม่ ๆ หมายความว่าเรากาลังใช้กรอบความคิดแบบพัฒนาได้ 3. โต้ตอบและเถียงกลับ กรอบความคิดเป็นสิ่งที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด การจะเปลี่ยนแปลงกรอบความคิดในความพยายามครั้งแรกให้ ได้นั้นเป็นเรื่องที่ยากมาก กรอบความคิดแบบตายตัวที่อยู่ในหัวเราจะคอยมาพูดกับเราตลอดเวลา วิธีการจัดการก็ คือการโต้เถียงกลับไป เมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่ท้าทาย กรอบความคิดแบบตายตัวจะส่งเสียงพูดกับเรา ให้เราตอบ กลับเสียงนั้นไปด้วย กรอบความคิดแบบพัฒนาได้ เช่น กรอบความคิดแบบตายตัว ในหัวบอกว่า: แน่ใจเหรอว่าจะทางานนี้ได้ บางทีความสามารถของเราไม่น่าจะ ถึงหรือเปล่า กรอบความคิดแบบพัฒนาได้ ตอบกลับไปว่า: ก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าจะทาได้ไหม แต่ถ้าเราพยายามก็ น่าจะเรียนรู้ได้นะ กรอบความคิดแบบตายตัว ในหัวบอกว่า: ถ้าพลาดล่ะ น่าอายนะ กรอบความคิดแบบพัฒนาได้ ตอบกลับ: ไม่มีใครไม่เคยทาพลาด เราเรียนรู้จากมันได้ 4. ลงมือปฏิบัติ จุดมุ่งหมายสาคัญของการเปลี่ยนแปลงกรอบความคิด คือ ต้องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม สิ่งที่ทาให้เรา ติดอยู่กับกรอบความคิดแบบตายตัวเป็นเพราะว่าความไม่กล้าที่จะออกจากจุดที่เรารู้สึกปลอดภัยที่สุด เมื่อเรา เปลี่ยนเสียงของกรอบความคิดแบบพัฒนาได้ให้เป็นพฤติกรรมได้ เรารู้สาเหตุว่าอะไรที่เราบกพร่องทาให้เราขาด ความมั่นใจ เราก็หาวิธีฝึกฝนในเรื่องนั้น ๆ เราก็จะรู้สึกมีความมั่นใจไม่กลัวที่จะทาสิ่งที่ท้าทายได้ ซึ่งจะส่งผลให้ ความสามารถในการพัฒนาตนเองเรามีมากขึ้นตามไปด้วย
  • 4. 5. ยังทาไม่ได้ ไม่ใช่ ทาไม่ได้ หลายเรื่องก็ต้องยอมรับว่า การคิดแล้วลงมือทาเลยนั้นอาจจะยังไม่ประสบความสาเร็จได้อย่างที่คาดคิดไว้ ได้ในทันที เมื่อทาแล้วเกิดผิดพลาด อาจจะยิ่งตอกย้า และทาให้เรากลับไปมีความเชื่อแบบกรอบความคิดแบบ ตายตัวอีกครั้ง สิ่งที่เราจะทาได้เมื่อสิ่งที่เราลงมือทายังไม่ประสบความสาเร็จ คือ บอกกับตัวเองว่าคุณสมบัติในตอน นั้นของเรายังไม่ถึง ยังทาไม่ได้ เราแค่ยังทาไม่ได้ไม่ใช่ว่าเราทามันไม่ได้เลย การเติมคาว่ายังเข้าไปในกรอบความคิด แบบตายตัวจะช่วยเปลี่ยนกรอบความคิดของเราให้กลายเป็นกรอบความคิดแบบพัฒนาได้ เครื่องมือในการสร้าง Growth Mindset สาหรับพัฒนาบุคคลากร เครื่องมือที่สามารถปรับใช้เมื่อต้องพัฒนากรอบความคิดแบบพัฒนาได้ มีดังนี้ 1. ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring) หาจัดให้มีผู้ที่มีประสบการณ์ และทัศนคติที่เป็นบวกทั้งต่อตนเอง เป็นพี่เลี้ยง ให้กับเรา “คบคนพาลพาลพาไปหาผิด คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผล” 2. การโค้ช (Coaching) การโค้ชเพื่อพัฒนาตัวเอง เพื่อให้สามารถพัฒนาตนเองเติบโตขึ้นได้ด้วย ความสามารถของเราเอง เช่น การเปิดใจและเชื่อมั่นในศักยภาพของผู้อื่น, การใช้คาถามปลายเปิดเพื่อ ระดมความคิดให้ได้ความคิดใหม่ๆ , การสร้างความสามัคคีเพื่อสร้างความไว้วางใจ, การโต้ตอบที่ดีทาให้ เกิดการพัฒนาตัวเอง และการสร้างแรงบันดาลใจด้วยเรื่องเล่า เป็นต้น 3. การหาแรงบันดาลใจดีๆรอบตัว เพื่อสร้างพลังเชิงบวก 4. เครื่องมือต่าง ๆ ที่จะช่วยให้การคิดเป็นระบบ ในปัจจุบันมีแนวทางการคิดแบบต่าง ๆ เช่น Systematic thinking, analysis thinking, Strategic thinking และ Creative thinking จะมีหลายเครื่องมือและ วิธีการ เช่น mind map, model house, 8 quotient ที่ใช้พัฒนาตัวเองได้ ซึ่งสามารถเพิ่มศักยภาพการ คิดอย่างเป็นระบบ สรุป กรอบความคิดเป็นสิ่งที่พัฒนาได้ การเปลี่ยนกรอบความคิดไม่ไช่การนาเอาคาแนะนาต่าง ๆมาใช้ แต่เป็น การมองสิ่งต่าง ๆ ด้วยวิธีคิดใหม่ ๆ ไม่ว่าจะเป็นคู่รัก โค้ชกับนักกีฬา ผู้จัดการกับพนักงาน พ่อแม่กับลูก หรือ ครูกับ นักเรียน เวลาที่พวกเขาเปลี่ยนไปใช้กรอบความคิดแบบพัฒนาได้ นั่นหมายถึงการที่พวกเขาเปลี่ยนจากกรอบแห่ง การตัดสินและถูกตัดสินไปเป็นกรอบแห่งการเรียนรู้และช่วยให้เรียนรู้ พวกเขาพร้อมจะทุ่มเทให้กับการพัฒนา ซึ่ง การพัฒนาต้องการเวลา ความอดทน ความพยายาม และแรงสนับสนุน อ้างอิง Dweck, C. S. (2006). Mindset: The new psychology of success. New York: Random House. Dweck, C. S. (2012). Mindset: How you can fulfill your potential. Constable & Robinson Limited. พัฒนาศักยภาพในการทางานได้ง่าย ๆ ด้วย 5 ขั้นตอนปรับ Mindset https://www.jobthai.com /REACH/career-tips/55 online: 30/03/17