SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 14
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การเลือกใช้สื่อและ
วิธีการจัดการเรียนรู้
INNOVATION AND INFORMATION TECHNOLOGY FOR LEARNING
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
ครูพลกิต เป็นครูที่พึ่งมาบรรจุใหม่หลังจากที่รายการตัวต่อสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประจาจังหวัดที่สังกัดแล้วก็ไปรายงานตัวต่อโรงเรียนซึ่งเป็นโรงเรียนประจา
จังหวัด ผู้อานวยการโรงเรียนมอบหมายให้ครูพลกิตสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
และเป็นห้องเด็กเก่งด้วย ยิ่งทาให้ครูพลกิตรู้สึกไม่มั่นใจในการสอนว่าตนเองจะสามารถทา
ได้ดีหรือไม่และนักเรียนจะสนุกหรือสนใจในวิธีการสอนของตนเองหรือไม่ ที่สาคัญคือ
นักเรียนห้องนี้มีลักษณะที่ชอบค้นคว้า หาความรู้ กิจกรรมที่เน้นให้ปฏิบัติได้ลงมือกระทา
ฝึกคิดหรือที่ท้ายทายการทางานนักเรียนจะชอบมาก อีกทั้งยังเรียนพิเศษแบบเข้มข้น
เนื้อหาในหนังสือเรียนส่วนใหญ่นักเรียนจะรู้และทาความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมาก่อนแล้ว
แต่ที่สังเกตได้ชัดคือนักเรียนจะแข่งกันเรียน ทางานกลุ่มไม่ค่อยประสบความสาเร็จ
เท่าที่ควร ซึ่งผู้อานวยการโรงเรียนฝากความหวังไว้ที่ครูพลกิตเพื่อช่วยพัฒนาและ
แก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้องนี้ให้ได้
ภารกิจ
• ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ
จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ?
• ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใด
จึงจะสอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตาม
สถานการณ์ที่กาหนดให้ ?
1. ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ
จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ?
• การเตรียมสื่อการเรียนรู้
ผู้สอนจะต้องเตรียมความพร้อมของสื่อให้มีความสอดคล้องกับ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแผนที่ได้ออกแบบไว้ ในขั้นตอนการเตรียมความ
พร้อมของสื่อจะเริ่มตั้งแต่การคัดเลือกสื่อที่ตอบสนองวิธีการเรียนรู้เพื่อใช้ในการนา
เสนอความรู้ การพัฒนาหรือปรับปรุงสื่อเพื่อให้สามารถใช้งานได้ ตลอดจนการ
ออกแบบและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ขึ้นมาใหม่ที่มีความสอดคล้องกับการเสาะแสวงหา
ความรู้และเป้าหมายของรายวิชา ในการใช้สื่อนั้นผู้สอนอาจแบ่งออกเป็น 3 ช่วง
คือ
- ก่อนการจัดการเรียนรู้
- ระหว่างการจัดการเรียนรู้
- หลังการจัดการเรียนรู้
1. ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ
จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ?
• การเตรียมสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
ผู้สอนแบบมืออาชีพ จะต้องกาหนดหรือจัดเตรียมสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสามารถสร้างประสบการณ์เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าการ
จัดการเรียนรู้นั้นจะเกิดในห้องเรียนก็ต้องเตรียมความพร้อมของห้องเรียนให้น่า
เรียน เอื้อต่อการจัดกิจกรรมกลุ่มหรือกิจกรรมการเรียนรู้อื่นๆ บางวิชาอาจต้องใช้
ห้องปฏิบัติการดังเช่น วิทยาศาสตร์และภาษา ครูจะต้องเตรียมความพร้อมของ
ห้องปฏิบัติการเหล่านั้นให้สามารถใช้การได้ทั้งสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ ดังเช่น
- แสงไฟ
- เครื่องเสียง
- ปลั๊กไฟ
- อุปกรณ์ทดลองเฉพาะ
โดยให้อุปกรณ์เหล่านั้นมีสภาพที่พร้อมใช้งานได้จริง ไม่ใช้อยู่ในสภาพ
ชารุดเสียหาย เพราะอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้
1. ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ
จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ?
• การเตรียมผู้เรียน
เมื่อผู้สอนเริ่มจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนแรกคือการเตรียมความพร้อมของ
ผู้เรียน ผู้เรียนจะเรียนรู้อะไรได้ดีนั้นขึ้นอยู่กับว่าผู้เรียนนั้นเตรียมตัวและเตรียม
ความพร้อมในการเรียนอย่างไร ดังนั้นการเตรียมผู้เรียนจึงมีความสาคัญมากเมื่อ
ผู้สอนจะดาเนินการจัดการเรียนรู้ตามที่วางแผนไว้เพราะผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ลงมือ
ปฏิบัติกิจกรรมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ความเข้าใจของผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างแรงจูงใจ
