SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 20
Downloaden Sie, um offline zu lesen
18
บทที่2
เรื่อง ความเข๎าใจในศิลปะ
2.1 ความหมายของศิลปะ
ศิลปะเกิดขึ้นมาในสังคมมนุษย์ตั้งแต่สมัยอดีตและมีวัฒนาการเรื่อยมาจวบจนปัจจุบัน ได้มีผู้นิยาม
ความหมายของศิลปะไว้มากมาย อาทิ
 ศิลปะคือการเลียนแบบธรรมชาติ
 ศิลปะคือสื่อสากลที่ใช้ติดต่อกันระหว่างมนุษย์
 ศิลปะคือการแสดงออกทางความงาม
 ศิลปะคือภาษาชนิดหนึ่ง
 ศิลปะคือการแสดงออกเกี่ยวกับความศรัทธาและความเชื่อของมนุษย์แต่ละยุคสมัย
 ศิลปะคือการแสดงออกทางบุคลิกภาพ
 ศิลปะคือความชานาญในการจัดลาดับประสบการณ์และการถ่ายทอดจินตนาการ
 ศิลปะคือการแสดงออกทางด้านสังคม อารมณ์ และสติปัญญา
 ศิลปะคือการรับรู้ทางการมองเห็น
 ศิลปะคือการถ่ายทอดความรู้สึกเป็นรูปทรงในรูปของผลงาน
จากความหมายต่างๆดังกล่าวสรุปได้ว่าศิลปะคือผลงานที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นในรูปลักษณ์ต่างๆให้
ปรากฏซึ่งสุนทรียภาพ ความประทับใจ ความสะเทือนใจ ตามทักษะของแต่ละคน เพื่อความงาม
และความพอใจ
19
รูปที่ 25 “จิตรกรรมฝาผนังวัดบางแคใหญํ” ปิยฉัตร อุดมศรี ,สีฝุ่นบนพื้นกาวเมล็ดมะขาม
รูปที่ 26 “Sweet Guilt” อรรถวิท บุญวรรณ ,สีน้้ามัน
20
รูปที่ 27 “แฮปปี้แลนด์1” ปิยฉัตร อุดมศรี, ขี้เลื่อย เชือกปอ
2.2 ขอบขํายของศิลปะ
ศิลปะ ( art ) แบ่งออกเป็น 2ประเภท คือ
1. วิจิตรศิลป์ ( fine art )
2. ศิลปะประยุกต์ ( applied art )
 วิจิตรศิลป์
วิจิตรศิลป์คืองานศิลปะที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อความงาม ความพอใจมากกว่าประโยชน์ใช้สอย เราอาจ
เรียกศิลปะสาขานี้ว่า ศิลปะบริสุทธิ์ (pure art) เพราะศิลปินจะสร้างสรรค์งานขึ้นมาด้วยความพอใจ ความ
บริสุทธิ์ มิได้หวังผลตอบแทนใดๆหรืออาจเพื่อใช้ประโยชน์บ้าง แต่ก็เน้นความละเอียดลออในการสร้างสรรค์
ให้วิจิตรพิสดารหรูหราเกินความจาเป็นแก่ประโยชน์ใช้สอย จึงอาจเรียกศิลปะสาขานี้ว่า ประณีตศิลป์
วิจิตรศิลป์แบ่งออกเป็น 8 ประเภท คือ
1. จิตรกรรม
จิตรกรรม (painting) คือการเขียนภาพลงบนวัตถุต่างๆ เช่น กระดาษ ไม้อัด ผ้าใบ ผนัง
ปูน ฯลฯ สีที่ใช้ในการเขียน เช่น สีน้า สีโปสเตอร์ สีชอล์ก สีน้ามัน สีอะคริลิก ผงถ่าน
คาร์บอน ภาพที่เขียนมีหลายลักษณะ เช่น ภาพคนเหมือน (portrait) ภาพสัตว์ (animal)
ภาพทิวทัศน์บก (landscape) ภาพทิวทัศน์ทะเล (seascape) ภาพหุ่นนิ่ง (still life) ภาพ
21
ชีวิตประจาวัน (genre painting) จิตรกรรมฝาผนัง (mural painting) ภาพประกอบ
(illustration) ฯลฯ
รูปที่ 28 “ฤดูกาลแหํงชีวิต” ไกรสร วิชัยกุล, สีน้้ามันบนผ๎าใบ
รูปที่ 29 “สายน้้าให๎ชีวิต” ไกรสร วิชัยกุล, สีน้้ามันบนผ๎าใบ
22
รูปที่ 30 “โมนาลิซํา” ลีโอนาร์โด ดาวินซี
2. ประติมากรรม
ประติมากรรม (sculpture) หมายถึงงานศิลปกรรมที่สร้างเป็นรูปทรง 3 มิติ โดยวิธีการ
แกะสลัก การปั้น หรือการใช้หลายวิธีร่วมกัน ได้แก่ การปั้น การแกะสลัก การหล่อ การทุบ
การตี การเคาะ วัสดุที่ใช้ ได้แก่ ดิน ขี้ผึ้ง สบู่ ไม้ หิน ปูนปลาสเตอร์ โลหะต่างๆ งาน
ประติมากรรมมีลักษณะเป็น 3 มิติ กล่าวคือ นอกจากความกว้าง และความยาวแล้ว ยังมี
ความหนาหรือความลึกรวมทั้งปริมาตรของรูปทรงด้วย งานประติมากรรมแบ่งออกเป็น 3
ลักษณะ
รูปที่ 31 “The Thinker” โอกุสต์ โรแดง
23
รูปที่ 32 “สนุกสนาน5” ปิยฉัตร อุดมศรี,ขี้เลื่อย เชือกปอ
2.1 ประติมากรรมนูนต่้า (bas relief) มีลักษณะเป็นเส้นร่องหรือเป็นแอ่งลึกลงไปเพียง
เล็กน้อย หรือนูนจากพื้นขึ้นมาเพียงเล็กน้อยสามารถมองด้านหน้าได้เพียงด้านเดียว
เช่น เหรียญ ศิลาจารึก ฯลฯ
รูปที่ 33 เหรียญ10บาทด๎านหน๎าและด๎านหลัง
2.2 ประติมากรรมนูนสูง (high relief) คืองานที่มีลักษณะนูนขึ้นมาจากผิวพื้นมากกว่า
แบบนูนต่า สามารถมองเห็นด้านข้างของงานได้พอสมควร เช่น รูปแกะสลักที่ฐาน
อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ฯลฯ
24
รูปที่ 34 รูปสลักที่ฐานอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
2.3 ประติมากรรมลอยตัว (round relief) เป็นงานที่มีลักษณะมองเห็นได้รอบด้าน
เช่น รูปหล่อทหาร ตารวจที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ พระประธานในพระอุโบสถ ฯลฯ
รูปที่ 35 พระบรมรูปทรงม๎า
3. สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรม (architecture) หมายถึงการออกแบบก่อสร้างอาคารสถานที่ เช่น ที่อยู่
อาศัย สาธารณสถาน ศาสนสถาน ฯลฯ โดยคานึงถึงความสะดวกเหมาะสมกับการใช้สอย
ความมั่นคงแข็งแรง ความสวยงามน่าชื่นชม ซึ่งถ้างานก่อสร้างอาคารสถานที่แห่งใดมีความ
วิจิตร หรือประดับประดาสวยงามเกินจุดมุ่งหมายแค่เพียงที่อยู่อาศัยหรือใช้สอยอื่นๆก็ยิ่งมีคุณค่า
ในทางวิจิตรศิลป์มากยิ่งขึ้น
25
รูปที่ 36 วัดรํองขุํน
รูปที่ 37 มหาวิหารพาเธนอน เอเธนส์
4. ภาพพิมพ์
