SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 83
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ส่วนที่ 1
บทนา
1. ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา
1.ชื่อโรงเรียน โรงเรียนมะนะศึกษา (Manasuksa School) ตั้งอยู่เลขที่ 262 หมู่ที่ 15 ตาบลบ้านชวน
อาเภอบาเหน็จณรงค์จังหวัดชัยภูมิ โทรศัพท์ 0-4484-2118 โทรสา ร0-4412-7119 E–mail
manasuksa@yahoo.com Website http://www.mana.ac.th รหัสโรงเรียน 36100012 สังกัด สานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 เขตตรวจสานักบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาที่ 8
2. ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สังคม ชุมชนบริเวณโรงเรียน ประวัติโรงเรียน
2.1สภาพสังคมของชุมชน เป็นสังคมเกษตรกรรม ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป
ได้แก่ ประเพณีวันสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีวันเข้าพรรษา ออกพรรษา ประเพณีการเทศน์
มหาชาติ ประเพณีพื้นบ้านได้แก่ การแห่นางแมวขอฝน การตั้งถิ่นฐานของชุมชนเป็นชุมชนดั้งเดิม
2.2สภาพเศรษฐกิจของชุมชน โดยรวมของพื้นที่ภายในเขตบริการของโรงเรียนมะนะศึกษาส่วนใหญ่
จะขึ้นอยู่กับภาคเกษตรกรรมเป็นหลักประกอบด้วย การทานา ทาไร่ พืชเศรษฐกิจที่ทารายได้เข้าหมู่บ้านได้แก่
มันสาปะหลัง ข้าวโพด อ้อย พริก
2.3ข้อมูลของผู้ปกครอง ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีพ
หลักคือ เกษตรกรรม รับจ้าง ร้อยละ 91 นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจและรายได้เฉลี่ยต่อ
ครอบครัวต่อปี จานวน 100,000 บาท จานวนประชากรเฉลี่ยต่อครอบครัว จานวน 4 คน
3. ประวัติโรงเรียน
โรงเรียนมะนะศึกษาก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2533 ตั้งอยู่เลขที่ 262 หมู่ที่ 15 ถนน บาเหน็จซับใหญ่
ตาบลบ้านชวน อาเภอบาเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ รหัสไปรษณีย์ 36160 มีเนื้อที่ทั้งหมด 1ไร่ เศษ เป็น
สถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีนายมนต์ชัย หิรัญวงษ์
เป็นผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการ
ปี พ.ศ. 2533 เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล 1 มีนักเรียนจานวน 80 คน ครูจานวน 1 คน โดยมีนางสาว
ทองปานพิพิธกุล เป็นครูใหญ่
ปี พ.ศ. 2534 มีการเปลี่ยนครูใหญ่ จากนางสาวทองปาน พิพิธกุล เป็นนายมะ หิรัญวงษ์
ปี พ.ศ. 2536 มีการจัดสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติม โดยมี 4 ห้องเรียน สามารถรองรับนักเรียนได้จานวน
150 คน
2
ปี พ.ศ. 2541 สร้างอาคารเรียน และอาคารอเนกประสงค์ เพื่อทาการเปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 1 - 3
ปี พ.ศ. 2552 โรงเรียนเปิดทาการสอนในระดับชั้นปฐมวัย – ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนทั้งสิ้น
จานวน 233 คน ครู 11 คน มีนายวีระ อิ่มวิเศษ เป็นผู้อานวยการโรงเรียน
ปี พ.ศ. 2555 โรงเรียนเปิดทาการสอนระดับชั้ นปฐมวัย – ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีจานวน
นักเรียนทั้งสิ้น 366 คน ครู 14 คน มีนายบาเหน็จ ป้องปัด เป็นผู้อานวยการโรงเรียน
4. จานวนครู / บุคลากรทางการศึกษา / บุคลากรอื่น ๆ / นักเรียน
(สารวจ ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2555)
ประเภท
ปี คาดการณ์ปี
2554 (คน) 2555 (คน) 2556 (คน)
ผู้อานวยการ/ครู 15 16 18
บุคลากรทางการศึกษา 1 2
บุคลากรอื่นๆ
นักเรียนรวมทั้งโรงเรียน 366 390
จาแนกตามระดับชั้น
 เตรียมอนุบาล - - -
 อนุบาล 1 25 30
 อนุบาล 2 56 30
 อนุบาล 3 62 60
 ประถมศึกษาปีที่ 1 38 56 60
 ประถมศึกษาปีที่ 2 35 36 60
 ประถมศึกษาปีที่ 3 33 36 39
 ประถมศึกษาปีที่ 4 28 31 40
 ประถมศึกษาปีที่ 5 37 26 35
 ประถมศึกษาปีที่ 6 26 38 30
3
6. แสดงคุณวุฒิทางการศึกษาของผู้อานวยการ/ครู ในโรงเรียน
ระดับการศึกษา ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
มี (คน) ไม่มี (คน) รวม (คน)
ปริญญาเอก - - -
ปริญญาโท 1 - 1
ป.บัณฑิต (วิชาชีพครู) 4 - 4
ปริญญาตรี 5 3 8
ต่ากว่าปริญญาตรี - 3 3
รวมทั้งโรงเรียน 10 6 16
ส่วนที่ 2
ทิศทางการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
4
1.วิสัยทัศน์
ภายในปีการศึกษา 2558 โรงเรียนมะนะศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้นา ผู้ตามที่ ดี มีความรู้คู่
คุณธรรม รักการอ่าน เขียน คิด มีจิตใฝ่รู้ เน้น ครูสู่ผู้เรียนเป็นสาคัญ บริหารร่วมสร้างสรรค์มุ่งมั่นสู่มาตรฐาน
สืบสานความเป็นไทย ใส่ใจให้บริการ
2.พันธกิจ
1. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตรสถานศึกษา มี
คุณธรรมนาความรู้และค่านิยมที่พึงประสงค์
2.จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และการคิดอย่างเป็นระบบ
คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจแก้ปัญหาได้
3.จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และ
พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
4. ส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาให้มีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ
5. ส่งเสริมและพัฒนาให้สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย
และใช้แหล่งการเรียนรู้อย่างคุ้มค่า
6. ส่งเสริมให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
7. ส่งเสริมการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น
8. จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป้ าหมาย /เป้ าประสงค์
1. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตรสถานศึกษา มีคุณธรรมนาความรู้และค่านิยมที่
พึงประสงค์
2. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจ
แก้ปัญหาได้
3. ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
4. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
5. สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง หลากหลายและใช้แหล่งการเรียนรู้
อย่างคุ้มค่า
6.ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
7. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
8. สถานศึกษามีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น
กลยุทธ์ระดับองค์กร
กลยุทธ์ : พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
กลยุทธ์ : พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
5
กลยุทธ์ : สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้
กลยุทธ์ : ส่งเสริมอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น
กลยุทธ์ : ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
3. อัตลักษณ์
งามอย่างไทย (ยิ้ม ไหว้ ทักทาย)
4. ตัวชี้วัดความสาเร็จ
1.ร้อยละของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เหมาะสมกับวัย/รุ่น
2.ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาที่จบการศึกษา/รุ่น
3.ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 สาระการเรียนรู้หลักเพิ่มขึ้น
4.ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประกวดแข่งขัน ความรู้ ความสามารถที่ได้รับรางวัลจาก
หน่วยงานนอกสถานศึกษาต่อปีการศึกษา
5. ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
6. ร้อยละของครูที่มีใบประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
7. ร้อยละของครูที่สอนตรงตามวิชาเอก โท หรือได้รับการอบรม
8. ร้อยละของครูที่ได้รับการนิเทศ อบรม ประชุม สัมมนาการปฏิรูปการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์การ
ประเมินใบประกอบวิชาชีพครูต่อปี
9. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครองที่มีต่อการให้บริการทาง
การศึกษาของสถานศึกษาในระดับดี
5. เป้ าหมายของความสาเร็จ
1. นักเรียนระดับปฐมวัยมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เหมาะสมกับวัย ร้อยละ 100 ต่อรุ่น
2. นักเรียนระดับประถมศึกษาที่จบการศึกษาร้อยละ 100/รุ่น
3.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 สาระการเรียนรู้หลักเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5
4. นักเรียนที่มีผลการประกวดแข่งขัน ความรู้ ความสามารถที่ได้รับรางวัลจากหน่วยงานนอก
สถานศึกษาร้อยละ 35 ต่อปีการศึกษา
5. นักเรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ร้อยละ 50
6. ครูมีใบประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ร้อยละ 100
7. ครูสอนตรงตามวิชาเอก โท หรือได้รับการอบรม ร้อยละ 90
8. ครูได้รับการนิเทศ อบรม ประชุม สัมมนาการปฏิรูปการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์การประเมินใบ
ประกอบวิชาชีพครู ร้อยละ 100 ต่อปี
9. ความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครองที่มีต่อการให้บริการทางการศึกษาของสถานศึกษาในระดับ
ดี ร้อยละ 80
เป้ าหมาย/เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ระดับองค์กร
1. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร 1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
6
สถานศึกษา มีคุณธรรมนาความรู้และค่า นิยมที่พึง
ประสงค์
2. ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รัก
เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และคิด
อย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์แก้ปัญหาได้
4. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนกา ร
เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
2. พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
5. ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
6. สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
อย่างหลากหลาย
7.สถานศึกษามีการใช้แหล่งเรียนรู้พัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนอย่างคุ้มค่า
8. ผู้มีส่วนเกี่ ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา
3. เสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
9. สถานศึกษามีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น 4. ส่งเสริมอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น
10.สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษาตาม
แนวทางปฏิรูปการศึกษา
5.พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
เป้ าหมาย/เป้ าประสงค์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ
1. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร
สถานศึกษามี
1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีระดับผลการเรียนผ่านเกณฑ์การ
ประเมินทุกรายวิชา
คุณธรรมนาความรู้และค่านิยมที่พึงประสงค์ 2.ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะกระบวนการในระดับดีขึ้นไป
3. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พีง
ประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
4. ร้อยละของผู้เรียนสามารถระบุอาชีพสุจริตในท้องถิ่นได้
2.ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รัก
เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
5. ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถใช้ Internet สืบค้นข้อมูลได้
6.ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถสืบค้นข้อมูลความรู้จากห้องสมุด
และแหล่งเรียนรู้อื่น
7.ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณภาพด้านรักการทางานในระดับดีขึ้น
ไป
3. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และคิด
อย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจแก้ปัญหาได้
8.ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินความสามารถด้าน
การคิดตามที่กาหนดในหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551
7
เป้ าหมาย/เป้ าประสงค์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ
9. ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์ขั้นต่าขึ้นไป
10. ร้อยละของผู้เรียนที่ร่วมปฏิบัติงานกับผู้อื่น
4. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการ
เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
11. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ได้รับการเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษาที่สามารถตรวจสอบได้
12. สถานศึกษามีงาน /โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณ ภาพ
ผู้เรียนโดยตรงอย่างน้อย 10 รายการ
5. ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 13. ร้อยละของครูที่มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ
14. ร้อยละของครูที่มีเครื่องมือวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
15. ร้อยละของครูที่มีรายงานการวิจัยในชั้นเรียนคนละ 2 เรื่อง /
ภาคเรียนหรือปีการศึกษา
6.สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
อย่างหลากหลาย
16.สถานศึกษาจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อมุ่งยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
17.ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับ ดี
ขึ้นไป
18.สถานศึกษามีข้อมูล หลักฐาน การร่วมกิจกรรมระหว่าง
โรงเรียนกับชุมชนอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง
7.สถานศึกษามีการใช้แหล่งเรียนรู้พัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนอย่างคุ้มค่า
19. สถานศึกษามีการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมจัดการเรียนรู้
อย่างน้อย 2 ครั้ง/ภาคเรียน
20. สถานศึกษามีการใช้แหล่งเรียนรู้อย่างน้อยภาคเรียนละ 2
ครั้ง/ระดับการศึกษา
8.ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา
21. สถานศึกษาจัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา อย่างน้อย
ภาคเรียนละ 2 ครั้ง
22.สถานศึกษามีการนาแสดงแผนภูมิโครงสร้างของ
สถานศึกษาอย่างชัดเจน
23. สถานศึกษามีคู่มือ การปฏิบัติงานของสถานศึกษาครบทุก
กลุ่มทุกงาน
24.สถานศึกษามีแผนพัฒนาการจัดการศึกษาที่มุ่งคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี
9. สถานศึกษามีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น 25. จานวน/ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม
26. จานวน/ร้อยละของผู้เรียนที่มีความร่าเริง แจ่มใส มีวินัย ตรง
8
เป้ าหมาย/เป้ าประสงค์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ
ต่อเวลา
27. จานวน/ร้อยละของครูที่มีความโอบอ้อมอารี
28.ผู้บริหารมีความเป็นประชาธิปไตย
29. กรรมการสถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษาเป็นผู้มี
วินัยและให้ความร่วมมือในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
10. สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตาม
แนวทางปฏิรูปการศึกษา
30.ร้อยละของผู้เรียนที่มีวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย ระดับดีขึ้น
ไปตามที่สถานศึกษากาหนด
การกาหนดชื่อโครงการ/กิจกรรม
กลยุทธ์ระดับองค์กร ชื่อโครงการ/กิจกรรม
1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียน 1.เร่งรัดพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
2.ส่งเสริมการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่าง
มีสติสมเหตุผล
3.พัฒนาทักษะของนักเรียนด้านการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการ
เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
4. เสริมสร้างและพัฒนาอนามัยส่วนบุคคลหนีพ้นสิ่งเสพติด
5.พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ที่พึงประสงค์
2. พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 6.ส่งเสริมและพัฒนาครูให้จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
7.วิจัยและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะสมกับการพัฒนานักเรียน
รายบุคคล
8.ส่งเสริมและพัฒนาตนเองด้านภาวะผู้นาทางวิชาการของฝ่ายบริหาร
9.เสริมสร้างความสัมพันธ์และความร่ว มมือในการให้บริการทางการศึกษา
ระหว่างสถานศึกษากับองค์กรอื่น
10.พัฒนาแหล่งเรียนรู้และสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้
11.พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
3.เสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 12.พัฒนาและใช้แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
4. ส่งเสริมอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้
โดดเด่น
13.คุณธรรมนาชีวิต ผลผลิตมีคุณภาพ
5.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา 14.ส่งเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา
9
กลยุทธ์ระดับ กลยุทธ์ระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐาน เป้าหมาย งบประมาณ
องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ
กลยุทธ์ที่ 1
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
1.โครงการเร่งรัดพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนทุกกลุ่มสาระการ
เรียนรู้
2.โครงการส่งเสริมการคิด
อย่ างเป็นระบบคิ ด
สร้างสรรค์คัดสินใ น
แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสม
เหตุผล
1.ร้อยละของนักเรียนที่มีระดับผลการ
เรียนในระดับดีแต่ละกลุ่มสาระ
2.ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการสอบ
รวบยอดระดับชาติเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่
กาหนด
1.ร้อยละของนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การ
ประเมินความสามารถ ด้านการคิด
ตามที่กาหนดในหลักสูตรแกนกลาง
พ.ศ. 2551
2.ร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถ
ในการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนใน
ระดับผ่านเกณฑ์ขั้นต่าขึ้นไป
มาตรฐานที่ 5
มาตรฐานที่ 4
1.ระดับดี
ร้อยละ 65
2.นักเรียนร้อยละ
48
1.นักเรียน
ร้อยละ 70
2.นักเรียน
ร้อยละ 70
1.ระดับร้อยละ
75
2.นักเรียนร้อยละ
50
1.นักเรียน
ร้อยละ 75
2.นักเรียน
ร้อยละ 75
1.ระดับดีร้อยละ
85
2.นักเรียนร้อยละ
55
1.นักเรียน
ร้อยละ 80
2.นักเรียน
ร้อยละ 85
35,000
กลุ่มบริหารงานวิชาการ
นางวิภาวรรณ
นางสุรีรัตน์
18,000
กลุ่มบริหารงานวิชาการ
นางวิภาวรรณ
โครงการ และกิจกรรมตามกลยุทธ์ระดับองค์กร พร้อมเป้ าหมายและงบประมาณ
กลยุทธระดับ กลยุทธระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐานเป้าหมาย งบประมาณ
องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ
กลยุทธที่ 1
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
3.โครงการพัฒนาทักษะ
ของนักเรียนด้านการ
แสวงหาความรู้ด้วย
ตนเอง รักการเรีย นรู้และ
พัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเนื่อง
1.ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถใช้
Internet สืบค้นข้อมูลได้
2. ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถสืบค้น
ข้อมูลความรู้จากห้องสมุดและแหล่ง
เรียนรู้อื่น
3. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณภาพด้านรัก
การทางานในระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ 3 1.ผู้เรียน
ร้อยละ 70
2.ผู้เรียน
ร้อยละ 75
3.ผู้เรียน
ร้อยละ70
1.ผู้เรียน
ร้อยละ 80
2.ผู้เรียน
ร้อยละ 80
3.ผู้เรียน
ร้อยละ75
1.ผู้เรียน
ร้อยละ 85
2.ผู้เรียน
ร้อยละ85
3.ผู้เรียน
ร้อยละ80
10,000
กลุ่มบริหารงานวิชาการ
นางสาวศิริลักษณ์
นางไพรหงษ์
กลยุทธระดับ กลยุทธระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐานเป้าหมาย งบประมาณ
43
องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ
กลยุทธที่ 1
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
4.โ ครงการพัฒนา
คุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านิยมที่พึงประสงค์
5.โครงการ
เสริมสร้างและพัฒนา
อนามัยส่วนบุคคลหนีพ้น
สิ่งเสพติด
1.ร้อยละของผู้เรียน มีคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด
2.ร้อยละของผู้เรียนตระหนัก , รู้คุณค่า
ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
3. ร้อยละของผู้เรียนที่เอื้ออาทรผู้อื่นและ
กตัญํูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
1.ร้อยละของนักเรียนที่มีน้าหนักส่วนสูงและ
สรรถนะตามเกณฑ์มาตรฐาน
2.ร้อยละของนักเรียนที่ดูแลตนเองไม่ประสบ
อุบัติเหตุ
3.ร้อยละของนักเรียนที่รู้จักป้องกันตนเอง
จากสิ่งเสพติด
4. ร้อยละของนัก เรียนที่กล้าแสดงออกใน
เรื่องที่ดีต่อสาธารณชน
5.ร้อยละของนักเรียนที่มีระดับความสัมพันธ์
ที่ดีกับครู เพื่อนและโรงเรียนในระดับดี
มาตรฐานที่ 2
มาตรฐานที่ 1
1.ผู้เรียน
ร้อยละ 75
2.ผู้เรียน ร้อยละ
75
3.ผู้เรียน
ร้อยละ 70
1.นักเรียน
ร้อยละ 92
2.นักเรียน ร้อย
ละ 97.
3.นักเรียน
ร้อยละ 100
4.นักเรียน
ร้อยละ 96
5.นักเรียน
ร้อยะ 90
1.ผู้เรียน ร้อยละ 80
2.ผู้เรียน
ร้อยละ 80
3.ผู้เรียน
ร้อยละ 75
1.นักเรียน
ร้อยละ 95
2.นักเรียน
ร้อยละ 100
3.นักเรียน ร้อยละ
100
4.นักเรียน
ร้อยละ 98
5.นักเรียน
ร้อยละ 95
1.ผู้เรียน
ร้อยละ 85
2.ผู้เรียน
ร้อยละ85
3.ผู้เรียน
ร้อยละ 80
1.นักเรียน
ร้อยละ 100
2.นักเรียน
ร้อยละ 100
3.นักเรียนร้อยละ
100
4.นักเรียน
ร้อยละ 100
5.นักเรียน
ร้อยละ 99
18,500
กลุ่มบริหารงานวิชาการ
นายวัตชัย
นายวิษณุ
22,500
กลุ่มบริหารทั่วไป
นายวัตชัย
นายนฤพล
44
กลยุทธ์ระดับ กลยุทธ์ระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐาน เป้าหมาย งบประมาณ
องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ
กลยุทธ์ที่ 2
พัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษา
6.โครงการส่งเส ริมและ
พัฒนาครูให้จัดการเรียน
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ
7.โครงการวิจัยและ
พัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาให้เหมาะสม
กับการพัฒนานักเรียน
รายบุคคล
1.ร้อยละของครูที่มีแผนการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
2.ร้อยละของครูที่มีเครื่องมือวัดและ
ประเมินผลตามสภาพจริง
3.ร้อยละของครูที่มีรายงานการวิจัยใน
ชั้นเรียนคนละ 2 เรื่อง/ภาคเรียน
1.ร้อยละของระดับความเหมาะสมของ
หลักสูตรกับผู้เรียนและท้องถิ่ นในระดับ
ดี
2.ร้อยละของนักเรียนที่พอใจต่อรายวิชา/
กิจกรรมที่สถานศึกษา ให้บริการใน
ระดับดี
3.ร้อยละของครูที่ทาแผนการเรียนรู้ที่
สอดคล้องกับนักเรียนรายบุคคลในระดับ
ดี
มาตรฐานที่ 7
มาตรฐานที่ 7
1.ครูร้อยละ
80
2.ครูร้อยละ
80
3.ครูร้อยละ
75
1.ระดับดี
ร้อยละ75
ของตัวชี้วัด
2.นักเรียน
ร้อยละ70
3.ครูร้อยละ
60
1.ครูร้อยละ
85
2.ครูร้อยละ
85
3.ครูร้อยละ
80
1.ะดับดี
ร้อยละ80
ของตัวชี้วัด
2.นักเรียน
ร้อยละ80
3.ครูร้อยละ
65
1.ครูร้อยละ
90
2.ครูร้อยละ
90
3.ครูร้อยละ
85
1.ระดับดี
ร้อยละ85
ของตัวชี้วัด
2.นักเรียน
ร้อยละ85
3.ครูร้อยละ
70
20,000
กลุ่มบริหารงานบุคคล
นางสุรีรัตน์
นางสาวศิริรัตน์
30,000
กลุ่มงานบริหารงานวิชาการ
นางสาวภัทราวณี
นางสาวอุ่นเรือน
45
กลยุทธระดับ กลยุทธระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐาน เป้าหมาย งบประมาณ
องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ
กลยุทธที่ 2
พัฒนาคุณ ภาพการจัด
การศึกษา
8.โครงการพัฒนาระบบ
ประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา
1.มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา
2.มีการจัดทาแผนพัฒนาการจัด
การศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
3.มีการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
4.มีการดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา
5.มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษา
6.มีการประเมินคุณภาพภายในตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
7.มีการนาผลการประเมินคุณภาพไปใช้
วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานที่ 12 -มีการกาหนดมาตรฐาน
การศึกษาอยู่
ในระดับดี
-มีการจัดทาแผนพัฒนา
การจัดการศึก ษาที่มุ่ง
คุณภาพ
-มีการจัดระบบ
บริหารและ
สารสนเทศ
-มีการดาเนินการ
ตามแผน
-มีการติดตามตรวจสอบ
-มีการประเมินคุณภาพ
-มีการนาผล
การประเมินคุณภาพไปใช้
วางแผน
-มีการกาหนดมาตรฐาน
การศึกษาอยู่
ในระดับดี
-มีการจัดทาแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาที่มุ่ง
คุณภาพ
-มีการจัดระบบ
บริหาร และ
สารสนเทศ
-มีการดาเนินการ
ตามแผน
-มีการติดตามตรวจสอบ
-มีการประเมินคุณภาพ
-มีการนาผล
การประเมินคุณภาพไป
ใช้วางแผน
-มีการกาหนดมาตรฐาน
การศึกษาอยู่
ในระดับดี
-มีการจัดทาแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาที่มุ่ง
คุณภาพ
-มีการจัดระบบ
บริหารและ
สารสนเทศ
-มีการดาเนินการ
ตามแผน
-มีการติดตามตรวจสอบ
-มีการประเมินคุณภาพ
-มีการนาผล
การประเมินคุณภาพไป
ใช้วางแผน
20,000
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
นายนฤพล
นายพพีระศักดิ์
กลยุทธระดับ กลยุทธระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐาน เป้าหมาย งบประมาณ
องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ
46
กลยุทธที่ 2
พัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษา
9.โครงการ พัฒนาระบบ
บริหารสถานศึกษาโดย
ใช้โรงเรียนเป็นฐาน
1.ร้อยละความพึงพอใจในการมีอานาจ
การตัดสินใจของครูในระดับดี
2. ร้อยละความพึงพอใจในการบริหาร
เชิงกลยุทธ์และการมีส่วนร่วมในระดับดี
3. ร้อยละของคณะกรรมการนักเรียนที่มี
ส่วนร่วมพัฒนาโรงเรียน
4. ร้อยละความพึงพอใจในรูปแบบการ
บริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ในระดับดี
5. ร้อยละความพึงพอใจในการ
ตรวจสอบและถ่งดุล
มาตรฐานที่ 8 1. ความพึงพอใจใน
การมีอานาจการ
ตัดสินใจของครูใน
ระดับดี
ร้อยละ 85
2.ความพึงพอใจใน
การบริหารเชิงกลยุทธ์
และการมีส่วนร่วม
ในระดับดี ร้อยละ
85
3.คณะกรรม
การนักเรียนที่มีส่วน
ร่วมพัฒนาโรงเรียน
ร้อยละ90
4.ความพึงพอใจใน
รูปแบบการบริหาร
แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน
ระดับดีร้อยละ90
5.ความพึงพอใจใน
การตรวจสอบและ
ถ่วงดุลร้อยละ90
1.ความพึงพอใจในการ
มีอานาจการตัดสินใจ
ของ
ครูในระดับดีร้อยละ 90
2.ความพึงพอใจในการ
บริหารเชิงกลยุทธ์และ
การ
มีส่วนร่วมในระดับดี
ร้อยละ8
95
3.คณะกรรม
การนักเรียนที่มี
ส่วนร่วมพัฒนา
โรงเรียน ร้อยละ95
4.ความพึงพอใจใน
รูปแบบการบริหาร
แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
ในระดับดีร้อยละ95
5.ความพึงพอใจใน
การตรวจสอบและ
ถ่วงดุลร้อยละ95
1.ความพึงพอใจในการ
มีอานาจการตัดสินใจ
ของครูในระดับดีร้อยละ
95
2.ความพึงพอใจในการ
บริหารเชิงกลยุทธ์และ
การ
มีส่วนร่วมในระดับดี
ร้อยละ100
3.คณะกรรม
การนักเรียนที่มี
ส่วนร่วมพัฒนา
โรงเรียน ร้อยละ100
4.ความพึงพอใจใน
รูปแบบการบริหาร
แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
ในระดับดีร้อยละ
100
5.ความพึง พอใจในการ
ตรวจสอบ
และถ่วงดุล ร้อยละ
100
12,000
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
นายบาเหน็จ
นางวิภาวรรณ
นางสึรีย์รัตน์
47
กลยุทธระดับ กลยุทธระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐาน เป้าหมาย งบประมาณ
องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ
กลยุทธที่ 3
เสริมสร้างสังคม
แห่งการเรียนรู้
10.โครงการพัฒนาและ
ใช้แหล่งเรียนรู้ ภูมิ
ปัญญาในท้องถิ่น
1.ระดับคุณภาพของข้อมูลที่เชื่อมโยง
ระหว่างสถานศึกษากับแหล่งเรียนรู้และ
ภูมิปัญญาในท้องถิ่นในระดับดี
2.ร้อยละของแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาและ
ชุมชนที่เข้ามาร่วมจัดการศึกษา
3.ร้อยละแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา
ที่พร้อมใช้
4.ร้อยละของผู้เรียนที่ได้ใช้แหล่งเรียนรู้
ภายในและภายนอกสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 13 1.ข้อมูลเชื่อม
โยงระหว่าง
สถานศึกษา
กับแหล่งเรียนรู้
และภูมิปัญญาอยู่ใน
ระดับดีร้อยละ80
2.ภูมิปัญญา ชุมชน เข้า
มาร่วมจัดการศึกษา
ร้อยละ 50
3.แหล่งเรียนรู้ภายใน
พร้อม
ใช้ร้อยละ 85
4.ผู้เรียนได้ใช้
แหล่งการ
เรียนรู้ภายในและภาย
นอกร้อยละ80
1.ข้อมูลเชื่อม
โยงระหว่าง
สถานศึกษากับแหล่ง
เรียนรู้และภูมิปัญญา
อยู่ในระดับดีร้อยละ
85
2ภูมิปัญญา ชุมชน
เข้ามาร่วมจัด
การศึกษา
ร้อยละ 60
3.แหล่งเรียนรู้ ภายใน
พร้อม
ใช้ร้อยละ90
4.ผู้เรียนได้ใช้
แหล่งการเรียนรู้
ภายในและภายนอก
ร้อยละ90
1.ข้อมูลเชื่อม
โยงระหว่าง
สถานศึกษากับแหล่ง
เรียนรู้และภูมิปัญญา
อยู่ในระดับดีร้อยละ
90
2.ภูมิปัญญา ชุมชน
เข้ามาร่วมจัด
การศึกษา
ร้อยละ 70
3.แหล่งเรียนรู้ภายใน
พร้อม ใช้ร้อยละ95
4.ผู้เรียนได้ใช้แหล่ง
การเรียนรู้ภายในและ
ภายนอก
ร้อยละ100
50,000
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
นายเอกชัย
นายพีระศักดิ์
48
กลยุทธระดับ กลยุทธระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐาน เป้าหมาย งบประมาณ
องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ
กลยุทธที่ 5
ส่งเสริมอัตลักษณ์
ของสถานศึกษาให้
โดดเด่น
11.โครงการคุณธรรมนา
ชีวิตผลผลิตมีคุณภาพ
1.ร้อยละของผู้เรียนมีวินัย มีความ
รับผิดชอบและปฏิบัติตนตามหลักธรรม
เบื้องต้นของศาสนาที่ตนนับถือ ผ่าน
เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
2.ร้อยละของผู้เรียนมีความซื่อสัตย์สุจริต
ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
3.ร้อยละของผู้เรียนที่มีความกตัญํู
กตเวทีผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
4.ร้อยละของผู้เรียนมีความเมตตา กรุณา
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละเพื่อส่วนรวมผ่าน
เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
5.ร้อยละของผู้เรียนที่ประหยัด รู้จักใช้
ทรัพย์สิ่งของส่วนตนและส่วนรวม อย่าง
คุ้มค่าผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
มาตรฐานที่ 14 1.ผู้เรียน
ร้อยละ70ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
2.ผู้เรียน
ร้อยละ70ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
3.ผู้เรียน
ร้อยละ85ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
4.ผู้เรียน
ร้อยละ80ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
5.ผู้เรียน
ร้อยละ70ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
1.ผู้เรียน
ร้อยละ80ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
2.ผู้เรียน
ร้อยละ85ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
3.ผู้เรียน
ร้อยละ 90ผ่านเกณฑ์
ที่สถานศึกษากาหนด
4.ผู้เรียน
ร้อยละ85ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
5.ผู้เรียน
ร้อยละ80ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
1. .ผู้เรียน
ร้อยละ85ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
2.ผู้เรียน
ร้อยละ90ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
3.ผู้เรียน
ร้อยละ95ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
4.ผู้เรียน
ร้อยละ90ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
5.ผู้เรียน
ร้อยละ90ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
30,000
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
นางวิภาวรรณ
นางสาวภัทราวณี
นายพีระศักดิ์
นายนฤพล
49
กลยุทธระดับ กลยุทธระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐานเป้าหมาย งบประมาณ
องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ
กลยุทธที่ 5
ส่งเสริมและพัฒนา
คุณภาพสถานศึกษา
12.โครงการ
ส่ง เสริม
ประชาธิปไตยใน
สถานศึกษา
1.ร้อยละของผู้เรียนที่มีนิสัยของความ
เป็นผู้นา ผู้ตามที่ดีเป็นที่ยอมรับของ
สมาชิกในกลุ่ม
2. ร้อยละของผู้เรียนที่เป็นสมาชิกที่ดี
ของกลุ่มสามารถประพฤติ ปฏิบัติตาม
ระบบ ระเบียบของกลุ่มได้ดี มีสานึก
รับผิดชอบ กล้าแสดงออกตามวิถีทาง
ประชาธิปไตย
3.ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับ
การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
4.ร้อยละของผู้เรียนได้เรียนรู้ วิธีการ
ขั้นตอน การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
มาตรฐาน
ที่ 14
1.ผู้เรียนที่มีนิสัยของความเป็น
ผู้นา ผู้ตามที่ดีเป็นที่ยอมรับของ
สมาชิกในกลุ่มร้อยละ 70
2.ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
สามารถประพฤติ ปฏิบัติตาม
ระบบ ระเบียบของกลุ่มได้ดีมี
สานึกรับผิดชอบ กล้าแสดงออก
ตามวิถีทางประชาธิปไตยร้อยละ
75
3.ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตย
โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ร้อยละ 90
4.ผู้เรียนได้เรียนรู้ วิธีการ ขั้นตอน
การไปใช้สิทธิเลือกตั้งร้อยละ 95
1.ผู้เรียนที่มีนิสัยของความเป็นผู้นา
ผู้ตามที่ดีเป็นที่ยอมรับของสมาชิก
ในกลุ่มร้อยละ 80
2.ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
สามารถประพฤติ ปฏิบัติตาม
ระบบ ระเบียบของกลุ่มได้ดีมี
สานึกรับผิดชอบ กล้ าแสดงออก
ตามวิถีทางประชาธิปไตย
ร้อยละ 80
3.ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตย
โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ร้อยละ 95
4.ผู้เรียนได้เรียนรู้ วิธีการ ขั้นตอน การ
ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
ร้อยละ100
1.ผู้เรียนที่มีนิสัยของความเป็น
ผู้นา ผู้ตามที่ดีเป็ นที่ยอมรับของ
สมาชิกในกลุ่ม ร้อยละ 90
2.ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของ
กลุ่มสามารถประพฤติ ปฏิบัติ
ตามระบบ ระเบียบของกลุ่มได้
ดีมีสานึกรับผิดชอบ กล้า
แสดงออกตามวิถีทาง
ประชาธิปไตย
ร้อยละ 85
3.ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการ
ปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยโดยมี
พระมหากษัตริย์ เป็นประมุข
ร้อยละ 100
4.ผู้เรียนได้เรียนรู้ วิธีการ ขั้นตอน
การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
ร้อยละ100
20,000
กลุ่มบริหารงาน
ทั่วไป
นายนฤพล
นายพีระศักดิ์
42
3 งบประมาณของสถานศึกษา งบประมาณของโรงเรียนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 จาแนกได้ดังนี้
1. รายรับ
หมายเหตุ ใช้ตัวเลข นักเรียน ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2555
ที่ รายการรายรับ จานวน (คน) งบประมาณ(บาท) หมายเหตุ
1. เงินอุดหนุนรายบุคคล
1.1 ชั้นอนุบาล 1 26 186,990.96
1.2 ชั้นอนุบาล 2 55 395,557.80
1.3 ชั้นอนุบาล 3 62 445,901.52
1.4 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 56 412,272
1.5 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 36 265,032
1.6 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 36 265,032
1.7 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 31 228,222
1.8 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 26 191,412
1.9 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 38 279,756
รวมเงินอุดหนุนรายบุคคล (1)
2. เงินอุดหนุนอื่น ๆ
2.1 ค่าหนังสือเรียน 366 175,887
2.2 ค่าเครื่องแบบนักเรียน 366 123,180
2.3 ค่าอุปกรณ์การเรียน 366 57,785
2.4 ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 366 84,265
2.5 ค่าอาหารเสริม (นม) 366 311,220
2.6 ค่าอาหารกลางวัน 366 457,600
รวมเงินอุดหนุนอื่น ๆ (2)
3. ค่าธรรมเนียม
3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษา 366 3906,396
3.2 ค่าธรรมเนียมอื่น
- ค่าตรวจสุขภาพนักเรียน - -
- ค่าประกันของเสียหาย - -
- ค่าตรวจสารเสพติด - -
- ค่าประกันอุบัติเหตุ 366
รวมเงินค่าธรรมเนียม (3)
4. เงินบริจาค
4.1 เงินบริจาคเพื่อการศึกษา - -
4.2 เงินบริจาคโครงการ - -
รวมรายได้จากเงินบริจาค (4)
รวมทั้งสิ้น (ข้อ 1+2+3+4) 7789509.28
43
2. รายจ่าย
ที่ รายการรายจ่าย
จานวน
(คน)
งบประมาณ
(บาท) หมายเหตุ
1 ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร
1.1 เงินเดือนครู 13 1,935,480.71
1.2 เงินเดือนบุคลากรทางการศึกษา 3 204,000
1.3 เงินเดือนบุคลากรอื่น / ค่าจ้าง 3 132,000
1.4 เงินสมทบกองทุนสงเคราะห์ 13 63,913.63
ฯลฯ
รวมค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร (1) 2,335,393.63
2 ค่าใช้จ่ายอื่น 82,458
2.1 ค่าวัสดุสานักงาน 78,563.28
2.2 ค่าสาธารณูปโภค 84,034.27
ฯลฯ
รวมค่าใช้จ่ายอื่น (2) 245,055.27
รวมทั้งสิ้น (ข้อ 1+2) 2,580,448.90
หมายเหตุ : กรณีรายรับและรายจ่ายที่ไม่สามารถระบุจานวนคนได้ไม่ต้องระบุ
44
3. รายงานงบดุล ปีการศึกษา 2554
โรงเรียนมะนะศึกษา
งบดุล
ณ วันที่ 30 เมษายน 2555
(หน่วย : บาท)
สินทรัพย์
สินทรัพย์หมุนเวียน
เงินสด 167,012.88
เงินฝากธนาคาร 72,642.52
ลูกหนี้/เงินยืมทดรอง 900,000
ตาราเรียนและวัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา -
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น -
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 1,144,655.40
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
ที่ดินและส่วนปรับปรุงที่ดิน 2,608,887.10
อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร (สุทธิ) -
สิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ (สุทธิ) -
งานระหว่างก่อสร้าง -
ยานพาหนะ (สุทธิ) 16,278.47
ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ (สุทธิ) -
เฟอร์นิเจอร์และเครื่องตกแต่ง (สุทธิ) -
ตาราห้องสมุด (สุทธิ) 45000
สินทรัพย์อื่น -
รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 2,625,190
รวมสินทรัพย์ 3,769,845.40
45
หนี้สินและส่วนของทุน
หนี้สินหมุนเวียน
เจ้าหนี้/ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย -
เจ้าหนี้เงินประกัน/เงินมัดจา -
รายได้รับล่วงหน้า -
เงินอุดหนุนรับล่วงหน้า -
เจ้าหนี้อื่น ๆ -
รวมหนี้สินหมุนเวียน -
หนี้สินไม่หมุนเวียน
เจ้าหนี้เงินประกัน/เงินมัดจา -
เงินกู้ระยะสั้น -
เงินกู้ระยะยาว 1,324,455.67
รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 1,324,455.67
ส่วนของทุน
ทุนประเดิม 1,000,000
ทุนสะสม 1,445,390.30
รวมส่วนของทุน 2,445,390.30
รวมหนี้สินและส่วนของทุน 376,984,5.97
หมายเหตุ : ใช้วันที่ตั้งแต่เปิดภาคเรียน ถึง ปิดภาคเรียน ปีการศึกษา 2554
46
ส่วนที่ 4
การบริหารงานของโรงเรียน
1. แผนงาน / โครงการ / งบประมาณ ดาเนินการในปี 2555
1.1 การบริหารงานวิชาการ
กลยุทธ์ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
โครงการ สุขนิสัยดี จิตสดใส ร่างกายแข็งแรง
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
สนองกลยุทธ์โรงเรียน กลยุทธ์ที่ 1
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 – 1.5
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. ผู้อานวยการโรงเรียน 2. นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ และคณะ
กลุ่มที่รับผิดชอบ กลุ่มวิชาการ
ระยะเวลา พฤษภาคม 2555 – มีนาคม 2556
******************************************************************************
1. หลักการและเหตุผล
จากการประเมินคุณภาพภายนอกข องสานักรับรองมาตรฐานและประ เมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มาตรฐานที่ 1
ผู้เรียนมีสุขภาพ กายและสุขภาพจิตที่ดี ของโรงเรียน พบว่า ผู้เรียนยังขาดความตระหนักในเรื่องของการออกกาลังกาย ที่
เหมาะสม ขาดความเอาใจใส่ดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง รวมทั้งขาดความรู้ในเรื่องพิษภัยของ ยาเสพติดซึ่งเป็นภัยใกล้ตัว
ซึ่งหากปล่อยทิ้งไว้ไม่เร่งแก้ไขนักเรียนจะมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่อ่อนแอ ขาดทักษะในการหลีกเลี่ยงภาวะเสียงในเรื่อง
สิ่งเสพติด โรคภัย อุบัติเหตุและปัญหาทางเพศ ตลอดจนการขาดความมั่นใจในการแสดงออก อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์
โรงเรียนจึงได้จัดให้มีโครงการสุขนิสัยดี จิตสดใส ร่างกายแข็งแรงขึ้นเพื่อปลูกฝังและพัฒนาผู้เรียนให้มีสุขนิสัย สุขภาพกาย
สุขภาพจิตที่ดี
2.วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกายสม่าเสมอ
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน
3. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักการป้องกันตนเองให้พ้นจากสิ่งเสพติดให้โทษ และหลีกเลี่ยงตนเอง
จากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรค อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ
4. ให้ผู้เรียนมีความมั่นใจ กล้าแสดงออก
5. เพื่อให้ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น
47
3. เป้ าหมาย
1. นักเรียนร้อยละ 80 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกายสม่าเสมอ
2. นักเรียนร้อยละ 80 มีน้าหนัก ส่วนสูงและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
3. นักเรียนร้อยละ 80 รู้จักป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยง
ต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ ปัญหาทางเพศ โทษและประโยชน์จากการใช้
อินเตอร์เน็ต เกมคอมพิวเตอร์ ตลอดจนอบายมุขต่างๆ
4. นักเรียนร้อยละ 80 มีความมั่นใจกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้เกียรติผู้อื่น
5. นักเรียนร้อยละ 80 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น
6. ผู้เกี่ยวข้องร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในการดาเนินงานตามโครงการของโรงเรียน