และการปฐมนิเทศก่อนเรียนเป็นสิ่งที่มีความสาคัญมากที่ผู้สอนจะต้องจัดในช่วงแรก
ของการเรียนการสอนในแต่ละครั้ง เทคนิคที่สาคัญที่ผู้สอนสามารถนาไปใช้ได
1. ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ
จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ?
• การเตรียมผู้เรียน
เมื่อผู้สอนเริ่มจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนแรกคือการเตรียมความพร้อมของ
ผู้เรียน ผู้เรียนจะเรียนรู้อะไรได้ดีนั้นขึ้นอยู่กับว่าผู้เรียนนั้นเตรียมตัวและเตรียม
ความพร้อมในการเรียนอย่างไร ดังนั้นการเตรียมผู้เรียนจึงมีความสาคัญมากเมื่อ
ผู้สอนจะดาเนินการจัดการเรียนรู้ตามที่วางแผนไว้เพราะผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ลงมือ
ปฏิบัติกิจกรรมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ความเข้าใจของผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างแรงจูงใจ
และการปฐมนิเทศก่อนเรียนเป็นสิ่งที่มีความสาคัญมากที่ผู้สอนจะต้องจัดในช่วงแรก
ของการเรียนการสอนในแต่ละครั้ง เทคนิคที่สาคัญที่ผู้สอนสามารถนาไปใช้ได
1. ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ
จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ?
• การดาเนินการตามบทเรียน
หลังจากที่ผู้สอนได้เตรียมการทั้งสื่อ สิ่งแวดล้อมทางการเรียน และ
ผู้เรียนเป็นที่เรียบร้อยแล้วเพื่อให้การดาเนินการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนเป็นไป
อย่างราบรื่นบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ ควรดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้
- การให้กิจกรรมการเรียนรู้ที่ชัดเจน ผู้สอนควรอธิบายภารกิจการ
เรียนรู้หรือสถานการณ์ให้ผู้เรียนทราบถึงแนวทางปฏิบัติในการเรียน และจะต้อง
ตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนเกี่ยวกับขั้นตอนในการปฏิบัติกิจกรรม
- การกาหนดขั้นตอนในการเรียนรู้ ผู้สอนจะต้องวางขั้นตอนของ
กิจกรรมให้ง่ายและขับเคลื่อนให้ผู้เรียนสามารถดาเนินการเรียนรู้ได้ตามเป้าหมาย
ของกิจกรรม
- การสร้างแรงจูงใจในการเรียน ในการเรียนผู้เรียนจะต้องใส่ใจกับ
ภารกิจที่ได้รับ ผู้สอนสามารถสนับสนุนให้ผู้เรียนมีความตระหนักและตื่นตัวในการ
เรียน ด้วยการชี้นาให้ผู้เรียนเห็น (มีต่อ)
1. ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ
จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ?
• การดาเนินการตามบทเรียน (ต่อ)
- การสร้างแรงจูงใจในการเรียน ในการเรียนผู้เรียนจะต้องใส่ใจกับ
ภารกิจที่ได้รับ ผู้สอนสามารถสนับสนุนให้ผู้เรียนมีความตระหนักและตื่นตัวในการ
เรียน ด้วยการชี้นาให้ผู้เรียนเห็นถึงมุมมองที่หลากหลายเกี่ยวกับภารกิจทั้งประเด็น
และแนวทางแก้ปัญหา การส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างที่อยู่รอบตัวเพื่อ
ค้นหาแนวทางแก้ปัญหา
- การตั้งคาถามในระหว่างเรียน การตั้งคาถาม เป็นเทคนิคที่ผู้สอน
สามารถใช้ในการกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับการเรียน การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิด
ทั้งยังเป็นการประเมินเพื่อพัฒนาความเข้าใจของผู้เรียนในขณะเรียนได้เป็นอย่างดี
2. ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึงจะ
สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กาหนดให้ ?
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือ เป็นกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้
นักเรียนเรียนด้วยกันเป็นกลุ่มเล็กแบบคละความสามารถ ให้ทางานร่วมกัน ช่วยเหลือกัน
ในการผสมผสานความรู้ที่มีอยู่เดิมกับความรู้ใหม่ และค้นพบความหมายของสิ่งที่ศึกษาด้วย
กลุ่ม โดยทากิจกรรมในการสืบค้น (Explore) อภิปราย (Discuss) อธิบาย (Explain)
สอบสวนแนวความคิดและแก้ปัญหาร่วมกันในกลุ่ม เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน เป็นวิธี
เรียนวิธีหนึ่งที่กาลังได้รับความสนใจและนาไปประยุกต์ในการเรียนการสอนทุกวิชาและทุก
ระดับชั้น รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือที่เป็นที่ยอมรับกันแพร่หลาย มีดังต่อไปนี้
1. STAD (Student Teams -Achievement Division) เป็นรูปแบบการเรียนรู้
มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาการสัมฤทธิ์พลของการเรียนและทักษะทางสังคมเป็นสาคัญ
2. 2. TGT (Team Games Tournament) เป็นรูปแบบที่คล้ายกับ STAD แต่
เป็นการจูงใจในการเรียนเพิ่มขึ้น โดยการใช้การแข่งขันเกมแทนการทดสอบย่อย
2. ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึงจะ
สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กาหนดให้ ?
การเรียนแบบร่วมมือ (ต่อ)
3. TAI (Team Assisted Individualization) เป็นรูปแบบการเรียน
ที่ผสมผสานแนวคิด ระหว่างการร่วมมือในการเรียนรู้กับการสอนเป็นรายบุคคล
(Individualized Instruction) รูปแบบ ของ TAI เป็นการประยุกต์ใช้กับการสอน
คณิตศาสตร์
4. CIRC (Cooperative Integrated Reading and
Composition) เป็นรูปแบบการเรียนแบบร่วมมือแบบผสมผสาน ที่มุ่งพัฒนาขึ้นเพื่อ
สอนการอ่านและการเขียนสาหรับนักเรียนประถมศึกษาตอนปลายโดยเฉพาะ
5. Jigsaw ผู้ที่คิดค้นการเรียนการสอนแบบ Jigsaw เริ่มแรกคือ Elliot –
Aronson และคณะ (1978) หลังจากนั้น Slavin ได้นาแนวคิดดังกล่าวมาปรับขยาย
เพื่อให้สอดคล้องกับรูปแบบการเรียนแบบร่วมมือมากยิ่งขึ้น เป็นรูปแบบที่เหมาะสมกับ
วิชาที่เกี่ยวข้องกับการบรรยาย เช่น สังคมศึกษาวรรณคดี วิทยาศาสตร์ในบางเรื่อง รวมทั้ง
วิชาอื่นๆ ที่เน้นการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจมากกว่าพัฒนาทักษะ
2. ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึงจะ
สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กาหนดให้ ?
การเรียนแบบร่วมมือ (ต่อ)
6. Co – op Co – op เป็นรูปแบบที่พัฒนาโดย Shlomo และ Yael
Shsran ที่ใช้ในงาน เฉพาะอย่าง ลักษณะสาคัญคือ สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มย่อยจะได้รับ
มอบหมายให้ศึกษาเนื้อหา หรือ ทากิจกรรมที่ต่างกัน ทาเสร็จแล้วนาผลงานมารวมกันเป็นกลุ่ม
ร่วมกันแก้ไขทบทวนแล้วนามาเสนอต่อชั้นเรียน
7. การเล่าเรื่องรอบวง (Round robin) เป็นเทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่
เปิดโอกาสให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มได้เล่าประสบการณ์ ความรู้ สิ่งที่ตนกาลังศึกษา สิ่งที่ตน
ประทับใจให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง
8. มุมสนทนา (Corners) เริ่มต้นจากการให้ผู้เรียนกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มเข้าไปนั่ง
ตามมุมหรือจุดต่างๆของห้องเรียน และช่วยกันหาคาตอบสาหรับโจทย์ปัญหาต่างๆ ที่ครูยกขึ้น
มา และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนอธิบายเรื่องราวที่ตนศึกษาให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟัง
9. คู่ตรวจสอบ (Pairs Check) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 หรือ 6 คน ให้
นักเรียนจับคู่กัน ทางาน คนหนึ่งทาหน้าที่เสนอแนะวิธีแก้ปัญหา อีกคนทาหน้าที่แก้โจทย์ เสร็จ
ข้อที่ 1 แล้วให้สลับหน้าที่กัน เมื่อเสร็จครบ 2 ข้อ ให้นาคาตอบมาตรวจสอบกับคาตอบของคู่
อื่นในกลุ่ม
2. ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึงจะ
สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กาหนดให้ ?
การเรียนแบบร่วมมือ (ต่อ)
10. คู่คิด (Think-Pair Share) ครูตั้งคาถามให้นักเรียนตอบ นักเรียน
แต่ละคนจะต้องคิด คาตอบของตนเอง นาคาตอบมาอภิปรายกับเพื่อนที่นั่งติดกับตน
นาคาตอบมาเล่าให้เพื่อนทั้งชั้นฟัง
11. ร่วมกันคิด (Numbered Heads Together) เริ่มจากครูถาม
คาถาม เปิดโอกาสให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาคาตอบ จากนั้นครูจึงเรียกให้
นักเรียนคนใดคนหนึ่งจากกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรือทุกๆกลุ่มตอบคาถาม เป็นวิธีการที่นิยม
ใช้ในการทบทวนหรือตรวจสอบความเข้าใจ
12. การเรียนแบบร่วมมือกับการสอนคณิตศาสตร์ จอห์นสันและจอห์น
สัน (Johmson and Johmson, 1989) กล่าวว่า การเรียนแบบร่วมมือสามารถ
ใช้ได้เป็นอย่างดีในการเรียนคณิตศาสตร์ เพื่อให้นักเรียนคิดทางคณิตศาสตร์เข้าใจ
การเชื่อมโยงระหว่างมโนมติและกระบวนการ และสามารถที่จะประยุกต์ใช้ความรู้อย่าง
คล่องแคล่ว
ผู้จัดทา
นายปริญญา สินยัง 553050005-1
นายณฐกร มิลิน 553050071-8
นายปณิธาน ศักดิ์สุภา 553050085-7
สาขาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหาการผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหาKittipun Udomseth
 
Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Kittipun Udomseth
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3Ptato Ok
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาsaowana
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
Past 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPast 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPimploy Sornchai
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาParitat Pichitmal
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...khon Kaen University
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยศุภเชษฐ์ สีหาราช
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2Kittipun Udomseth
 
Past 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPast 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPimploy Sornchai
 

Was ist angesagt? (17)

การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหาการผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
 
Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
Past 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPast 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational media
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2
 
Past 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPast 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational media
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

Andere mochten auch

Marketing presentation robin
Marketing presentation robinMarketing presentation robin
Marketing presentation robinrobin54425
 
CREADOR DE INGRESOS, EL MÉTODO MÁS EFICAZ PARA GANAR DINERO EN INTERNET!
CREADOR DE INGRESOS, EL MÉTODO MÁS EFICAZ PARA GANAR  DINERO EN INTERNET!CREADOR DE INGRESOS, EL MÉTODO MÁS EFICAZ PARA GANAR  DINERO EN INTERNET!
CREADOR DE INGRESOS, EL MÉTODO MÁS EFICAZ PARA GANAR DINERO EN INTERNET!elaramce
 
NEGOCIOS POR INTERNET, DECÚBRELOS!!
NEGOCIOS POR INTERNET, DECÚBRELOS!!NEGOCIOS POR INTERNET, DECÚBRELOS!!
NEGOCIOS POR INTERNET, DECÚBRELOS!!elaramce
 
¿QUIERES GANAR DINERO EN INTERNET?
¿QUIERES GANAR DINERO EN INTERNET?¿QUIERES GANAR DINERO EN INTERNET?
¿QUIERES GANAR DINERO EN INTERNET?elaramce
 