ภาพพิมพ์ (printmaking) เป็นงานที่มีลักษณะเป็น 2 มิติบนพื้นระนาบคล้ายกับงาน
จิตรกรรม ต่างกันคือภาพพิมพ์จะต้องสร้างสรรค์บนแม่พิมพ์ก่อน แล้วจึงนาไปพิมพ์บนแผ่น
ภาพ การพิมพ์ภาพมีหลายเทคนิควิธีการ เช่น ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม (silk screen) ภาพพิมพ์
กัดกรด (etching) ภาพพิมพ์สเตนซิล (stencil) ภาพพิมพ์แกะไม้ (woodcut) ฯลฯ
26
รูปที่ 38 MONOPRINT ,อ้าพร จิตนาริน
รูปที่ 39 PAPER BLOCK ,อ้าพร จิตนาริน
5. สื่อผสม
สื่อผสม (mixed media) เป็นงานวิจิตรศิลป์ที่ผสมผสานงานจิตรกรรม ประติมากรรม
ภาพพิมพ์ หรือเทคนิควิธีการต่างๆเข้าด้วยกัน อาจมีลักษณะเป็น 2 มิติหรือ 3 มิติก็ได้
27
รูปที่ 40 มานัส แก๎วโยธา, สื่อผสม
รูปที่ 41 มานัส แก๎วโยธา, สื่อผสม
6. ศิลปะภาพถําย
การถ่ายภาพ (photography) ที่จัดอยู่ในประเภทวิจิตรศิลป์นั้นเป็นการถ่ายภาพที่ใช้เทคนิค
และวิธีการที่แปลกกว่าภาพถ่ายธรรมดาเพื่อให้ได้ผลพิเศษในการถ่ายภาพ หรือเป็นภาพถ่ายที่
ทาให้ผู้ชมเกิดความเจริญทางสติปัญญา มีผลในทางสร้างสรรค์ มิใช่ภาพอนาจารหรือภาพถ่าย
โดยทั่วไป
28
รูปที่ 42 “ชาวม๎ง” ปิยฉัตร อุดมศรี , ภาพถําย
รูปที่ 43 “อนาคตของฉัน” ปิยฉัตร อุดมศรี , ภาพถําย
7. วรรณกรรม
วรรณกรรม (literature) หมายถึง งานประพันธ์ต่างๆทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง เป็นการ
แสดงออกถึงศิลปะในการใช้ภาษา โดยการเรียบเรียงถ้อยคาอย่างสละสลวยและเหมาะสม เพื่อ
ถ่ายทอดความรู้ความคิดของผู้ประพันธ์ หรือเป็นการเล่าเรื่องหรือพรรณนาถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
8. ดนตรีและนาฏศิลป์
ดนตรี (music) หมายถึงศิลปะที่แสดงออกโดยการเรียบเรียงระดับเสียงสูงต่าที่ใช้ความรู้สึก
และจินตนาการสร้างสรรค์ผสมผสานกันอย่างลงตัวผ่านเครื่องดนตรีชนิดต่างๆเพื่อให้เกิดความ
29
ไพเราะ ส่วนนาฏศิลป์ (drama) เป็นการแสดงออกทางลีลา ท่าทางการรา การแสดงโดยมี
จุดมุ่งหมายเพื่อความงาม ความพอใจ
รูปที่ 44 ฟ้อนเล็บ
งานศิลปะประเภทจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ภาพพิมพ์ สื่อผสม และ
ศิลปะภาพถ่าย เป็นศิลปะที่เรารับรู้และชื่นชมได้โดยใช้ประสาทสัมผัสทางตาด้วยการมองเห็น
เราจึงเรียกศิลปะทั้ง 6ประเภทนี้ว่า ทัศนศิลป์ (visual art) ส่วนศิลปะประเภทวรรณกรรมและ
ดนตรีและนาฏศิลป์ เรียก โสตทัศนศิลป์ (audiovisual art)
 ศิลปะประยุกต์
ศิลปะประยุกต์เป็นศิลปะที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์ใช้สอยเพื่อตอบสนองความต้องการ
ทางร่างกายเป็นอันดับแรก และคานึงถึงความงามเป็นอันดับรองมี 4 ประเภท คือ
1. พาณิชยศิลป์
พาณิชยศิลป์ (commercial art) เป็นศิลปะที่สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อประโยชน์ทางการค้า
ธุรกิจ การสื่อสาร เช่น ภาพโฆษณา โปสเตอร์ ประชาสัมพันธ์ ปกหนังสือ ปกซีดีเพลง
การตกแต่งหน้าร้านค้า (display) และโชว์รูม เป็นต้น
30
รูปที่ 45 โปสเตอร์เศรษฐกิจพอเพียง
รูปที่ 46 โปสเตอร์วันศิลป์ พีระศรี
31
รูปที่ 47 ปกหนังสือโป๊งเหนํง เกเร
รูปที่ 48 ภาพโฆษณาสินค๎ากระเป๋าถือ
2. มัณฑนศิลป์
มัณฑนศิลป์ (decorative art) คือ ศิลปะที่เกี่ยวกับการตกแต่งภายในและภายนอก
อาคารหรืองานสถาปัตยกรรมให้มีความสวยงามควบคู่ไปกับประโยชน์ใช้สอย มัณฑนศิลป์
32
เป็นส่วนหนึ่งของงานสถาปัตยกรรม ช่วยส่งเสริมให้งานก่อสร้างมีความสวยงามน่าอยู่มาก
ขึ้น เช่นการตกแต่งภายใน(interior design) ได้แก่การเลือกใช้สีเครื่องเรือน การตกแต่ง
ภายในสานักงาน โรงแรม ห้องประชุมสัมมนา การตกแต่งภายนอก (exterior design)
ได้แก่ การตกแต่งสวนหย่อม สวนพักผ่อน น้าตก น้าพุ สนามหญ้านอกบ้านหรืออาคาร
ให้มีความสวยงาม เป็นการช่วยเสริมให้งานสถาปัตยกรรมมีคุณค่าสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
รูปที่ 49 การตกแตํงภายในบ๎านคุณวิทวัส ทีมา บ๎านคีรี โครงการสวนแก๎ว จ.เชียงใหมํ
รูปที่ 50 การตกแตํงภายในบ๎านคุณวิทวัส ทีมา บ๎านคีรี โครงการสวนแก๎ว จ.เชียงใหมํ
33
3. ศิลปหัตถกรรม
ศิลปหัตถกรรม (art and crafts) เป็นศิลปะที่ทาด้วยมือ สร้างขึ้นมาเพื่อการใช้สอย
หรือประกอบพิธีกรรมตามประเพณีหรือประกอบการละเล่นพื้นบ้าน มักจะถูกสร้างขึ้นมา
จานวนไม่มากนัก แค่พอเพียงที่จะใช้ตามความต้องการเท่านั้น ลักษณะรูปแบบจึงมัก
แตกต่างกันออกไปตามแต่วัสดุที่มีในท้องถิ่นและความพอใจของผู้ทา อาจใช้เครื่องมือบ้างแต่
ก็ทาด้วยมือเป็นส่วนใหญ่ งานเหล่านี้มักจะพบในท้องถิ่นชนบทอาจเรียกศิลปะประเภทนี้ว่า
ศิลปะพื้นบ้าน (folk art) ซึ่งจะพบเห็นทั้งในรูปของจิตรกรรม ประติมากรรม และอื่นๆ
ประกอบรวมกันอย่างเหมาะสมกลมกลืน ควรค่าแก่การศึกษาและอนุรักษ์ไว้ เพราะเป็น
ส่วนหนึ่งของศิลปวัฒนธรรมซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาติด้วย