4. วิธีดาเนินงาน
กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
1.จัดทาโครงการเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหารโรงเรียน ต.ค.52 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ
2.จัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานตามโครงการ ต.ค.52 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ
3.ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดาเนินงาน ต.ค. 52 ผอ.ร.ร.มะนะศึกษา/คณะ
4. จัดกิจกรรมผู้เรียน ดังนี้
1. การดูแลสุขภาพ สุขนิสัยและออกกาลังกายสม่าเสมอ ได้แก่
- นักเรียนออกกาลังกายทุกวันอย่างน้อยวันละ 30 นาที เช่น
เต้นแอโรบิค, ออกกาลังกายตอนเช้าหน้าเสาธง ฯลฯ
- นักเรียนแปรงฟัน ตอนเช้า กลางวันและก่อนนอน
- ตรวจร่างกาย(ผม ฟัน เล็บ การแต่งกาย) สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
- จัดกิจกรรมรณรงค์การเผยแพร่เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
- ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติ 10
ประการและจัดอบรมนักเรียนในเรื่องสุขภาพ
- จัดซื้อยาและวัสดุอุปกรณ์เพื่อบริการนักเรียน
- กิจกรรม อย.น้อย
พ.ย.52-ก.ย.53
นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ
คณะครูทุกคน
48
กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
2. การชั่งน้าหนักวัดส่วนสูง และทดสอบสมรรถภาพทางกาย ได้แก่
- ทุกชั้นเรียนชั่งน้าหนักวัดส่วนสูงเดือนละ 1 ครั้ง
- ทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกชั้นภาคเรียนละ 1 ครั้ง
- เชิญแพทย์มาตรวจสุขภาพนักเรียน การทดสอบ
เกี่ยวกับ การเห็น การได้ยิน และรายงานผลการตรวจร่างกาย ปีละ 1 ครั้ง
3. การจัดกิจกรรมการรู้จักป้องกันตนเอง จากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงจาก
สภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ ปัญหาทางเพศ โทษและประโยชน์
จากการใช้อินเตอร์เน็ต เกมคอมพิวเตอร์ ตลอดจนอบายมุขต่างๆ ได้แก่
- เชิญวิทยากรมาให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของสิ่งเสพติดและสิ่งมอมเมา
- เชิญวิทยากรมาให้ความรู้ จัดกิจกรรมฝึกทักษะ การปฏิเสธและชักชวนไม่ให้
เพื่อนเสพยาเสพติด
- จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนรู้จักประโยชน์และโทษของการใช้อินเตอร์เน็ต และเกม
คอมพิวเตอร์โดยการศึกษาค้นคว้า การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ความรู้
- เชิญวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้เรื่องความปลอดภัยและการปฏิบัติตน
อย่างถูกต้อง
- การระมัดระวังตนในการใช้ชีวิตประจาวันการรู้จักรักนวลสงวนตัว การป้องกัน
ทรัพย์สินของตนเองและส่วนรวม
- กิจกรรมโรงเรียนสีขาว
- ร่วมเดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดกับหน่วยงานอื่น
พ.ย.52-ก.ย.53
พ.ย.52-ก.ย.53
พ.ย.52-ก.ย.53
นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ
ครูผู้สอนทุกชั้น
นายพีระศักดิ์ กิสูงเนิน
คณะครูผู้สอนทุกชั้น
4. การสร้างความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้เกียรติผู้อื่น ได้แก่
- จัดกิจกรรมประกวดมารยาทงามน้าใจดี วจีไพเราะ
- จัดเวที “ คนกล้า”
พ.ย.52-ก.ย.53 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ
5. การมีจิตใจร่าเริงแจ่มใสและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครูและผู้อื่น ได้แก่
- จัดกิจกรรมชุมนุมพัฒนาบุคลิกภาพ
- จัดกิจกรรมชุมนุมส่งเสริมเอกลักษณ์ไทย
- จัดกิจกรรมนันทนาการ เช่น ร้องเพลงคาราโอเกะ
พ.ย.52-ก.ย.53 นายพีระศักดิ์ กิสูงเนิน
นายวิษณุ เถียนหนู
5.จัดทาแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ก.ย.53 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ
6. ประเมินความพึงพอใจผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ก.ย.53 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ
7. ประเมินผลการดาเนินงานโครงการแต่ละกิจกรรม ก.ย.53 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ
8.สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ก.ย.53 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ
9.สรุปผลการดาเนินงานโครงการและรายงานผู้บริหารโรงเรียน ก.ย.53 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ
49
5.งบประมาณ จานวน 7,000 บาท เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้
1. ค่าใช้สอย ไม่มี
2. ค่าวัสดุ เป็นเงิน 7,000 บาท
3. ค่าตอบแทน -ไม่มี-
6.การติดตามและประเมินผล
ตัวชี้วัดความสาเร็จ วิธีประเมิน
เครื่องมือที่ใช้ในการ
ประเมิน
1. ร้อยละของนักเรียนมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกายสม่าเสมอ สังเกตพฤติกรรม
นักเรียน
แบบสังเกต
2.ร้อยละ ของนักเรียน มีน้าหนัก ส่วนสูงและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ 1 ชั่งน้าหนักและ
วัดส่วนสูง
2.การทดสอบ
สมรรถภาพ
1. แบบบันทึก น้าหนัก
ส่วนสูง
2. แบบบันทึกการ
ทดสอบสมรรถภาพ
สารวจนักเรียน
กลุ่มปกติ/กลุ่ม
เสี่ยง/กลุ่มมีปัญหา
แบบสารวจ
4. ร้อยละของนักเรียนมีความมั่นใจกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้เกียรติผู้อื่น สารวจนักเรียนที่
เข้าร่วมกิจกรรม
แบบสารวจ
5. ร้อยละของนักเรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น สารวจนักเรียนที่
เข้าร่วมกิจกรรม
นันทนาการ
แบบสารวจ
6. ร้อยละของ ผู้เกี่ยวข้อง มีความพึงพอใจในการดาเนินงานตามโครงการของ
โรงเรียน
สอบถามความพึง
พอใจของ
ผู้เกี่ยวข้อง
แบบสอบถามความพึง
พอใจของผู้เกี่ยวข้อง
7.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตดี และมีความสุขในการดารงชีวิต
50
กลยุทธ์ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
โครงการ ส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
สนองกลยุทธ์โรงเรียน กลยุทธ์ที่ 1
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 – 2.4
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.ผู้อานวยการโรงเรียนมะนะศึกษา 2. นายวัตชัย ฝึกดอนวัง
กลุ่มที่รับผิดชอบ กลุ่มวิชาการ
******************************************************************************
1. หลักการและเหตุผล
จากการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาปีที่ผ่านมา พบว่านักเรียนโรงเรียนมะนะศึกษา มีคุณธรรม
จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์อยู่ในระดับที่ไม่น่าพึงพอใจ สาเหตุเนื่องมาจาก มีสื่อและเทคโนโลยี เข้ามาเผยแพร่และมีอิทธิพลใน
ชีวิตประจาวันของนักเรี ยนครูขาดความใฝ่ใจ ที่จะปลูกฝังคุณธรรมให้กับนักเรียน รวมทั้งขาดความร่วมมือกันระหว่างบ้าน โรงเรียน
และชุมชน ในการปลูกฝังคุณธรรมอย่างต่อเนื่อง ถ้าไม่รีบแก้ไขนักเรียนอาจสร้างปัญหาให้ครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและสังคมได้แนว
ทางการแก้ไขปัญหา ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุ กฝ่ายในการร่วมกันจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านวินัย ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์
สุจริต ความกตัญํูกตเวที ความเมตตากรุณา ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความเสียสละเพื่อส่วนรวม การใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า
รวมทั้งมีความภูมิใจในความเป็นไทย ให้แก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนปฏิบัติตนจนเป็นกิจนิสัยในชีวิตประจาวัน
2.วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร
2. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้แสดงออกถึงความเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวที
3. เพื่อให้ผู้เรียนยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
4. เพื่อให้ผู้เรียนตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
3. เป้ าหมาย
1. ผู้เรียนร้อยละ 85 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร
2. ผู้เรียนร้อยละ 85 แสดงออกถึงความเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญํูกตเวที
3. ผู้เรียนร้อยละ 85 ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
4. ผู้เรียนร้อยละ 85 ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
5. ผู้เกี่ยวข้องร้อยละ 85 มีความพึงพอใจในการดาเนินงานตามโครงการของโรงเรียน
4. วิธีดาเนินงาน
กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
1.จัดทาโครงการเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหารโรงเรียน ต.ค.52 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง
2.จัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานตามโครงการ ต.ค.52 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง
3.ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดาเนินงาน ต.ค. 52 ผอ.ร.ร./ นายวัตชัย
51
4. จัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่
พึงประสงค์ ดังนี้
4.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ธ.ค. 52 คณะครูทุกคน
4.1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ และอธิบายความหมาย
ของเพลงชาติได้ถูกต้อง
4.1.2 เข้าร่วมส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี
ปรองดองที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนชุมชนและสังคม
4.1.3 เข้าร่วมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบัน
พระมหากษัตริย์
4.1.4 แสดงความสานึกในพระมหากรุณาธิคุณของ
พระมหากษัตริย์
4.1.5 แสดงออกซึ่งความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
พ.ย. 52 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง
4.2 ความซื่อสัตย์สุจริต พ.ย. 52 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง
4.2.1 ฝึกผู้เรียนให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริงไม่โกหก
4.2.2 ปฏิบัติตนโดยคานึงถึงความถูกต้องละอายและเกรงกลัวต่อ
การกระทาผิด
4.2.3 ปฏิบัติตนตามคามั่นสัญญา
พ.ย. 52 – ก.ย. 53 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง
กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
4.2.4 ไม่นาสิ่งของหรือผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
4.2.5 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง
4.2.6 ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้อง
ต.ค. 52 – ก.ย. 53
4.3 มีวินัย ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายเอกชัย พูนแก้ว
4.3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของ
โรงเรียน และสังคมไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
4.3.2 ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
ในชีวิตประจาวันและรับผิดชอบในการทางาน
4.3.3 ฝึกระเบียบวินัยในการกิน อยู่ดู ฟัง เป็น
นายเอกชัย พูนแก้ว
4.4 ใฝ่ รู้ ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง
4.4.1 ตั้งใจเรียน
4.4.2 เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้
4.4.3 สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ
4.4.4 ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ
ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง
52
เทคโนโลยีต่างๆแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในภายนอกโรงเรียนและ
เลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม
4.4.5 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ข้อมูลจากสิ่ง ที่เรียนรู้สรุปเป็นองค์
ความรู้
4.5 อยู่อย่างพอเพียง ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง
4.5.1 ดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบและมี
คุณธรรม
4.5.2 มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสุข
4.5.3 ไม่เอาเปรียบผู้อื่นและไม่ทาให้ผู้อื่นเดือดร้อนพร้อมให้อภัย
เมื่อผู้อื่นกระทาผิดพลาด
มิ.ย.ส.ค.,ธ.ค. นายวัตชัย ฝึกดอนวัง
กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
4.6 มุ่งมั่นในการทางาน ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายเอกชัย พูนแก้ว
4.6.1 เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4.6.2 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทางานให้สาเร็จ
4.6.3 ปรับปรุงและพัฒนาการทางานด้วยตนเอง
4.6.4 ทุ่มเททางาน อดทนไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทางาน
4.6.5 แก้ปัญหาและอุปสรรคในการทางานให้สาเร็จ
4.6.6 ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายเอกชัย พูนแก้ว
4.7 รักความเป็นไทย ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายนฤพล พงษ์สุภา
4.7.1 แต่งกายและมีมารยาทงดงามแบบไทย
มีสัมมาคารวะ กตัญํูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
4.7.2 ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย
4.7.3 ชักชวน แนะนาให้ผู้อื่นปฏิ บัติตามขนบธรรมเนียมประเพณี
ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย
ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง
4.8 มีจิตสาธารณะ นายเอกชัย พูนแก้ว
4.8.1 ช่วยพ่อแม่ผู้ปกครองและครูทางานด้วยความเต็มใจ
4.8.2 อาสาทางานให้ผู้อื่นด้วยกาลังกาย กาลังใจและกาลังสติปัญญาด้วย
ความสมัครใจ
4.8.3 แบ่งปันสิ่งของทรัพย์สินและอื่นๆและช่วยแก้ปัญหาหรือสร้าง
ความสุขให้กับผู้อื่น
5. กิจกรรมด้านการส่งเสริมคุณธรรม ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
Nattapon
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
Kittisak Amthow
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
Montree Jareeyanuwat
 