Andere mochten auch (18)

Marketing presentation robin
Marketing presentation robinMarketing presentation robin
Marketing presentation robin
 
การขอเทียบโอนผลการเรียน
การขอเทียบโอนผลการเรียน การขอเทียบโอนผลการเรียน
การขอเทียบโอนผลการเรียน
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
CREADOR DE INGRESOS, EL MÉTODO MÁS EFICAZ PARA GANAR DINERO EN INTERNET!
CREADOR DE INGRESOS, EL MÉTODO MÁS EFICAZ PARA GANAR  DINERO EN INTERNET!CREADOR DE INGRESOS, EL MÉTODO MÁS EFICAZ PARA GANAR  DINERO EN INTERNET!
CREADOR DE INGRESOS, EL MÉTODO MÁS EFICAZ PARA GANAR DINERO EN INTERNET!
 
Prakat108
Prakat108Prakat108
Prakat108
 
ประกาศครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
ประกาศครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ประกาศครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
ประกาศครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
 
NEGOCIOS POR INTERNET, DECÚBRELOS!!
NEGOCIOS POR INTERNET, DECÚBRELOS!!NEGOCIOS POR INTERNET, DECÚBRELOS!!
NEGOCIOS POR INTERNET, DECÚBRELOS!!
 
การขอย้ายออกนักเรียน
การขอย้ายออกนักเรียน การขอย้ายออกนักเรียน
การขอย้ายออกนักเรียน
 
5 การขอลาออก 14-07-58
5 การขอลาออก 14-07-585 การขอลาออก 14-07-58
5 การขอลาออก 14-07-58
 
7 การขอใบแทนเอกสารทางการศึกษา 14-07-58
7 การขอใบแทนเอกสารทางการศึกษา 14-07-587 การขอใบแทนเอกสารทางการศึกษา 14-07-58
7 การขอใบแทนเอกสารทางการศึกษา 14-07-58
 
8 การขอใช้บริการด้านอาคารสถานที่ 14-07-58
8 การขอใช้บริการด้านอาคารสถานที่ 14-07-588 การขอใช้บริการด้านอาคารสถานที่ 14-07-58
8 การขอใช้บริการด้านอาคารสถานที่ 14-07-58
 
4 การขอผ่อนผันเด็กเข้าเรียน 14-07-58
4 การขอผ่อนผันเด็กเข้าเรียน 14-07-584 การขอผ่อนผันเด็กเข้าเรียน 14-07-58
4 การขอผ่อนผันเด็กเข้าเรียน 14-07-58
 
Hydroelectricity
HydroelectricityHydroelectricity
Hydroelectricity
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
¿QUIERES GANAR DINERO EN INTERNET?
¿QUIERES GANAR DINERO EN INTERNET?¿QUIERES GANAR DINERO EN INTERNET?
¿QUIERES GANAR DINERO EN INTERNET?
 
1 การรับนักเรียน
1 การรับนักเรียน 1 การรับนักเรียน
1 การรับนักเรียน
 
หนังสือเรียนภาษาไทย ป.1 เล่ม 1
หนังสือเรียนภาษาไทย ป.1 เล่ม 1หนังสือเรียนภาษาไทย ป.1 เล่ม 1
หนังสือเรียนภาษาไทย ป.1 เล่ม 1
 
Chapter 1 re built
Chapter 1 re builtChapter 1 re built
Chapter 1 re built
 

Ähnlich wie Chapter 9

สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9Kanlayanee Thongthab
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้lalidawan
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้pohn
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__sinarack
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาการเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาJaengJy Doublej
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Dee Arna'
 
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้a35974185
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9Setthawut Ruangbun
 
Choosing media and learning management method by math ed kku sec2
Choosing media and learning management method by math ed kku sec2Choosing media and learning management method by math ed kku sec2
Choosing media and learning management method by math ed kku sec2chatruedi
 

Ähnlich wie Chapter 9 (20)

สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาการเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9
 
Chapter 9
Chapter 9 Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
chapter 9
chapter 9chapter 9
chapter 9
 
Choosing media and learning management method by math ed kku sec2
Choosing media and learning management method by math ed kku sec2Choosing media and learning management method by math ed kku sec2
Choosing media and learning management method by math ed kku sec2
 