รูปที่ 51 รํมบํอสร๎าง จ.เชียงใหมํ
รูปที่ 52 หนังตะลุง
34
4. อุตสาหกรรมศิลป์
อุตสาหกรรมศิลป์ (industrial art) หมายถึงผลงานที่ถูกผลิตขึ้นมาเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของมนุษย์และสังคม มีทั้งคุณค่าประโยชน์ใช้สอย และความงามควบคู่กันไป เป็น
งานที่ผลิตจานวนมากๆ โดยใช้เครื่องจักรเป็นตัวผลิตที่สาคัญ ผลงานที่ออกมามีลักษณะ
เหมือนๆกันเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการของสังคม เช่น การออกแบบผลิตภัณฑ์
(product design)
รูปที่ 53 โต๏ะเข๎ามุมและเก๎าอี้มงกุฎ ร๎านศักดิ์สิทธิ์เฟอร์นิเจอร์ไม๎สัก อ.สูงเมํน จ.แพรํ
2.3 ความเข๎าใจในองค์ประกอบศิลปะ
องค์ประกอบศิลปะ หมายถึงการนาส่วนประกอบ(องค์ประกอบ) ที่จาเป็นในการสร้างสรรค์
ศิลปะและการออกแบบต่างๆมารวมเข้าด้วยกันอย่างพอเหมาะลงตัวและเกิดเป็นผลงานขึ้น ซึ่งเรา
อาจจะใช้องค์ประกอบทุกชนิดหรือบางชนิดมาใช้ในการทางานก็ได้
การนาองค์ประกอบศิลปะมาใช้สร้างสรรค์งานขึ้นอยู่กับลักษณะของงาน จุดมุ่งหมายของ
งาน ทักษะ ประสบการณ์ ตลอดจนความพอใจของผู้สร้างสรรค์ผลงานนั้นๆ หลายคนเข้าใจว่า
องค์ประกอบศิลปะมีความสาคัญต่อการเขียนภาพและการออกแบบ หรืองานที่เกี่ยวข้องกับการวาด
เขียน นั่นก็เป็นสิ่งที่ถูกต้อง แต่องค์ประกอบศิลปะมิได้มีประโยชน์เฉพาะที่กล่าวนี้เท่านั้น
องค์ประกอบศิลปะมีความจาเป็นต่องานสาขาวิจิตรศิลป์เกือบทุกประเภท เช่น งานจิตรกรรม
35
ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ภาพพิมพ์ สื่อผสม ภาพถ่าย นอกจากนี้ องค์ประกอบศิลปะยังมี
ความจาเป็นต่องานศิลปะประยุกต์และงานออกแบบสร้างสรรค์ต่างๆ เช่นกัน ซึ่งเราจะได้รู้จักกับ
องค์ประกอบแต่ละชนิดและการนาองค์ประกอบไปใช้ในการทางานแต่ละประเภทในลาดับต่อไป
2.4 จุดมุํงหมายขององค์ประกอบศิลปะ
 เพื่อดึงดูดความสนใจ
ในการสร้างงานศิลปะหรือการออกแบบใดๆศิลปินหรือนักออกแบบต้องมีจุดมุ่งหมายเพื่อ
ความพอใจของตนเองและผู้อื่นด้วย ฉะนั้นจึงต้องพยายามทาให้ผลงานที่ออกมามีความน่าสนใจ ซึ่ง
จะต้องใช้องค์ประกอบต่างๆมาจัดเข้าด้วยกัน โดยใช้หลักเรื่องการเน้นหรือความเด่นเป็นสาคัญ
งานที่ต้องการแสดงความเด่นหรือจุดสนใจ (center of interest) อย่างมาก ได้แก่ ภาพ
โฆษณาสินค้า ภาพโปสเตอร์ งานทัศนศิลป์ งานตกแต่งภายใน งานตกแต่งภายนอก งานตกแต่ง
ร้านค้า ฯลฯ
รูปที่ 54 งานเซรามิค คุณรัตนา ทองงาม
 เพื่อแสดงความมุํงหมาย
การนาองค์ประกอบมาจัดอย่างเหมาะสมในงานทัศนศิลป์และงานศิลปะประยุกต์เพื่อแสดง
เรื่องราวหรือสื่อความหมาย เกิดจากความต้องการที่จะสื่อสารหรือแสดงความคิดเห็นของเจ้าของ
ผลงานให้ผู้ดูได้รับรู้ ผู้ดูต้องมีความตั้งใจ และใช้เวลามากพอที่จะพิจารณาผลงานจนรับรู้และเข้าใจ
ผลงานนั้นได้ตรงตามความมุ่งหมายของเจ้าของผลงานนั้น
36
รูปที่ 55 ผู๎ชมงานศิลปะ
2.5 การแบํงองค์ประกอบศิลปะ
ตามที่กล่าวมาแล้วว่าองค์ประกอบศิลปะคือสิ่งจาเป็นในการสร้างสรรค์งานศิลปะ
องค์ประกอบบางเรื่องเป็นส่วนประกอบขององค์ประกอบอีกเรื่องหนึ่ง เช่น เส้น เป็นส่วนประกอบ
ของรูปร่างรูปทรง
รูปที่ 56 “พอเพียง1” ปิยฉัตร อุดมศรี, สีฝุ่นบนดินสองพอง
องค์ประกอบบางเรื่องเป็นผลมาจากองค์ประกอบอื่นๆ เช่น ค่าความอ่อนแก่ทาให้เกิดแสงเงา
และแสงเงาทาให้รูปร่างมองเห็นเป็นรูปทรง รูปร่าง รูปทรงที่ถูกขนาดสมจริงทาให้เกิดส่วนสัด
37
ความแตกต่างกันของเส้น รูปทรง สี ลักษณะผิว ฯลฯ ทาให้เกิดการตัดกัน ความคล้ายคลึงกันของ
เส้น สี ลักษณะผิว หรือรูปร่าง รูปทรงทาให้เกิดความกลมกลืน หรือการซ้าที่เป็นจังหวะเหมือนกัน
ทาให้เกิดลวดลาย เป็นต้น
จะสังเกตเห็นว่าองค์ประกอบแต่ละเรื่องมีความสัมพันธ์ และเกี่ยวข้องกัน เพื่อความง่ายต่อ
การศึกษาจะขอจัดองค์ประกอบโดยแบ่งตามหน้าที่ และความจาเป็นขององค์ประกอบดังนี้
 องค์ประกอบที่เป็นพื้นฐานในการสร้างงานศิลปะ
องค์ประกอบที่เป็นพื้นฐานในการสร้างงานศิลปะประกอบด้วย
1. จุด (point)
2. เส้น (line)
3. รูปร่าง รูปทรง มวล (shape , form , mass)
4. ลักษณะผิว (texture)
5. ส่วนสัด (proportion)
6. สี (color)
7. น้าหนัก หรือค่าความอ่อนแก่ (tone)
8. แสงและเงา (light and shadow)
9. ที่ว่าง (space)
 องค์ประกอบที่เป็นหลักในการสร้างงานศิลปะ
องค์ประกอบที่เป็นหลักในการสร้างงานศิลปะประกอบด้วย
1. การซ้า (repetition)
2. จังหวะ (rhythm)
3. ลวดลาย (pattern)
4. การลดหลั่น (gradation)
5. ทิศทาง (direction)
6. ความกลมกลืน (harmony)
7. การตัดกัน (contrast)
8. ความสมดุล (balance)
9. เอกภาพ (unity)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
Heeroyuy Heero
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
teerachon
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
teerachon
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
Tonkao Limsila
 
กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4
thnaporn999
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากล
พัน พัน
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
peter dontoom
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
Thanawadee Prim
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
guestb5b79b
 

Was ist angesagt? (20)

ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2
 
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
 
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programmeสูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
ข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะ
 
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
 
กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะ
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
 
สีและการผสมสี
สีและการผสมสีสีและการผสมสี
สีและการผสมสี
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากล
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

Andere mochten auch

เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
mathawee wattana
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
mathawee wattana
 
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
mathawee wattana
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
เทวัญ ภูพานทอง
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
พงศธร ภักดี
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
srkschool
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
Jane Janjira
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
Kanistha Chudchum
 

Andere mochten auch (17)

เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
 
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
คู่มือครู(กิจกรรม) การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1-3
 
08+heap4+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 ประถม 4 6
08+heap4+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 ประถม 4 608+heap4+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 ประถม 4 6
08+heap4+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 ประถม 4 6
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
หน่วยที่ 3 การตกแต่งภาพด้วย layer
หน่วยที่ 3  การตกแต่งภาพด้วย layerหน่วยที่ 3  การตกแต่งภาพด้วย layer
หน่วยที่ 3 การตกแต่งภาพด้วย layer
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 

Ähnlich wie เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
Yatphirun Phuangsuwan
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
Yatphirun Phuangsuwan
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
Yatphirun Phuangsuwan
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะ
kthananchai
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
Preeda Chanlutin
 
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ครูหนุ่ม สอนศิลปะ
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
sirikase
 
ความเข้าใจในทัศนศิลป์
ความเข้าใจในทัศนศิลป์ความเข้าใจในทัศนศิลป์
ความเข้าใจในทัศนศิลป์
Chanon Moongkhetklang
 