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
Worrachet Boonyong
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
kitsada
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
Jiraporn
 

Was ist angesagt? (20)

ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
เอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาเอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณา
 
บทที่ 2++77
บทที่  2++77บทที่  2++77
บทที่ 2++77
 
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนสรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
 
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอแบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
 
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
 
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิดก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
 
คุรุสดุดี
คุรุสดุดี คุรุสดุดี
คุรุสดุดี
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 

Andere mochten auch

เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยเครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
Rachunt Boonlha
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
Pochchara Tiamwong
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
soawaphat
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
Montree Jareeyanuwat
 
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
yuiops
 
สรุปแบบสอบถามค่ายอนุชน Copy
สรุปแบบสอบถามค่ายอนุชน   Copyสรุปแบบสอบถามค่ายอนุชน   Copy
สรุปแบบสอบถามค่ายอนุชน Copy
Somchart Phaeumnart
 
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
คนสังคม สังคมคน
 

Andere mochten auch (20)

เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยเครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
 
Submission
SubmissionSubmission
Submission
 
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
 
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยนโครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
สรุปแบบสอบถามค่ายอนุชน Copy
สรุปแบบสอบถามค่ายอนุชน   Copyสรุปแบบสอบถามค่ายอนุชน   Copy
สรุปแบบสอบถามค่ายอนุชน Copy
 
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIM
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIMDataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIM
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIM
 
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
ระบบประกันภายใน
ระบบประกันภายในระบบประกันภายใน
ระบบประกันภายใน
 
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายในเครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
 

Ähnlich wie แผนปฏิบัติการประจำปี

คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
Montree Jareeyanuwat
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
rampasri
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
Esarnee
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
Esarnee
 
พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1
Esarnee
 
หลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษา
Assaneeongsara
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
sasiton sangangam
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
mariamsamadeng
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
mariamsamadeng
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
kruklai98
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
kruklai98
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
supanyasaengpet
 
วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2
warut phungsombut
 

Ähnlich wie แผนปฏิบัติการประจำปี (20)

คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
จุดเน้นที่ 2
จุดเน้นที่  2จุดเน้นที่  2
จุดเน้นที่ 2
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1
 
หลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษา
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 

Mehr von Mana Suksa (16)

อนุบาล2
อนุบาล2อนุบาล2
อนุบาล2
 
อนุบาล1
อนุบาล1อนุบาล1
อนุบาล1
 
ป6
ป6ป6
ป6
 
ป5
ป5ป5
ป5
 
ป4
ป4ป4
ป4
 
ป3
ป3ป3
ป3
 
ป2 2
ป2 2ป2 2
ป2 2
 
ป2 1
ป2 1ป2 1
ป2 1
 
ป1 2
ป1 2ป1 2
ป1 2
 
ป1 1
ป1 1ป1 1
ป1 1
 
อนุบาล3
อนุบาล3อนุบาล3
อนุบาล3
 
Catalogue fla 29
Catalogue fla 29Catalogue fla 29
Catalogue fla 29
 
Catalogue fla24 old 2.2013
Catalogue  fla24  old 2.2013Catalogue  fla24  old 2.2013
Catalogue fla24 old 2.2013
 
Catalogue mon 20 ce28 nf2010+ele 21 mao1775
Catalogue mon 20 ce28 nf2010+ele 21 mao1775Catalogue mon 20 ce28 nf2010+ele 21 mao1775
Catalogue mon 20 ce28 nf2010+ele 21 mao1775
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน
ปฏิทินปฏิบัติงานปฏิทินปฏิบัติงาน
ปฏิทินปฏิบัติงาน
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 