Mehr von Copter Copter

Mehr von Copter Copter (6)

Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 

Chapter 9

  • 1. การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้ INNOVATION AND INFORMATION TECHNOLOGY FOR LEARNING นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
  • 2. สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) ครูพลกิต เป็นครูที่พึ่งมาบรรจุใหม่หลังจากที่รายการตัวต่อสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประจาจังหวัดที่สังกัดแล้วก็ไปรายงานตัวต่อโรงเรียนซึ่งเป็นโรงเรียนประจา จังหวัด ผู้อานวยการโรงเรียนมอบหมายให้ครูพลกิตสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และเป็นห้องเด็กเก่งด้วย ยิ่งทาให้ครูพลกิตรู้สึกไม่มั่นใจในการสอนว่าตนเองจะสามารถทา ได้ดีหรือไม่และนักเรียนจะสนุกหรือสนใจในวิธีการสอนของตนเองหรือไม่ ที่สาคัญคือ นักเรียนห้องนี้มีลักษณะที่ชอบค้นคว้า หาความรู้ กิจกรรมที่เน้นให้ปฏิบัติได้ลงมือกระทา ฝึกคิดหรือที่ท้ายทายการทางานนักเรียนจะชอบมาก อีกทั้งยังเรียนพิเศษแบบเข้มข้น เนื้อหาในหนังสือเรียนส่วนใหญ่นักเรียนจะรู้และทาความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมาก่อนแล้ว แต่ที่สังเกตได้ชัดคือนักเรียนจะแข่งกันเรียน ทางานกลุ่มไม่ค่อยประสบความสาเร็จ เท่าที่ควร ซึ่งผู้อานวยการโรงเรียนฝากความหวังไว้ที่ครูพลกิตเพื่อช่วยพัฒนาและ แก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้องนี้ให้ได้
  • 3. ภารกิจ • ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ? • ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใด จึงจะสอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตาม สถานการณ์ที่กาหนดให้ ?
  • 4. 1. ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ? • การเตรียมสื่อการเรียนรู้ ผู้สอนจะต้องเตรียมความพร้อมของสื่อให้มีความสอดคล้องกับ กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแผนที่ได้ออกแบบไว้ ในขั้นตอนการเตรียมความ พร้อมของสื่อจะเริ่มตั้งแต่การคัดเลือกสื่อที่ตอบสนองวิธีการเรียนรู้เพื่อใช้ในการนา เสนอความรู้ การพัฒนาหรือปรับปรุงสื่อเพื่อให้สามารถใช้งานได้ ตลอดจนการ ออกแบบและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ขึ้นมาใหม่ที่มีความสอดคล้องกับการเสาะแสวงหา ความรู้และเป้าหมายของรายวิชา ในการใช้สื่อนั้นผู้สอนอาจแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ - ก่อนการจัดการเรียนรู้ - ระหว่างการจัดการเรียนรู้ - หลังการจัดการเรียนรู้
  • 5. 1. ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ? • การเตรียมสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ผู้สอนแบบมืออาชีพ จะต้องกาหนดหรือจัดเตรียมสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสามารถสร้างประสบการณ์เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าการ จัดการเรียนรู้นั้นจะเกิดในห้องเรียนก็ต้องเตรียมความพร้อมของห้องเรียนให้น่า เรียน เอื้อต่อการจัดกิจกรรมกลุ่มหรือกิจกรรมการเรียนรู้อื่นๆ บางวิชาอาจต้องใช้ ห้องปฏิบัติการดังเช่น วิทยาศาสตร์และภาษา ครูจะต้องเตรียมความพร้อมของ ห้องปฏิบัติการเหล่านั้นให้สามารถใช้การได้ทั้งสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ ดังเช่น - แสงไฟ - เครื่องเสียง - ปลั๊กไฟ - อุปกรณ์ทดลองเฉพาะ โดยให้อุปกรณ์เหล่านั้นมีสภาพที่พร้อมใช้งานได้จริง ไม่ใช้อยู่ในสภาพ ชารุดเสียหาย เพราะอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้