แนะนำรายวิชาศิลปะม.3
แนะนำรายวิชาศิลปะม.3แนะนำรายวิชาศิลปะม.3
แนะนำรายวิชาศิลปะม.3
OohhoO1
 
ศิลปศึกษา
ศิลปศึกษาศิลปศึกษา
ศิลปศึกษา
Lchigo Kurosaki
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
kkrunuch
 

Ähnlich wie เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2 (20)

9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
กำหนดการสอน
กำหนดการสอนกำหนดการสอน
กำหนดการสอน
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะ
 
ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
 
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
ความเข้าใจในทัศนศิลป์
ความเข้าใจในทัศนศิลป์ความเข้าใจในทัศนศิลป์
ความเข้าใจในทัศนศิลป์
 
สื่อการสอน59
สื่อการสอน59สื่อการสอน59
สื่อการสอน59
 
ศิลปะคืออะไร
ศิลปะคืออะไรศิลปะคืออะไร
ศิลปะคืออะไร
 
แนะนำรายวิชาศิลปะม.3
แนะนำรายวิชาศิลปะม.3แนะนำรายวิชาศิลปะม.3
แนะนำรายวิชาศิลปะม.3
 
ศิลปศึกษา
ศิลปศึกษาศิลปศึกษา
ศิลปศึกษา
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3
 

Mehr von mathawee wattana

สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
mathawee wattana
 
สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
mathawee wattana
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
mathawee wattana
 
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flashการสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
mathawee wattana
 

Mehr von mathawee wattana (9)

1002557
10025571002557
1002557
 
2557
25572557
2557
 
สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
สื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
สรุปบทที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
3
33
3
 
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flashการสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
 