แผนปฏิบัติการประจำปี

  • 1. ส่วนที่ 1 บทนา 1. ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา 1.ชื่อโรงเรียน โรงเรียนมะนะศึกษา (Manasuksa School) ตั้งอยู่เลขที่ 262 หมู่ที่ 15 ตาบลบ้านชวน อาเภอบาเหน็จณรงค์จังหวัดชัยภูมิ โทรศัพท์ 0-4484-2118 โทรสา ร0-4412-7119 E–mail manasuksa@yahoo.com Website http://www.mana.ac.th รหัสโรงเรียน 36100012 สังกัด สานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 เขตตรวจสานักบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาที่ 8 2. ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สังคม ชุมชนบริเวณโรงเรียน ประวัติโรงเรียน 2.1สภาพสังคมของชุมชน เป็นสังคมเกษตรกรรม ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป ได้แก่ ประเพณีวันสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีวันเข้าพรรษา ออกพรรษา ประเพณีการเทศน์ มหาชาติ ประเพณีพื้นบ้านได้แก่ การแห่นางแมวขอฝน การตั้งถิ่นฐานของชุมชนเป็นชุมชนดั้งเดิม 2.2สภาพเศรษฐกิจของชุมชน โดยรวมของพื้นที่ภายในเขตบริการของโรงเรียนมะนะศึกษาส่วนใหญ่ จะขึ้นอยู่กับภาคเกษตรกรรมเป็นหลักประกอบด้วย การทานา ทาไร่ พืชเศรษฐกิจที่ทารายได้เข้าหมู่บ้านได้แก่ มันสาปะหลัง ข้าวโพด อ้อย พริก 2.3ข้อมูลของผู้ปกครอง ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีพ หลักคือ เกษตรกรรม รับจ้าง ร้อยละ 91 นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจและรายได้เฉลี่ยต่อ ครอบครัวต่อปี จานวน 100,000 บาท จานวนประชากรเฉลี่ยต่อครอบครัว จานวน 4 คน 3. ประวัติโรงเรียน โรงเรียนมะนะศึกษาก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2533 ตั้งอยู่เลขที่ 262 หมู่ที่ 15 ถนน บาเหน็จซับใหญ่ ตาบลบ้านชวน อาเภอบาเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ รหัสไปรษณีย์ 36160 มีเนื้อที่ทั้งหมด 1ไร่ เศษ เป็น สถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีนายมนต์ชัย หิรัญวงษ์ เป็นผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการ ปี พ.ศ. 2533 เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล 1 มีนักเรียนจานวน 80 คน ครูจานวน 1 คน โดยมีนางสาว ทองปานพิพิธกุล เป็นครูใหญ่ ปี พ.ศ. 2534 มีการเปลี่ยนครูใหญ่ จากนางสาวทองปาน พิพิธกุล เป็นนายมะ หิรัญวงษ์ ปี พ.ศ. 2536 มีการจัดสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติม โดยมี 4 ห้องเรียน สามารถรองรับนักเรียนได้จานวน 150 คน
  • 2. 2 ปี พ.ศ. 2541 สร้างอาคารเรียน และอาคารอเนกประสงค์ เพื่อทาการเปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 - 3 ปี พ.ศ. 2552 โรงเรียนเปิดทาการสอนในระดับชั้นปฐมวัย – ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนทั้งสิ้น จานวน 233 คน ครู 11 คน มีนายวีระ อิ่มวิเศษ เป็นผู้อานวยการโรงเรียน ปี พ.ศ. 2555 โรงเรียนเปิดทาการสอนระดับชั้ นปฐมวัย – ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีจานวน นักเรียนทั้งสิ้น 366 คน ครู 14 คน มีนายบาเหน็จ ป้องปัด เป็นผู้อานวยการโรงเรียน 4. จานวนครู / บุคลากรทางการศึกษา / บุคลากรอื่น ๆ / นักเรียน (สารวจ ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2555) ประเภท ปี คาดการณ์ปี 2554 (คน) 2555 (คน) 2556 (คน) ผู้อานวยการ/ครู 15 16 18 บุคลากรทางการศึกษา 1 2 บุคลากรอื่นๆ นักเรียนรวมทั้งโรงเรียน 366 390 จาแนกตามระดับชั้น  เตรียมอนุบาล - - -  อนุบาล 1 25 30  อนุบาล 2 56 30  อนุบาล 3 62 60  ประถมศึกษาปีที่ 1 38 56 60  ประถมศึกษาปีที่ 2 35 36 60  ประถมศึกษาปีที่ 3 33 36 39  ประถมศึกษาปีที่ 4 28 31 40  ประถมศึกษาปีที่ 5 37 26 35  ประถมศึกษาปีที่ 6 26 38 30
  • 3. 3 6. แสดงคุณวุฒิทางการศึกษาของผู้อานวยการ/ครู ในโรงเรียน ระดับการศึกษา ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา มี (คน) ไม่มี (คน) รวม (คน) ปริญญาเอก - - - ปริญญาโท 1 - 1 ป.บัณฑิต (วิชาชีพครู) 4 - 4 ปริญญาตรี 5 3 8 ต่ากว่าปริญญาตรี - 3 3 รวมทั้งโรงเรียน 10 6 16 ส่วนที่ 2 ทิศทางการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
  • 4. 4 1.วิสัยทัศน์ ภายในปีการศึกษา 2558 โรงเรียนมะนะศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้นา ผู้ตามที่ ดี มีความรู้คู่ คุณธรรม รักการอ่าน เขียน คิด มีจิตใฝ่รู้ เน้น ครูสู่ผู้เรียนเป็นสาคัญ บริหารร่วมสร้างสรรค์มุ่งมั่นสู่มาตรฐาน สืบสานความเป็นไทย ใส่ใจให้บริการ 2.พันธกิจ 1. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตรสถานศึกษา มี คุณธรรมนาความรู้และค่านิยมที่พึงประสงค์ 2.จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจแก้ปัญหาได้ 3.จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 4. ส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาให้มีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ 5. ส่งเสริมและพัฒนาให้สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย และใช้แหล่งการเรียนรู้อย่างคุ้มค่า 6. ส่งเสริมให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 7. ส่งเสริมการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น 8. จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป้ าหมาย /เป้ าประสงค์ 1. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตรสถานศึกษา มีคุณธรรมนาความรู้และค่านิยมที่ พึงประสงค์ 2. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้ 3. ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 4. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 5. สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง หลากหลายและใช้แหล่งการเรียนรู้ อย่างคุ้มค่า 6.ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 7. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 8. สถานศึกษามีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น กลยุทธ์ระดับองค์กร กลยุทธ์ : พัฒนาคุณภาพผู้เรียน กลยุทธ์ : พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
  • 5. 5 กลยุทธ์ : สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ กลยุทธ์ : ส่งเสริมอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น กลยุทธ์ : ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา 3. อัตลักษณ์ งามอย่างไทย (ยิ้ม ไหว้ ทักทาย) 4. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1.ร้อยละของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เหมาะสมกับวัย/รุ่น 2.ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาที่จบการศึกษา/รุ่น 3.ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 สาระการเรียนรู้หลักเพิ่มขึ้น 4.ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประกวดแข่งขัน ความรู้ ความสามารถที่ได้รับรางวัลจาก หน่วยงานนอกสถานศึกษาต่อปีการศึกษา 5. ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด 6. ร้อยละของครูที่มีใบประกอบวิชาชีพทางการศึกษา 7. ร้อยละของครูที่สอนตรงตามวิชาเอก โท หรือได้รับการอบรม 8. ร้อยละของครูที่ได้รับการนิเทศ อบรม ประชุม สัมมนาการปฏิรูปการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์การ ประเมินใบประกอบวิชาชีพครูต่อปี 9. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครองที่มีต่อการให้บริการทาง การศึกษาของสถานศึกษาในระดับดี 5. เป้ าหมายของความสาเร็จ 1. นักเรียนระดับปฐมวัยมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เหมาะสมกับวัย ร้อยละ 100 ต่อรุ่น 2. นักเรียนระดับประถมศึกษาที่จบการศึกษาร้อยละ 100/รุ่น 3.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 สาระการเรียนรู้หลักเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5 4. นักเรียนที่มีผลการประกวดแข่งขัน ความรู้ ความสามารถที่ได้รับรางวัลจากหน่วยงานนอก สถานศึกษาร้อยละ 35 ต่อปีการศึกษา 5. นักเรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ร้อยละ 50 6. ครูมีใบประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ร้อยละ 100 7. ครูสอนตรงตามวิชาเอก โท หรือได้รับการอบรม ร้อยละ 90 8. ครูได้รับการนิเทศ อบรม ประชุม สัมมนาการปฏิรูปการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์การประเมินใบ ประกอบวิชาชีพครู ร้อยละ 100 ต่อปี 9. ความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครองที่มีต่อการให้บริการทางการศึกษาของสถานศึกษาในระดับ ดี ร้อยละ 80 เป้ าหมาย/เป้ าประสงค์ กลยุทธ์ระดับองค์กร 1. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร 1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
  • 6. 6 สถานศึกษา มีคุณธรรมนาความรู้และค่า นิยมที่พึง ประสงค์ 2. ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รัก เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 3. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และคิด อย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์แก้ปัญหาได้ 4. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนกา ร เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 5. ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 6. สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน อย่างหลากหลาย 7.สถานศึกษามีการใช้แหล่งเรียนรู้พัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนอย่างคุ้มค่า 8. ผู้มีส่วนเกี่ ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาของสถานศึกษา 3. เสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 9. สถานศึกษามีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น 4. ส่งเสริมอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น 10.สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษาตาม แนวทางปฏิรูปการศึกษา 5.พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา เป้ าหมาย/เป้ าประสงค์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร สถานศึกษามี 1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีระดับผลการเรียนผ่านเกณฑ์การ ประเมินทุกรายวิชา คุณธรรมนาความรู้และค่านิยมที่พึงประสงค์ 2.ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะกระบวนการในระดับดีขึ้นไป 3. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พีง ประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด 4. ร้อยละของผู้เรียนสามารถระบุอาชีพสุจริตในท้องถิ่นได้ 2.ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รัก เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 5. ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถใช้ Internet สืบค้นข้อมูลได้ 6.ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถสืบค้นข้อมูลความรู้จากห้องสมุด และแหล่งเรียนรู้อื่น 7.ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณภาพด้านรักการทางานในระดับดีขึ้น ไป 3. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน และคิด อย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจแก้ปัญหาได้ 8.ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินความสามารถด้าน การคิดตามที่กาหนดในหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551
  • 7. 7 เป้ าหมาย/เป้ าประสงค์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ 9. ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์ขั้นต่าขึ้นไป 10. ร้อยละของผู้เรียนที่ร่วมปฏิบัติงานกับผู้อื่น 4. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการ เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 11. สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ได้รับการเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษาที่สามารถตรวจสอบได้ 12. สถานศึกษามีงาน /โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณ ภาพ ผู้เรียนโดยตรงอย่างน้อย 10 รายการ 5. ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 13. ร้อยละของครูที่มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ 14. ร้อยละของครูที่มีเครื่องมือวัดและประเมินผลตามสภาพจริง 15. ร้อยละของครูที่มีรายงานการวิจัยในชั้นเรียนคนละ 2 เรื่อง / ภาคเรียนหรือปีการศึกษา 6.สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน อย่างหลากหลาย 16.สถานศึกษาจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อมุ่งยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 17.ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับ ดี ขึ้นไป 18.สถานศึกษามีข้อมูล หลักฐาน การร่วมกิจกรรมระหว่าง โรงเรียนกับชุมชนอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง 7.สถานศึกษามีการใช้แหล่งเรียนรู้พัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนอย่างคุ้มค่า 19. สถานศึกษามีการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมจัดการเรียนรู้ อย่างน้อย 2 ครั้ง/ภาคเรียน 20. สถานศึกษามีการใช้แหล่งเรียนรู้อย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง/ระดับการศึกษา 8.ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาของสถานศึกษา 21. สถานศึกษาจัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา อย่างน้อย ภาคเรียนละ 2 ครั้ง 22.สถานศึกษามีการนาแสดงแผนภูมิโครงสร้างของ สถานศึกษาอย่างชัดเจน 23. สถานศึกษามีคู่มือ การปฏิบัติงานของสถานศึกษาครบทุก กลุ่มทุกงาน 24.สถานศึกษามีแผนพัฒนาการจัดการศึกษาที่มุ่งคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี 9. สถานศึกษามีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น 25. จานวน/ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม 26. จานวน/ร้อยละของผู้เรียนที่มีความร่าเริง แจ่มใส มีวินัย ตรง
  • 8. 8 เป้ าหมาย/เป้ าประสงค์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ ต่อเวลา 27. จานวน/ร้อยละของครูที่มีความโอบอ้อมอารี 28.ผู้บริหารมีความเป็นประชาธิปไตย 29. กรรมการสถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษาเป็นผู้มี วินัยและให้ความร่วมมือในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 10. สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตาม แนวทางปฏิรูปการศึกษา 30.ร้อยละของผู้เรียนที่มีวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย ระดับดีขึ้น ไปตามที่สถานศึกษากาหนด การกาหนดชื่อโครงการ/กิจกรรม กลยุทธ์ระดับองค์กร ชื่อโครงการ/กิจกรรม 1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียน 1.เร่งรัดพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2.ส่งเสริมการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่าง มีสติสมเหตุผล 3.พัฒนาทักษะของนักเรียนด้านการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการ เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 4. เสริมสร้างและพัฒนาอนามัยส่วนบุคคลหนีพ้นสิ่งเสพติด 5.พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ที่พึงประสงค์ 2. พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 6.ส่งเสริมและพัฒนาครูให้จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 7.วิจัยและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะสมกับการพัฒนานักเรียน รายบุคคล 8.ส่งเสริมและพัฒนาตนเองด้านภาวะผู้นาทางวิชาการของฝ่ายบริหาร 9.เสริมสร้างความสัมพันธ์และความร่ว มมือในการให้บริการทางการศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับองค์กรอื่น 10.พัฒนาแหล่งเรียนรู้และสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ 11.พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 3.เสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 12.พัฒนาและใช้แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาในท้องถิ่น 4. ส่งเสริมอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้ โดดเด่น 13.คุณธรรมนาชีวิต ผลผลิตมีคุณภาพ 5.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา 14.ส่งเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา
  • 9. 9
  • 10. กลยุทธ์ระดับ กลยุทธ์ระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐาน เป้าหมาย งบประมาณ องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน 1.โครงการเร่งรัดพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนทุกกลุ่มสาระการ เรียนรู้ 2.โครงการส่งเสริมการคิด อย่ างเป็นระบบคิ ด สร้างสรรค์คัดสินใ น แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสม เหตุผล 1.ร้อยละของนักเรียนที่มีระดับผลการ เรียนในระดับดีแต่ละกลุ่มสาระ 2.ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการสอบ รวบยอดระดับชาติเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่ กาหนด 1.ร้อยละของนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การ ประเมินความสามารถ ด้านการคิด ตามที่กาหนดในหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 2.ร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถ ในการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนใน ระดับผ่านเกณฑ์ขั้นต่าขึ้นไป มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานที่ 4 1.ระดับดี ร้อยละ 65 2.นักเรียนร้อยละ 48 1.นักเรียน ร้อยละ 70 2.นักเรียน ร้อยละ 70 1.ระดับร้อยละ 75 2.นักเรียนร้อยละ 50 1.นักเรียน ร้อยละ 75 2.นักเรียน ร้อยละ 75 1.ระดับดีร้อยละ 85 2.นักเรียนร้อยละ 55 1.นักเรียน ร้อยละ 80 2.นักเรียน ร้อยละ 85 35,000 กลุ่มบริหารงานวิชาการ นางวิภาวรรณ นางสุรีรัตน์ 18,000 กลุ่มบริหารงานวิชาการ นางวิภาวรรณ