mac
macmac
mac
 

เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2

  • 1. 18 บทที่2 เรื่อง ความเข๎าใจในศิลปะ 2.1 ความหมายของศิลปะ ศิลปะเกิดขึ้นมาในสังคมมนุษย์ตั้งแต่สมัยอดีตและมีวัฒนาการเรื่อยมาจวบจนปัจจุบัน ได้มีผู้นิยาม ความหมายของศิลปะไว้มากมาย อาทิ  ศิลปะคือการเลียนแบบธรรมชาติ  ศิลปะคือสื่อสากลที่ใช้ติดต่อกันระหว่างมนุษย์  ศิลปะคือการแสดงออกทางความงาม  ศิลปะคือภาษาชนิดหนึ่ง  ศิลปะคือการแสดงออกเกี่ยวกับความศรัทธาและความเชื่อของมนุษย์แต่ละยุคสมัย  ศิลปะคือการแสดงออกทางบุคลิกภาพ  ศิลปะคือความชานาญในการจัดลาดับประสบการณ์และการถ่ายทอดจินตนาการ  ศิลปะคือการแสดงออกทางด้านสังคม อารมณ์ และสติปัญญา  ศิลปะคือการรับรู้ทางการมองเห็น  ศิลปะคือการถ่ายทอดความรู้สึกเป็นรูปทรงในรูปของผลงาน จากความหมายต่างๆดังกล่าวสรุปได้ว่าศิลปะคือผลงานที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นในรูปลักษณ์ต่างๆให้ ปรากฏซึ่งสุนทรียภาพ ความประทับใจ ความสะเทือนใจ ตามทักษะของแต่ละคน เพื่อความงาม และความพอใจ
  • 2. 19 รูปที่ 25 “จิตรกรรมฝาผนังวัดบางแคใหญํ” ปิยฉัตร อุดมศรี ,สีฝุ่นบนพื้นกาวเมล็ดมะขาม รูปที่ 26 “Sweet Guilt” อรรถวิท บุญวรรณ ,สีน้้ามัน
  • 3. 20 รูปที่ 27 “แฮปปี้แลนด์1” ปิยฉัตร อุดมศรี, ขี้เลื่อย เชือกปอ 2.2 ขอบขํายของศิลปะ ศิลปะ ( art ) แบ่งออกเป็น 2ประเภท คือ 1. วิจิตรศิลป์ ( fine art ) 2. ศิลปะประยุกต์ ( applied art )  วิจิตรศิลป์ วิจิตรศิลป์คืองานศิลปะที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อความงาม ความพอใจมากกว่าประโยชน์ใช้สอย เราอาจ เรียกศิลปะสาขานี้ว่า ศิลปะบริสุทธิ์ (pure art) เพราะศิลปินจะสร้างสรรค์งานขึ้นมาด้วยความพอใจ ความ บริสุทธิ์ มิได้หวังผลตอบแทนใดๆหรืออาจเพื่อใช้ประโยชน์บ้าง แต่ก็เน้นความละเอียดลออในการสร้างสรรค์ ให้วิจิตรพิสดารหรูหราเกินความจาเป็นแก่ประโยชน์ใช้สอย จึงอาจเรียกศิลปะสาขานี้ว่า ประณีตศิลป์ วิจิตรศิลป์แบ่งออกเป็น 8 ประเภท คือ 1. จิตรกรรม จิตรกรรม (painting) คือการเขียนภาพลงบนวัตถุต่างๆ เช่น กระดาษ ไม้อัด ผ้าใบ ผนัง ปูน ฯลฯ สีที่ใช้ในการเขียน เช่น สีน้า สีโปสเตอร์ สีชอล์ก สีน้ามัน สีอะคริลิก ผงถ่าน คาร์บอน ภาพที่เขียนมีหลายลักษณะ เช่น ภาพคนเหมือน (portrait) ภาพสัตว์ (animal) ภาพทิวทัศน์บก (landscape) ภาพทิวทัศน์ทะเล (seascape) ภาพหุ่นนิ่ง (still life) ภาพ
  • 4. 21 ชีวิตประจาวัน (genre painting) จิตรกรรมฝาผนัง (mural painting) ภาพประกอบ (illustration) ฯลฯ รูปที่ 28 “ฤดูกาลแหํงชีวิต” ไกรสร วิชัยกุล, สีน้้ามันบนผ๎าใบ รูปที่ 29 “สายน้้าให๎ชีวิต” ไกรสร วิชัยกุล, สีน้้ามันบนผ๎าใบ
  • 5. 22 รูปที่ 30 “โมนาลิซํา” ลีโอนาร์โด ดาวินซี 2. ประติมากรรม ประติมากรรม (sculpture) หมายถึงงานศิลปกรรมที่สร้างเป็นรูปทรง 3 มิติ โดยวิธีการ แกะสลัก การปั้น หรือการใช้หลายวิธีร่วมกัน ได้แก่ การปั้น การแกะสลัก การหล่อ การทุบ การตี การเคาะ วัสดุที่ใช้ ได้แก่ ดิน ขี้ผึ้ง สบู่ ไม้ หิน ปูนปลาสเตอร์ โลหะต่างๆ งาน ประติมากรรมมีลักษณะเป็น 3 มิติ กล่าวคือ นอกจากความกว้าง และความยาวแล้ว ยังมี ความหนาหรือความลึกรวมทั้งปริมาตรของรูปทรงด้วย งานประติมากรรมแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ รูปที่ 31 “The Thinker” โอกุสต์ โรแดง
  • 6. 23 รูปที่ 32 “สนุกสนาน5” ปิยฉัตร อุดมศรี,ขี้เลื่อย เชือกปอ 2.1 ประติมากรรมนูนต่้า (bas relief) มีลักษณะเป็นเส้นร่องหรือเป็นแอ่งลึกลงไปเพียง เล็กน้อย หรือนูนจากพื้นขึ้นมาเพียงเล็กน้อยสามารถมองด้านหน้าได้เพียงด้านเดียว เช่น เหรียญ ศิลาจารึก ฯลฯ รูปที่ 33 เหรียญ10บาทด๎านหน๎าและด๎านหลัง 2.2 ประติมากรรมนูนสูง (high relief) คืองานที่มีลักษณะนูนขึ้นมาจากผิวพื้นมากกว่า แบบนูนต่า สามารถมองเห็นด้านข้างของงานได้พอสมควร เช่น รูปแกะสลักที่ฐาน อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ฯลฯ
  • 7. 24 รูปที่ 34 รูปสลักที่ฐานอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย 2.3 ประติมากรรมลอยตัว (round relief) เป็นงานที่มีลักษณะมองเห็นได้รอบด้าน เช่น รูปหล่อทหาร ตารวจที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ พระประธานในพระอุโบสถ ฯลฯ รูปที่ 35 พระบรมรูปทรงม๎า 3. สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม (architecture) หมายถึงการออกแบบก่อสร้างอาคารสถานที่ เช่น ที่อยู่ อาศัย สาธารณสถาน ศาสนสถาน ฯลฯ โดยคานึงถึงความสะดวกเหมาะสมกับการใช้สอย ความมั่นคงแข็งแรง ความสวยงามน่าชื่นชม ซึ่งถ้างานก่อสร้างอาคารสถานที่แห่งใดมีความ วิจิตร หรือประดับประดาสวยงามเกินจุดมุ่งหมายแค่เพียงที่อยู่อาศัยหรือใช้สอยอื่นๆก็ยิ่งมีคุณค่า ในทางวิจิตรศิลป์มากยิ่งขึ้น
  • 8. 25 รูปที่ 36 วัดรํองขุํน รูปที่ 37 มหาวิหารพาเธนอน เอเธนส์ 4. ภาพพิมพ์ ภาพพิมพ์ (printmaking) เป็นงานที่มีลักษณะเป็น 2 มิติบนพื้นระนาบคล้ายกับงาน จิตรกรรม ต่างกันคือภาพพิมพ์จะต้องสร้างสรรค์บนแม่พิมพ์ก่อน แล้วจึงนาไปพิมพ์บนแผ่น ภาพ การพิมพ์ภาพมีหลายเทคนิควิธีการ เช่น ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม (silk screen) ภาพพิมพ์ กัดกรด (etching) ภาพพิมพ์สเตนซิล (stencil) ภาพพิมพ์แกะไม้ (woodcut) ฯลฯ
  • 9. 26 รูปที่ 38 MONOPRINT ,อ้าพร จิตนาริน รูปที่ 39 PAPER BLOCK ,อ้าพร จิตนาริน 5. สื่อผสม สื่อผสม (mixed media) เป็นงานวิจิตรศิลป์ที่ผสมผสานงานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ หรือเทคนิควิธีการต่างๆเข้าด้วยกัน อาจมีลักษณะเป็น 2 มิติหรือ 3 มิติก็ได้
  • 10. 27 รูปที่ 40 มานัส แก๎วโยธา, สื่อผสม รูปที่ 41 มานัส แก๎วโยธา, สื่อผสม 6. ศิลปะภาพถําย การถ่ายภาพ (photography) ที่จัดอยู่ในประเภทวิจิตรศิลป์นั้นเป็นการถ่ายภาพที่ใช้เทคนิค และวิธีการที่แปลกกว่าภาพถ่ายธรรมดาเพื่อให้ได้ผลพิเศษในการถ่ายภาพ หรือเป็นภาพถ่ายที่ ทาให้ผู้ชมเกิดความเจริญทางสติปัญญา มีผลในทางสร้างสรรค์ มิใช่ภาพอนาจารหรือภาพถ่าย โดยทั่วไป
  • 11. 28 รูปที่ 42 “ชาวม๎ง” ปิยฉัตร อุดมศรี , ภาพถําย รูปที่ 43 “อนาคตของฉัน” ปิยฉัตร อุดมศรี , ภาพถําย 7. วรรณกรรม วรรณกรรม (literature) หมายถึง งานประพันธ์ต่างๆทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง เป็นการ แสดงออกถึงศิลปะในการใช้ภาษา โดยการเรียบเรียงถ้อยคาอย่างสละสลวยและเหมาะสม เพื่อ ถ่ายทอดความรู้ความคิดของผู้ประพันธ์ หรือเป็นการเล่าเรื่องหรือพรรณนาถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง 8. ดนตรีและนาฏศิลป์ ดนตรี (music) หมายถึงศิลปะที่แสดงออกโดยการเรียบเรียงระดับเสียงสูงต่าที่ใช้ความรู้สึก และจินตนาการสร้างสรรค์ผสมผสานกันอย่างลงตัวผ่านเครื่องดนตรีชนิดต่างๆเพื่อให้เกิดความ
  • 12. 29 ไพเราะ ส่วนนาฏศิลป์ (drama) เป็นการแสดงออกทางลีลา ท่าทางการรา การแสดงโดยมี จุดมุ่งหมายเพื่อความงาม ความพอใจ รูปที่ 44 ฟ้อนเล็บ งานศิลปะประเภทจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ภาพพิมพ์ สื่อผสม และ ศิลปะภาพถ่าย เป็นศิลปะที่เรารับรู้และชื่นชมได้โดยใช้ประสาทสัมผัสทางตาด้วยการมองเห็น เราจึงเรียกศิลปะทั้ง 6ประเภทนี้ว่า ทัศนศิลป์ (visual art) ส่วนศิลปะประเภทวรรณกรรมและ ดนตรีและนาฏศิลป์ เรียก โสตทัศนศิลป์ (audiovisual art)  ศิลปะประยุกต์ ศิลปะประยุกต์เป็นศิลปะที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์ใช้สอยเพื่อตอบสนองความต้องการ ทางร่างกายเป็นอันดับแรก และคานึงถึงความงามเป็นอันดับรองมี 4 ประเภท คือ 1. พาณิชยศิลป์ พาณิชยศิลป์ (commercial art) เป็นศิลปะที่สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อประโยชน์ทางการค้า ธุรกิจ การสื่อสาร เช่น ภาพโฆษณา โปสเตอร์ ประชาสัมพันธ์ ปกหนังสือ ปกซีดีเพลง การตกแต่งหน้าร้านค้า (display) และโชว์รูม เป็นต้น
  • 13. 30 รูปที่ 45 โปสเตอร์เศรษฐกิจพอเพียง รูปที่ 46 โปสเตอร์วันศิลป์ พีระศรี
  • 14. 31 รูปที่ 47 ปกหนังสือโป๊งเหนํง เกเร รูปที่ 48 ภาพโฆษณาสินค๎ากระเป๋าถือ 2. มัณฑนศิลป์ มัณฑนศิลป์ (decorative art) คือ ศิลปะที่เกี่ยวกับการตกแต่งภายในและภายนอก อาคารหรืองานสถาปัตยกรรมให้มีความสวยงามควบคู่ไปกับประโยชน์ใช้สอย มัณฑนศิลป์
  • 15. 32 เป็นส่วนหนึ่งของงานสถาปัตยกรรม ช่วยส่งเสริมให้งานก่อสร้างมีความสวยงามน่าอยู่มาก ขึ้น เช่นการตกแต่งภายใน(interior design) ได้แก่การเลือกใช้สีเครื่องเรือน การตกแต่ง ภายในสานักงาน โรงแรม ห้องประชุมสัมมนา การตกแต่งภายนอก (exterior design) ได้แก่ การตกแต่งสวนหย่อม สวนพักผ่อน น้าตก น้าพุ สนามหญ้านอกบ้านหรืออาคาร ให้มีความสวยงาม เป็นการช่วยเสริมให้งานสถาปัตยกรรมมีคุณค่าสมบูรณ์ยิ่งขึ้น รูปที่ 49 การตกแตํงภายในบ๎านคุณวิทวัส ทีมา บ๎านคีรี โครงการสวนแก๎ว จ.เชียงใหมํ รูปที่ 50 การตกแตํงภายในบ๎านคุณวิทวัส ทีมา บ๎านคีรี โครงการสวนแก๎ว จ.เชียงใหมํ
  • 16. 33 3. ศิลปหัตถกรรม ศิลปหัตถกรรม (art and crafts) เป็นศิลปะที่ทาด้วยมือ สร้างขึ้นมาเพื่อการใช้สอย หรือประกอบพิธีกรรมตามประเพณีหรือประกอบการละเล่นพื้นบ้าน มักจะถูกสร้างขึ้นมา จานวนไม่มากนัก แค่พอเพียงที่จะใช้ตามความต้องการเท่านั้น ลักษณะรูปแบบจึงมัก แตกต่างกันออกไปตามแต่วัสดุที่มีในท้องถิ่นและความพอใจของผู้ทา อาจใช้เครื่องมือบ้างแต่ ก็ทาด้วยมือเป็นส่วนใหญ่ งานเหล่านี้มักจะพบในท้องถิ่นชนบทอาจเรียกศิลปะประเภทนี้ว่า ศิลปะพื้นบ้าน (folk art) ซึ่งจะพบเห็นทั้งในรูปของจิตรกรรม ประติมากรรม และอื่นๆ ประกอบรวมกันอย่างเหมาะสมกลมกลืน ควรค่าแก่การศึกษาและอนุรักษ์ไว้ เพราะเป็น ส่วนหนึ่งของศิลปวัฒนธรรมซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาติด้วย รูปที่ 51 รํมบํอสร๎าง จ.เชียงใหมํ รูปที่ 52 หนังตะลุง