  • 11. โครงการ และกิจกรรมตามกลยุทธ์ระดับองค์กร พร้อมเป้ าหมายและงบประมาณ กลยุทธระดับ กลยุทธระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐานเป้าหมาย งบประมาณ องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ กลยุทธที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน 3.โครงการพัฒนาทักษะ ของนักเรียนด้านการ แสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง รักการเรีย นรู้และ พัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่อง 1.ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถใช้ Internet สืบค้นข้อมูลได้ 2. ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถสืบค้น ข้อมูลความรู้จากห้องสมุดและแหล่ง เรียนรู้อื่น 3. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณภาพด้านรัก การทางานในระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ 3 1.ผู้เรียน ร้อยละ 70 2.ผู้เรียน ร้อยละ 75 3.ผู้เรียน ร้อยละ70 1.ผู้เรียน ร้อยละ 80 2.ผู้เรียน ร้อยละ 80 3.ผู้เรียน ร้อยละ75 1.ผู้เรียน ร้อยละ 85 2.ผู้เรียน ร้อยละ85 3.ผู้เรียน ร้อยละ80 10,000 กลุ่มบริหารงานวิชาการ นางสาวศิริลักษณ์ นางไพรหงษ์ กลยุทธระดับ กลยุทธระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐานเป้าหมาย งบประมาณ
  • 12. 43 องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ กลยุทธที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน 4.โ ครงการพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยมที่พึงประสงค์ 5.โครงการ เสริมสร้างและพัฒนา อนามัยส่วนบุคคลหนีพ้น สิ่งเสพติด 1.ร้อยละของผู้เรียน มีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด 2.ร้อยละของผู้เรียนตระหนัก , รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม 3. ร้อยละของผู้เรียนที่เอื้ออาทรผู้อื่นและ กตัญํูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ 1.ร้อยละของนักเรียนที่มีน้าหนักส่วนสูงและ สรรถนะตามเกณฑ์มาตรฐาน 2.ร้อยละของนักเรียนที่ดูแลตนเองไม่ประสบ อุบัติเหตุ 3.ร้อยละของนักเรียนที่รู้จักป้องกันตนเอง จากสิ่งเสพติด 4. ร้อยละของนัก เรียนที่กล้าแสดงออกใน เรื่องที่ดีต่อสาธารณชน 5.ร้อยละของนักเรียนที่มีระดับความสัมพันธ์ ที่ดีกับครู เพื่อนและโรงเรียนในระดับดี มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 1 1.ผู้เรียน ร้อยละ 75 2.ผู้เรียน ร้อยละ 75 3.ผู้เรียน ร้อยละ 70 1.นักเรียน ร้อยละ 92 2.นักเรียน ร้อย ละ 97. 3.นักเรียน ร้อยละ 100 4.นักเรียน ร้อยละ 96 5.นักเรียน ร้อยะ 90 1.ผู้เรียน ร้อยละ 80 2.ผู้เรียน ร้อยละ 80 3.ผู้เรียน ร้อยละ 75 1.นักเรียน ร้อยละ 95 2.นักเรียน ร้อยละ 100 3.นักเรียน ร้อยละ 100 4.นักเรียน ร้อยละ 98 5.นักเรียน ร้อยละ 95 1.ผู้เรียน ร้อยละ 85 2.ผู้เรียน ร้อยละ85 3.ผู้เรียน ร้อยละ 80 1.นักเรียน ร้อยละ 100 2.นักเรียน ร้อยละ 100 3.นักเรียนร้อยละ 100 4.นักเรียน ร้อยละ 100 5.นักเรียน ร้อยละ 99 18,500 กลุ่มบริหารงานวิชาการ นายวัตชัย นายวิษณุ 22,500 กลุ่มบริหารทั่วไป นายวัตชัย นายนฤพล
  • 13. 44 กลยุทธ์ระดับ กลยุทธ์ระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐาน เป้าหมาย งบประมาณ องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษา 6.โครงการส่งเส ริมและ พัฒนาครูให้จัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ 7.โครงการวิจัยและ พัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาให้เหมาะสม กับการพัฒนานักเรียน รายบุคคล 1.ร้อยละของครูที่มีแผนการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2.ร้อยละของครูที่มีเครื่องมือวัดและ ประเมินผลตามสภาพจริง 3.ร้อยละของครูที่มีรายงานการวิจัยใน ชั้นเรียนคนละ 2 เรื่อง/ภาคเรียน 1.ร้อยละของระดับความเหมาะสมของ หลักสูตรกับผู้เรียนและท้องถิ่ นในระดับ ดี 2.ร้อยละของนักเรียนที่พอใจต่อรายวิชา/ กิจกรรมที่สถานศึกษา ให้บริการใน ระดับดี 3.ร้อยละของครูที่ทาแผนการเรียนรู้ที่ สอดคล้องกับนักเรียนรายบุคคลในระดับ ดี มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานที่ 7 1.ครูร้อยละ 80 2.ครูร้อยละ 80 3.ครูร้อยละ 75 1.ระดับดี ร้อยละ75 ของตัวชี้วัด 2.นักเรียน ร้อยละ70 3.ครูร้อยละ 60 1.ครูร้อยละ 85 2.ครูร้อยละ 85 3.ครูร้อยละ 80 1.ะดับดี ร้อยละ80 ของตัวชี้วัด 2.นักเรียน ร้อยละ80 3.ครูร้อยละ 65 1.ครูร้อยละ 90 2.ครูร้อยละ 90 3.ครูร้อยละ 85 1.ระดับดี ร้อยละ85 ของตัวชี้วัด 2.นักเรียน ร้อยละ85 3.ครูร้อยละ 70 20,000 กลุ่มบริหารงานบุคคล นางสุรีรัตน์ นางสาวศิริรัตน์ 30,000 กลุ่มงานบริหารงานวิชาการ นางสาวภัทราวณี นางสาวอุ่นเรือน
  • 14. 45 กลยุทธระดับ กลยุทธระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐาน เป้าหมาย งบประมาณ องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ กลยุทธที่ 2 พัฒนาคุณ ภาพการจัด การศึกษา 8.โครงการพัฒนาระบบ ประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา 1.มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา 2.มีการจัดทาแผนพัฒนาการจัด การศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา 3.มีการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ 4.มีการดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษา 5.มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา 6.มีการประเมินคุณภาพภายในตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 7.มีการนาผลการประเมินคุณภาพไปใช้ วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มาตรฐานที่ 12 -มีการกาหนดมาตรฐาน การศึกษาอยู่ ในระดับดี -มีการจัดทาแผนพัฒนา การจัดการศึก ษาที่มุ่ง คุณภาพ -มีการจัดระบบ บริหารและ สารสนเทศ -มีการดาเนินการ ตามแผน -มีการติดตามตรวจสอบ -มีการประเมินคุณภาพ -มีการนาผล การประเมินคุณภาพไปใช้ วางแผน -มีการกาหนดมาตรฐาน การศึกษาอยู่ ในระดับดี -มีการจัดทาแผนพัฒนา การจัดการศึกษาที่มุ่ง คุณภาพ -มีการจัดระบบ บริหาร และ สารสนเทศ -มีการดาเนินการ ตามแผน -มีการติดตามตรวจสอบ -มีการประเมินคุณภาพ -มีการนาผล การประเมินคุณภาพไป ใช้วางแผน -มีการกาหนดมาตรฐาน การศึกษาอยู่ ในระดับดี -มีการจัดทาแผนพัฒนา การจัดการศึกษาที่มุ่ง คุณภาพ -มีการจัดระบบ บริหารและ สารสนเทศ -มีการดาเนินการ ตามแผน -มีการติดตามตรวจสอบ -มีการประเมินคุณภาพ -มีการนาผล การประเมินคุณภาพไป ใช้วางแผน 20,000 กลุ่มบริหารงานทั่วไป นายนฤพล นายพพีระศักดิ์ กลยุทธระดับ กลยุทธระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐาน เป้าหมาย งบประมาณ องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ
  • 15. 46 กลยุทธที่ 2 พัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษา 9.โครงการ พัฒนาระบบ บริหารสถานศึกษาโดย ใช้โรงเรียนเป็นฐาน 1.ร้อยละความพึงพอใจในการมีอานาจ การตัดสินใจของครูในระดับดี 2. ร้อยละความพึงพอใจในการบริหาร เชิงกลยุทธ์และการมีส่วนร่วมในระดับดี 3. ร้อยละของคณะกรรมการนักเรียนที่มี ส่วนร่วมพัฒนาโรงเรียน 4. ร้อยละความพึงพอใจในรูปแบบการ บริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ในระดับดี 5. ร้อยละความพึงพอใจในการ ตรวจสอบและถ่งดุล มาตรฐานที่ 8 1. ความพึงพอใจใน การมีอานาจการ ตัดสินใจของครูใน ระดับดี ร้อยละ 85 2.ความพึงพอใจใน การบริหารเชิงกลยุทธ์ และการมีส่วนร่วม ในระดับดี ร้อยละ 85 3.คณะกรรม การนักเรียนที่มีส่วน ร่วมพัฒนาโรงเรียน ร้อยละ90 4.ความพึงพอใจใน รูปแบบการบริหาร แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน ระดับดีร้อยละ90 5.ความพึงพอใจใน การตรวจสอบและ ถ่วงดุลร้อยละ90 1.ความพึงพอใจในการ มีอานาจการตัดสินใจ ของ ครูในระดับดีร้อยละ 90 2.ความพึงพอใจในการ บริหารเชิงกลยุทธ์และ การ มีส่วนร่วมในระดับดี ร้อยละ8 95 3.คณะกรรม การนักเรียนที่มี ส่วนร่วมพัฒนา โรงเรียน ร้อยละ95 4.ความพึงพอใจใน รูปแบบการบริหาร แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ในระดับดีร้อยละ95 5.ความพึงพอใจใน การตรวจสอบและ ถ่วงดุลร้อยละ95 1.ความพึงพอใจในการ มีอานาจการตัดสินใจ ของครูในระดับดีร้อยละ 95 2.ความพึงพอใจในการ บริหารเชิงกลยุทธ์และ การ มีส่วนร่วมในระดับดี ร้อยละ100 3.คณะกรรม การนักเรียนที่มี ส่วนร่วมพัฒนา โรงเรียน ร้อยละ100 4.ความพึงพอใจใน รูปแบบการบริหาร แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ในระดับดีร้อยละ 100 5.ความพึง พอใจในการ ตรวจสอบ และถ่วงดุล ร้อยละ 100 12,000 กลุ่มบริหารงานทั่วไป นายบาเหน็จ นางวิภาวรรณ นางสึรีย์รัตน์
  • 16. 47 กลยุทธระดับ กลยุทธระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐาน เป้าหมาย งบประมาณ องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ กลยุทธที่ 3 เสริมสร้างสังคม แห่งการเรียนรู้ 10.โครงการพัฒนาและ ใช้แหล่งเรียนรู้ ภูมิ ปัญญาในท้องถิ่น 1.ระดับคุณภาพของข้อมูลที่เชื่อมโยง ระหว่างสถานศึกษากับแหล่งเรียนรู้และ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นในระดับดี 2.ร้อยละของแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาและ ชุมชนที่เข้ามาร่วมจัดการศึกษา 3.ร้อยละแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา ที่พร้อมใช้ 4.ร้อยละของผู้เรียนที่ได้ใช้แหล่งเรียนรู้ ภายในและภายนอกสถานศึกษา มาตรฐานที่ 13 1.ข้อมูลเชื่อม โยงระหว่าง สถานศึกษา กับแหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาอยู่ใน ระดับดีร้อยละ80 2.ภูมิปัญญา ชุมชน เข้า มาร่วมจัดการศึกษา ร้อยละ 50 3.แหล่งเรียนรู้ภายใน พร้อม ใช้ร้อยละ 85 4.ผู้เรียนได้ใช้ แหล่งการ เรียนรู้ภายในและภาย นอกร้อยละ80 1.ข้อมูลเชื่อม โยงระหว่าง สถานศึกษากับแหล่ง เรียนรู้และภูมิปัญญา อยู่ในระดับดีร้อยละ 85 2ภูมิปัญญา ชุมชน เข้ามาร่วมจัด การศึกษา ร้อยละ 60 3.แหล่งเรียนรู้ ภายใน พร้อม ใช้ร้อยละ90 4.ผู้เรียนได้ใช้ แหล่งการเรียนรู้ ภายในและภายนอก ร้อยละ90 1.ข้อมูลเชื่อม โยงระหว่าง สถานศึกษากับแหล่ง เรียนรู้และภูมิปัญญา อยู่ในระดับดีร้อยละ 90 2.ภูมิปัญญา ชุมชน เข้ามาร่วมจัด การศึกษา ร้อยละ 70 3.แหล่งเรียนรู้ภายใน พร้อม ใช้ร้อยละ95 4.ผู้เรียนได้ใช้แหล่ง การเรียนรู้ภายในและ ภายนอก ร้อยละ100 50,000 กลุ่มบริหารงานทั่วไป นายเอกชัย นายพีระศักดิ์
  • 17. 48 กลยุทธระดับ กลยุทธระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐาน เป้าหมาย งบประมาณ องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ กลยุทธที่ 5 ส่งเสริมอัตลักษณ์ ของสถานศึกษาให้ โดดเด่น 11.โครงการคุณธรรมนา ชีวิตผลผลิตมีคุณภาพ 1.ร้อยละของผู้เรียนมีวินัย มีความ รับผิดชอบและปฏิบัติตนตามหลักธรรม เบื้องต้นของศาสนาที่ตนนับถือ ผ่าน เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด 2.ร้อยละของผู้เรียนมีความซื่อสัตย์สุจริต ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด 3.ร้อยละของผู้เรียนที่มีความกตัญํู กตเวทีผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด 4.ร้อยละของผู้เรียนมีความเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละเพื่อส่วนรวมผ่าน เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด 5.ร้อยละของผู้เรียนที่ประหยัด รู้จักใช้ ทรัพย์สิ่งของส่วนตนและส่วนรวม อย่าง คุ้มค่าผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด มาตรฐานที่ 14 1.ผู้เรียน ร้อยละ70ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด 2.ผู้เรียน ร้อยละ70ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด 3.ผู้เรียน ร้อยละ85ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด 4.ผู้เรียน ร้อยละ80ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด 5.ผู้เรียน ร้อยละ70ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด 1.ผู้เรียน ร้อยละ80ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด 2.ผู้เรียน ร้อยละ85ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด 3.ผู้เรียน ร้อยละ 90ผ่านเกณฑ์ ที่สถานศึกษากาหนด 4.ผู้เรียน ร้อยละ85ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด 5.ผู้เรียน ร้อยละ80ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด 1. .ผู้เรียน ร้อยละ85ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด 2.ผู้เรียน ร้อยละ90ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด 3.ผู้เรียน ร้อยละ95ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด 4.ผู้เรียน ร้อยละ90ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด 5.ผู้เรียน ร้อยละ90ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด 30,000 กลุ่มบริหารงานทั่วไป นางวิภาวรรณ นางสาวภัทราวณี นายพีระศักดิ์ นายนฤพล
  • 18. 49 กลยุทธระดับ กลยุทธระดับ ตัวชี้วัด สนองมาตรฐานเป้าหมาย งบประมาณ องค์กร แผนงาน ความสาเร็จ การศึกษา 2544 2555 2556 ผู้รับผิดชอบ กลยุทธที่ 5 ส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพสถานศึกษา 12.โครงการ ส่ง เสริม ประชาธิปไตยใน สถานศึกษา 1.ร้อยละของผู้เรียนที่มีนิสัยของความ เป็นผู้นา ผู้ตามที่ดีเป็นที่ยอมรับของ สมาชิกในกลุ่ม 2. ร้อยละของผู้เรียนที่เป็นสมาชิกที่ดี ของกลุ่มสามารถประพฤติ ปฏิบัติตาม ระบบ ระเบียบของกลุ่มได้ดี มีสานึก รับผิดชอบ กล้าแสดงออกตามวิถีทาง ประชาธิปไตย 3.ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข 4.ร้อยละของผู้เรียนได้เรียนรู้ วิธีการ ขั้นตอน การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง มาตรฐาน ที่ 14 1.ผู้เรียนที่มีนิสัยของความเป็น ผู้นา ผู้ตามที่ดีเป็นที่ยอมรับของ สมาชิกในกลุ่มร้อยละ 70 2.ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม สามารถประพฤติ ปฏิบัติตาม ระบบ ระเบียบของกลุ่มได้ดีมี สานึกรับผิดชอบ กล้าแสดงออก ตามวิถีทางประชาธิปไตยร้อยละ 75 3.ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ร้อยละ 90 4.ผู้เรียนได้เรียนรู้ วิธีการ ขั้นตอน การไปใช้สิทธิเลือกตั้งร้อยละ 95 1.ผู้เรียนที่มีนิสัยของความเป็นผู้นา ผู้ตามที่ดีเป็นที่ยอมรับของสมาชิก ในกลุ่มร้อยละ 80 2.ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม สามารถประพฤติ ปฏิบัติตาม ระบบ ระเบียบของกลุ่มได้ดีมี สานึกรับผิดชอบ กล้ าแสดงออก ตามวิถีทางประชาธิปไตย ร้อยละ 80 3.ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ร้อยละ 95 4.ผู้เรียนได้เรียนรู้ วิธีการ ขั้นตอน การ ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ร้อยละ100 1.ผู้เรียนที่มีนิสัยของความเป็น ผู้นา ผู้ตามที่ดีเป็ นที่ยอมรับของ สมาชิกในกลุ่ม ร้อยละ 90 2.ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของ กลุ่มสามารถประพฤติ ปฏิบัติ ตามระบบ ระเบียบของกลุ่มได้ ดีมีสานึกรับผิดชอบ กล้า แสดงออกตามวิถีทาง ประชาธิปไตย ร้อยละ 85 3.ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการ ปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยโดยมี พระมหากษัตริย์ เป็นประมุข ร้อยละ 100 4.ผู้เรียนได้เรียนรู้ วิธีการ ขั้นตอน การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ร้อยละ100 20,000 กลุ่มบริหารงาน ทั่วไป นายนฤพล นายพีระศักดิ์
  • 19. 42 3 งบประมาณของสถานศึกษา งบประมาณของโรงเรียนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 จาแนกได้ดังนี้ 1. รายรับ หมายเหตุ ใช้ตัวเลข นักเรียน ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2555 ที่ รายการรายรับ จานวน (คน) งบประมาณ(บาท) หมายเหตุ 1. เงินอุดหนุนรายบุคคล 1.1 ชั้นอนุบาล 1 26 186,990.96 1.2 ชั้นอนุบาล 2 55 395,557.80 1.3 ชั้นอนุบาล 3 62 445,901.52 1.4 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 56 412,272 1.5 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 36 265,032 1.6 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 36 265,032 1.7 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 31 228,222 1.8 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 26 191,412 1.9 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 38 279,756 รวมเงินอุดหนุนรายบุคคล (1) 2. เงินอุดหนุนอื่น ๆ 2.1 ค่าหนังสือเรียน 366 175,887 2.2 ค่าเครื่องแบบนักเรียน 366 123,180 2.3 ค่าอุปกรณ์การเรียน 366 57,785 2.4 ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 366 84,265 2.5 ค่าอาหารเสริม (นม) 366 311,220 2.6 ค่าอาหารกลางวัน 366 457,600 รวมเงินอุดหนุนอื่น ๆ (2) 3. ค่าธรรมเนียม 3.1 ค่าธรรมเนียมการศึกษา 366 3906,396 3.2 ค่าธรรมเนียมอื่น - ค่าตรวจสุขภาพนักเรียน - - - ค่าประกันของเสียหาย - - - ค่าตรวจสารเสพติด - - - ค่าประกันอุบัติเหตุ 366 รวมเงินค่าธรรมเนียม (3) 4. เงินบริจาค 4.1 เงินบริจาคเพื่อการศึกษา - - 4.2 เงินบริจาคโครงการ - - รวมรายได้จากเงินบริจาค (4) รวมทั้งสิ้น (ข้อ 1+2+3+4) 7789509.28
  • 20. 43 2. รายจ่าย ที่ รายการรายจ่าย จานวน (คน) งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ 1 ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร 1.1 เงินเดือนครู 13 1,935,480.71 1.2 เงินเดือนบุคลากรทางการศึกษา 3 204,000 1.3 เงินเดือนบุคลากรอื่น / ค่าจ้าง 3 132,000 1.4 เงินสมทบกองทุนสงเคราะห์ 13 63,913.63 ฯลฯ รวมค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร (1) 2,335,393.63 2 ค่าใช้จ่ายอื่น 82,458 2.1 ค่าวัสดุสานักงาน 78,563.28 2.2 ค่าสาธารณูปโภค 84,034.27 ฯลฯ รวมค่าใช้จ่ายอื่น (2) 245,055.27 รวมทั้งสิ้น (ข้อ 1+2) 2,580,448.90 หมายเหตุ : กรณีรายรับและรายจ่ายที่ไม่สามารถระบุจานวนคนได้ไม่ต้องระบุ