  • 17. 34 4. อุตสาหกรรมศิลป์ อุตสาหกรรมศิลป์ (industrial art) หมายถึงผลงานที่ถูกผลิตขึ้นมาเพื่อตอบสนองความ ต้องการของมนุษย์และสังคม มีทั้งคุณค่าประโยชน์ใช้สอย และความงามควบคู่กันไป เป็น งานที่ผลิตจานวนมากๆ โดยใช้เครื่องจักรเป็นตัวผลิตที่สาคัญ ผลงานที่ออกมามีลักษณะ เหมือนๆกันเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการของสังคม เช่น การออกแบบผลิตภัณฑ์ (product design) รูปที่ 53 โต๏ะเข๎ามุมและเก๎าอี้มงกุฎ ร๎านศักดิ์สิทธิ์เฟอร์นิเจอร์ไม๎สัก อ.สูงเมํน จ.แพรํ 2.3 ความเข๎าใจในองค์ประกอบศิลปะ องค์ประกอบศิลปะ หมายถึงการนาส่วนประกอบ(องค์ประกอบ) ที่จาเป็นในการสร้างสรรค์ ศิลปะและการออกแบบต่างๆมารวมเข้าด้วยกันอย่างพอเหมาะลงตัวและเกิดเป็นผลงานขึ้น ซึ่งเรา อาจจะใช้องค์ประกอบทุกชนิดหรือบางชนิดมาใช้ในการทางานก็ได้ การนาองค์ประกอบศิลปะมาใช้สร้างสรรค์งานขึ้นอยู่กับลักษณะของงาน จุดมุ่งหมายของ งาน ทักษะ ประสบการณ์ ตลอดจนความพอใจของผู้สร้างสรรค์ผลงานนั้นๆ หลายคนเข้าใจว่า องค์ประกอบศิลปะมีความสาคัญต่อการเขียนภาพและการออกแบบ หรืองานที่เกี่ยวข้องกับการวาด เขียน นั่นก็เป็นสิ่งที่ถูกต้อง แต่องค์ประกอบศิลปะมิได้มีประโยชน์เฉพาะที่กล่าวนี้เท่านั้น องค์ประกอบศิลปะมีความจาเป็นต่องานสาขาวิจิตรศิลป์เกือบทุกประเภท เช่น งานจิตรกรรม
  • 18. 35 ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ภาพพิมพ์ สื่อผสม ภาพถ่าย นอกจากนี้ องค์ประกอบศิลปะยังมี ความจาเป็นต่องานศิลปะประยุกต์และงานออกแบบสร้างสรรค์ต่างๆ เช่นกัน ซึ่งเราจะได้รู้จักกับ องค์ประกอบแต่ละชนิดและการนาองค์ประกอบไปใช้ในการทางานแต่ละประเภทในลาดับต่อไป 2.4 จุดมุํงหมายขององค์ประกอบศิลปะ  เพื่อดึงดูดความสนใจ ในการสร้างงานศิลปะหรือการออกแบบใดๆศิลปินหรือนักออกแบบต้องมีจุดมุ่งหมายเพื่อ ความพอใจของตนเองและผู้อื่นด้วย ฉะนั้นจึงต้องพยายามทาให้ผลงานที่ออกมามีความน่าสนใจ ซึ่ง จะต้องใช้องค์ประกอบต่างๆมาจัดเข้าด้วยกัน โดยใช้หลักเรื่องการเน้นหรือความเด่นเป็นสาคัญ งานที่ต้องการแสดงความเด่นหรือจุดสนใจ (center of interest) อย่างมาก ได้แก่ ภาพ โฆษณาสินค้า ภาพโปสเตอร์ งานทัศนศิลป์ งานตกแต่งภายใน งานตกแต่งภายนอก งานตกแต่ง ร้านค้า ฯลฯ รูปที่ 54 งานเซรามิค คุณรัตนา ทองงาม  เพื่อแสดงความมุํงหมาย การนาองค์ประกอบมาจัดอย่างเหมาะสมในงานทัศนศิลป์และงานศิลปะประยุกต์เพื่อแสดง เรื่องราวหรือสื่อความหมาย เกิดจากความต้องการที่จะสื่อสารหรือแสดงความคิดเห็นของเจ้าของ ผลงานให้ผู้ดูได้รับรู้ ผู้ดูต้องมีความตั้งใจ และใช้เวลามากพอที่จะพิจารณาผลงานจนรับรู้และเข้าใจ ผลงานนั้นได้ตรงตามความมุ่งหมายของเจ้าของผลงานนั้น
  • 19. 36 รูปที่ 55 ผู๎ชมงานศิลปะ 2.5 การแบํงองค์ประกอบศิลปะ ตามที่กล่าวมาแล้วว่าองค์ประกอบศิลปะคือสิ่งจาเป็นในการสร้างสรรค์งานศิลปะ องค์ประกอบบางเรื่องเป็นส่วนประกอบขององค์ประกอบอีกเรื่องหนึ่ง เช่น เส้น เป็นส่วนประกอบ ของรูปร่างรูปทรง รูปที่ 56 “พอเพียง1” ปิยฉัตร อุดมศรี, สีฝุ่นบนดินสองพอง องค์ประกอบบางเรื่องเป็นผลมาจากองค์ประกอบอื่นๆ เช่น ค่าความอ่อนแก่ทาให้เกิดแสงเงา และแสงเงาทาให้รูปร่างมองเห็นเป็นรูปทรง รูปร่าง รูปทรงที่ถูกขนาดสมจริงทาให้เกิดส่วนสัด
  • 20. 37 ความแตกต่างกันของเส้น รูปทรง สี ลักษณะผิว ฯลฯ ทาให้เกิดการตัดกัน ความคล้ายคลึงกันของ เส้น สี ลักษณะผิว หรือรูปร่าง รูปทรงทาให้เกิดความกลมกลืน หรือการซ้าที่เป็นจังหวะเหมือนกัน ทาให้เกิดลวดลาย เป็นต้น จะสังเกตเห็นว่าองค์ประกอบแต่ละเรื่องมีความสัมพันธ์ และเกี่ยวข้องกัน เพื่อความง่ายต่อ การศึกษาจะขอจัดองค์ประกอบโดยแบ่งตามหน้าที่ และความจาเป็นขององค์ประกอบดังนี้  องค์ประกอบที่เป็นพื้นฐานในการสร้างงานศิลปะ องค์ประกอบที่เป็นพื้นฐานในการสร้างงานศิลปะประกอบด้วย 1. จุด (point) 2. เส้น (line) 3. รูปร่าง รูปทรง มวล (shape , form , mass) 4. ลักษณะผิว (texture) 5. ส่วนสัด (proportion) 6. สี (color) 7. น้าหนัก หรือค่าความอ่อนแก่ (tone) 8. แสงและเงา (light and shadow) 9. ที่ว่าง (space)  องค์ประกอบที่เป็นหลักในการสร้างงานศิลปะ องค์ประกอบที่เป็นหลักในการสร้างงานศิลปะประกอบด้วย 1. การซ้า (repetition) 2. จังหวะ (rhythm) 3. ลวดลาย (pattern) 4. การลดหลั่น (gradation) 5. ทิศทาง (direction) 6. ความกลมกลืน (harmony) 7. การตัดกัน (contrast) 8. ความสมดุล (balance) 9. เอกภาพ (unity)