  • 21. 44 3. รายงานงบดุล ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนมะนะศึกษา งบดุล ณ วันที่ 30 เมษายน 2555 (หน่วย : บาท) สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสด 167,012.88 เงินฝากธนาคาร 72,642.52 ลูกหนี้/เงินยืมทดรอง 900,000 ตาราเรียนและวัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา - สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น - รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 1,144,655.40 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่ดินและส่วนปรับปรุงที่ดิน 2,608,887.10 อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร (สุทธิ) - สิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ (สุทธิ) - งานระหว่างก่อสร้าง - ยานพาหนะ (สุทธิ) 16,278.47 ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ (สุทธิ) - เฟอร์นิเจอร์และเครื่องตกแต่ง (สุทธิ) - ตาราห้องสมุด (สุทธิ) 45000 สินทรัพย์อื่น - รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 2,625,190 รวมสินทรัพย์ 3,769,845.40
  • 22. 45 หนี้สินและส่วนของทุน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้/ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย - เจ้าหนี้เงินประกัน/เงินมัดจา - รายได้รับล่วงหน้า - เงินอุดหนุนรับล่วงหน้า - เจ้าหนี้อื่น ๆ - รวมหนี้สินหมุนเวียน - หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้เงินประกัน/เงินมัดจา - เงินกู้ระยะสั้น - เงินกู้ระยะยาว 1,324,455.67 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 1,324,455.67 ส่วนของทุน ทุนประเดิม 1,000,000 ทุนสะสม 1,445,390.30 รวมส่วนของทุน 2,445,390.30 รวมหนี้สินและส่วนของทุน 376,984,5.97 หมายเหตุ : ใช้วันที่ตั้งแต่เปิดภาคเรียน ถึง ปิดภาคเรียน ปีการศึกษา 2554
  • 23. 46 ส่วนที่ 4 การบริหารงานของโรงเรียน 1. แผนงาน / โครงการ / งบประมาณ ดาเนินการในปี 2555 1.1 การบริหารงานวิชาการ กลยุทธ์ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการ สุขนิสัยดี จิตสดใส ร่างกายแข็งแรง ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ สนองกลยุทธ์โรงเรียน กลยุทธ์ที่ 1 สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 – 1.5 ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. ผู้อานวยการโรงเรียน 2. นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ และคณะ กลุ่มที่รับผิดชอบ กลุ่มวิชาการ ระยะเวลา พฤษภาคม 2555 – มีนาคม 2556 ****************************************************************************** 1. หลักการและเหตุผล จากการประเมินคุณภาพภายนอกข องสานักรับรองมาตรฐานและประ เมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพ กายและสุขภาพจิตที่ดี ของโรงเรียน พบว่า ผู้เรียนยังขาดความตระหนักในเรื่องของการออกกาลังกาย ที่ เหมาะสม ขาดความเอาใจใส่ดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง รวมทั้งขาดความรู้ในเรื่องพิษภัยของ ยาเสพติดซึ่งเป็นภัยใกล้ตัว ซึ่งหากปล่อยทิ้งไว้ไม่เร่งแก้ไขนักเรียนจะมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่อ่อนแอ ขาดทักษะในการหลีกเลี่ยงภาวะเสียงในเรื่อง สิ่งเสพติด โรคภัย อุบัติเหตุและปัญหาทางเพศ ตลอดจนการขาดความมั่นใจในการแสดงออก อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ โรงเรียนจึงได้จัดให้มีโครงการสุขนิสัยดี จิตสดใส ร่างกายแข็งแรงขึ้นเพื่อปลูกฝังและพัฒนาผู้เรียนให้มีสุขนิสัย สุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี 2.วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกายสม่าเสมอ 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน 3. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักการป้องกันตนเองให้พ้นจากสิ่งเสพติดให้โทษ และหลีกเลี่ยงตนเอง จากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรค อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ 4. ให้ผู้เรียนมีความมั่นใจ กล้าแสดงออก 5. เพื่อให้ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น
  • 24. 47 3. เป้ าหมาย 1. นักเรียนร้อยละ 80 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกายสม่าเสมอ 2. นักเรียนร้อยละ 80 มีน้าหนัก ส่วนสูงและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ 3. นักเรียนร้อยละ 80 รู้จักป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยง ต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ ปัญหาทางเพศ โทษและประโยชน์จากการใช้ อินเตอร์เน็ต เกมคอมพิวเตอร์ ตลอดจนอบายมุขต่างๆ 4. นักเรียนร้อยละ 80 มีความมั่นใจกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้เกียรติผู้อื่น 5. นักเรียนร้อยละ 80 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น 6. ผู้เกี่ยวข้องร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในการดาเนินงานตามโครงการของโรงเรียน 4. วิธีดาเนินงาน กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 1.จัดทาโครงการเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหารโรงเรียน ต.ค.52 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ 2.จัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานตามโครงการ ต.ค.52 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ 3.ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดาเนินงาน ต.ค. 52 ผอ.ร.ร.มะนะศึกษา/คณะ 4. จัดกิจกรรมผู้เรียน ดังนี้ 1. การดูแลสุขภาพ สุขนิสัยและออกกาลังกายสม่าเสมอ ได้แก่ - นักเรียนออกกาลังกายทุกวันอย่างน้อยวันละ 30 นาที เช่น เต้นแอโรบิค, ออกกาลังกายตอนเช้าหน้าเสาธง ฯลฯ - นักเรียนแปรงฟัน ตอนเช้า กลางวันและก่อนนอน - ตรวจร่างกาย(ผม ฟัน เล็บ การแต่งกาย) สัปดาห์ละ 1 ครั้ง - จัดกิจกรรมรณรงค์การเผยแพร่เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ - ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติ 10 ประการและจัดอบรมนักเรียนในเรื่องสุขภาพ - จัดซื้อยาและวัสดุอุปกรณ์เพื่อบริการนักเรียน - กิจกรรม อย.น้อย พ.ย.52-ก.ย.53 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ คณะครูทุกคน
  • 25. 48 กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 2. การชั่งน้าหนักวัดส่วนสูง และทดสอบสมรรถภาพทางกาย ได้แก่ - ทุกชั้นเรียนชั่งน้าหนักวัดส่วนสูงเดือนละ 1 ครั้ง - ทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกชั้นภาคเรียนละ 1 ครั้ง - เชิญแพทย์มาตรวจสุขภาพนักเรียน การทดสอบ เกี่ยวกับ การเห็น การได้ยิน และรายงานผลการตรวจร่างกาย ปีละ 1 ครั้ง 3. การจัดกิจกรรมการรู้จักป้องกันตนเอง จากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงจาก สภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ ปัญหาทางเพศ โทษและประโยชน์ จากการใช้อินเตอร์เน็ต เกมคอมพิวเตอร์ ตลอดจนอบายมุขต่างๆ ได้แก่ - เชิญวิทยากรมาให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของสิ่งเสพติดและสิ่งมอมเมา - เชิญวิทยากรมาให้ความรู้ จัดกิจกรรมฝึกทักษะ การปฏิเสธและชักชวนไม่ให้ เพื่อนเสพยาเสพติด - จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนรู้จักประโยชน์และโทษของการใช้อินเตอร์เน็ต และเกม คอมพิวเตอร์โดยการศึกษาค้นคว้า การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ความรู้ - เชิญวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้เรื่องความปลอดภัยและการปฏิบัติตน อย่างถูกต้อง - การระมัดระวังตนในการใช้ชีวิตประจาวันการรู้จักรักนวลสงวนตัว การป้องกัน ทรัพย์สินของตนเองและส่วนรวม - กิจกรรมโรงเรียนสีขาว - ร่วมเดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดกับหน่วยงานอื่น พ.ย.52-ก.ย.53 พ.ย.52-ก.ย.53 พ.ย.52-ก.ย.53 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ ครูผู้สอนทุกชั้น นายพีระศักดิ์ กิสูงเนิน คณะครูผู้สอนทุกชั้น 4. การสร้างความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้เกียรติผู้อื่น ได้แก่ - จัดกิจกรรมประกวดมารยาทงามน้าใจดี วจีไพเราะ - จัดเวที “ คนกล้า” พ.ย.52-ก.ย.53 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ 5. การมีจิตใจร่าเริงแจ่มใสและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครูและผู้อื่น ได้แก่ - จัดกิจกรรมชุมนุมพัฒนาบุคลิกภาพ - จัดกิจกรรมชุมนุมส่งเสริมเอกลักษณ์ไทย - จัดกิจกรรมนันทนาการ เช่น ร้องเพลงคาราโอเกะ พ.ย.52-ก.ย.53 นายพีระศักดิ์ กิสูงเนิน นายวิษณุ เถียนหนู 5.จัดทาแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ก.ย.53 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ 6. ประเมินความพึงพอใจผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ก.ย.53 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ 7. ประเมินผลการดาเนินงานโครงการแต่ละกิจกรรม ก.ย.53 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ 8.สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ก.ย.53 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ 9.สรุปผลการดาเนินงานโครงการและรายงานผู้บริหารโรงเรียน ก.ย.53 นางวิภาวรรณ พงศ์สุวรรณ
  • 26. 49 5.งบประมาณ จานวน 7,000 บาท เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้ 1. ค่าใช้สอย ไม่มี 2. ค่าวัสดุ เป็นเงิน 7,000 บาท 3. ค่าตอบแทน -ไม่มี- 6.การติดตามและประเมินผล ตัวชี้วัดความสาเร็จ วิธีประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการ ประเมิน 1. ร้อยละของนักเรียนมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกายสม่าเสมอ สังเกตพฤติกรรม นักเรียน แบบสังเกต 2.ร้อยละ ของนักเรียน มีน้าหนัก ส่วนสูงและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ 1 ชั่งน้าหนักและ วัดส่วนสูง 2.การทดสอบ สมรรถภาพ 1. แบบบันทึก น้าหนัก ส่วนสูง 2. แบบบันทึกการ ทดสอบสมรรถภาพ สารวจนักเรียน กลุ่มปกติ/กลุ่ม เสี่ยง/กลุ่มมีปัญหา แบบสารวจ 4. ร้อยละของนักเรียนมีความมั่นใจกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้เกียรติผู้อื่น สารวจนักเรียนที่ เข้าร่วมกิจกรรม แบบสารวจ 5. ร้อยละของนักเรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น สารวจนักเรียนที่ เข้าร่วมกิจกรรม นันทนาการ แบบสารวจ 6. ร้อยละของ ผู้เกี่ยวข้อง มีความพึงพอใจในการดาเนินงานตามโครงการของ โรงเรียน สอบถามความพึง พอใจของ ผู้เกี่ยวข้อง แบบสอบถามความพึง พอใจของผู้เกี่ยวข้อง 7.ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตดี และมีความสุขในการดารงชีวิต
  • 27. 50 กลยุทธ์ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการ ส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง สนองกลยุทธ์โรงเรียน กลยุทธ์ที่ 1 สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 – 2.4 ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.ผู้อานวยการโรงเรียนมะนะศึกษา 2. นายวัตชัย ฝึกดอนวัง กลุ่มที่รับผิดชอบ กลุ่มวิชาการ ****************************************************************************** 1. หลักการและเหตุผล จากการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาปีที่ผ่านมา พบว่านักเรียนโรงเรียนมะนะศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์อยู่ในระดับที่ไม่น่าพึงพอใจ สาเหตุเนื่องมาจาก มีสื่อและเทคโนโลยี เข้ามาเผยแพร่และมีอิทธิพลใน ชีวิตประจาวันของนักเรี ยนครูขาดความใฝ่ใจ ที่จะปลูกฝังคุณธรรมให้กับนักเรียน รวมทั้งขาดความร่วมมือกันระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชน ในการปลูกฝังคุณธรรมอย่างต่อเนื่อง ถ้าไม่รีบแก้ไขนักเรียนอาจสร้างปัญหาให้ครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและสังคมได้แนว ทางการแก้ไขปัญหา ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุ กฝ่ายในการร่วมกันจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านวินัย ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ สุจริต ความกตัญํูกตเวที ความเมตตากรุณา ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความเสียสละเพื่อส่วนรวม การใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า รวมทั้งมีความภูมิใจในความเป็นไทย ให้แก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนปฏิบัติตนจนเป็นกิจนิสัยในชีวิตประจาวัน 2.วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร 2. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้แสดงออกถึงความเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวที 3. เพื่อให้ผู้เรียนยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง 4. เพื่อให้ผู้เรียนตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม 3. เป้ าหมาย 1. ผู้เรียนร้อยละ 85 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร 2. ผู้เรียนร้อยละ 85 แสดงออกถึงความเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญํูกตเวที 3. ผู้เรียนร้อยละ 85 ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง 4. ผู้เรียนร้อยละ 85 ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม 5. ผู้เกี่ยวข้องร้อยละ 85 มีความพึงพอใจในการดาเนินงานตามโครงการของโรงเรียน 4. วิธีดาเนินงาน กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 1.จัดทาโครงการเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหารโรงเรียน ต.ค.52 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง 2.จัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานตามโครงการ ต.ค.52 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง 3.ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดาเนินงาน ต.ค. 52 ผอ.ร.ร./ นายวัตชัย
  • 28. 51 4. จัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ พึงประสงค์ ดังนี้ 4.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ธ.ค. 52 คณะครูทุกคน 4.1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ และอธิบายความหมาย ของเพลงชาติได้ถูกต้อง 4.1.2 เข้าร่วมส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี ปรองดองที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนชุมชนและสังคม 4.1.3 เข้าร่วมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบัน พระมหากษัตริย์ 4.1.4 แสดงความสานึกในพระมหากรุณาธิคุณของ พระมหากษัตริย์ 4.1.5 แสดงออกซึ่งความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ พ.ย. 52 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง 4.2 ความซื่อสัตย์สุจริต พ.ย. 52 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง 4.2.1 ฝึกผู้เรียนให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริงไม่โกหก 4.2.2 ปฏิบัติตนโดยคานึงถึงความถูกต้องละอายและเกรงกลัวต่อ การกระทาผิด 4.2.3 ปฏิบัติตนตามคามั่นสัญญา พ.ย. 52 – ก.ย. 53 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 4.2.4 ไม่นาสิ่งของหรือผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง 4.2.5 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง 4.2.6 ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้อง ต.ค. 52 – ก.ย. 53 4.3 มีวินัย ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายเอกชัย พูนแก้ว 4.3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของ โรงเรียน และสังคมไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น 4.3.2 ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจาวันและรับผิดชอบในการทางาน 4.3.3 ฝึกระเบียบวินัยในการกิน อยู่ดู ฟัง เป็น นายเอกชัย พูนแก้ว 4.4 ใฝ่ รู้ ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง 4.4.1 ตั้งใจเรียน 4.4.2 เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ 4.4.3 สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ 4.4.4 ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือเอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง
  • 29. 52 เทคโนโลยีต่างๆแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในภายนอกโรงเรียนและ เลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม 4.4.5 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ข้อมูลจากสิ่ง ที่เรียนรู้สรุปเป็นองค์ ความรู้ 4.5 อยู่อย่างพอเพียง ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง 4.5.1 ดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบและมี คุณธรรม 4.5.2 มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสุข 4.5.3 ไม่เอาเปรียบผู้อื่นและไม่ทาให้ผู้อื่นเดือดร้อนพร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระทาผิดพลาด มิ.ย.ส.ค.,ธ.ค. นายวัตชัย ฝึกดอนวัง กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 4.6 มุ่งมั่นในการทางาน ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายเอกชัย พูนแก้ว 4.6.1 เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4.6.2 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทางานให้สาเร็จ 4.6.3 ปรับปรุงและพัฒนาการทางานด้วยตนเอง 4.6.4 ทุ่มเททางาน อดทนไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทางาน 4.6.5 แก้ปัญหาและอุปสรรคในการทางานให้สาเร็จ 4.6.6 ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายเอกชัย พูนแก้ว 4.7 รักความเป็นไทย ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายนฤพล พงษ์สุภา 4.7.1 แต่งกายและมีมารยาทงดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ กตัญํูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ 4.7.2 ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย 4.7.3 ชักชวน แนะนาให้ผู้อื่นปฏิ บัติตามขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง 4.8 มีจิตสาธารณะ นายเอกชัย พูนแก้ว 4.8.1 ช่วยพ่อแม่ผู้ปกครองและครูทางานด้วยความเต็มใจ 4.8.2 อาสาทางานให้ผู้อื่นด้วยกาลังกาย กาลังใจและกาลังสติปัญญาด้วย ความสมัครใจ 4.8.3 แบ่งปันสิ่งของทรัพย์สินและอื่นๆและช่วยแก้ปัญหาหรือสร้าง ความสุขให้กับผู้อื่น 5. กิจกรรมด้านการส่งเสริมคุณธรรม ต.ค. 52 – ก.ย. 53 นายวัตชัย ฝึกดอนวัง