  • 6. 1. ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ? • การเตรียมผู้เรียน เมื่อผู้สอนเริ่มจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนแรกคือการเตรียมความพร้อมของ ผู้เรียน ผู้เรียนจะเรียนรู้อะไรได้ดีนั้นขึ้นอยู่กับว่าผู้เรียนนั้นเตรียมตัวและเตรียม ความพร้อมในการเรียนอย่างไร ดังนั้นการเตรียมผู้เรียนจึงมีความสาคัญมากเมื่อ ผู้สอนจะดาเนินการจัดการเรียนรู้ตามที่วางแผนไว้เพราะผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ลงมือ ปฏิบัติกิจกรรมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ความเข้าใจของผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างแรงจูงใจ และการปฐมนิเทศก่อนเรียนเป็นสิ่งที่มีความสาคัญมากที่ผู้สอนจะต้องจัดในช่วงแรก ของการเรียนการสอนในแต่ละครั้ง เทคนิคที่สาคัญที่ผู้สอนสามารถนาไปใช้ได
  • 7. 1. ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ? • การเตรียมผู้เรียน เมื่อผู้สอนเริ่มจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนแรกคือการเตรียมความพร้อมของ ผู้เรียน ผู้เรียนจะเรียนรู้อะไรได้ดีนั้นขึ้นอยู่กับว่าผู้เรียนนั้นเตรียมตัวและเตรียม ความพร้อมในการเรียนอย่างไร ดังนั้นการเตรียมผู้เรียนจึงมีความสาคัญมากเมื่อ ผู้สอนจะดาเนินการจัดการเรียนรู้ตามที่วางแผนไว้เพราะผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ลงมือ ปฏิบัติกิจกรรมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ความเข้าใจของผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างแรงจูงใจ และการปฐมนิเทศก่อนเรียนเป็นสิ่งที่มีความสาคัญมากที่ผู้สอนจะต้องจัดในช่วงแรก ของการเรียนการสอนในแต่ละครั้ง เทคนิคที่สาคัญที่ผู้สอนสามารถนาไปใช้ได
  • 8. 1. ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ? • การดาเนินการตามบทเรียน หลังจากที่ผู้สอนได้เตรียมการทั้งสื่อ สิ่งแวดล้อมทางการเรียน และ ผู้เรียนเป็นที่เรียบร้อยแล้วเพื่อให้การดาเนินการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนเป็นไป อย่างราบรื่นบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ ควรดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้ - การให้กิจกรรมการเรียนรู้ที่ชัดเจน ผู้สอนควรอธิบายภารกิจการ เรียนรู้หรือสถานการณ์ให้ผู้เรียนทราบถึงแนวทางปฏิบัติในการเรียน และจะต้อง ตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนเกี่ยวกับขั้นตอนในการปฏิบัติกิจกรรม - การกาหนดขั้นตอนในการเรียนรู้ ผู้สอนจะต้องวางขั้นตอนของ กิจกรรมให้ง่ายและขับเคลื่อนให้ผู้เรียนสามารถดาเนินการเรียนรู้ได้ตามเป้าหมาย ของกิจกรรม - การสร้างแรงจูงใจในการเรียน ในการเรียนผู้เรียนจะต้องใส่ใจกับ ภารกิจที่ได้รับ ผู้สอนสามารถสนับสนุนให้ผู้เรียนมีความตระหนักและตื่นตัวในการ เรียน ด้วยการชี้นาให้ผู้เรียนเห็น (มีต่อ)
  • 9. 1. ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ? • การดาเนินการตามบทเรียน (ต่อ) - การสร้างแรงจูงใจในการเรียน ในการเรียนผู้เรียนจะต้องใส่ใจกับ ภารกิจที่ได้รับ ผู้สอนสามารถสนับสนุนให้ผู้เรียนมีความตระหนักและตื่นตัวในการ เรียน ด้วยการชี้นาให้ผู้เรียนเห็นถึงมุมมองที่หลากหลายเกี่ยวกับภารกิจทั้งประเด็น และแนวทางแก้ปัญหา การส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างที่อยู่รอบตัวเพื่อ ค้นหาแนวทางแก้ปัญหา - การตั้งคาถามในระหว่างเรียน การตั้งคาถาม เป็นเทคนิคที่ผู้สอน สามารถใช้ในการกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับการเรียน การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิด ทั้งยังเป็นการประเมินเพื่อพัฒนาความเข้าใจของผู้เรียนในขณะเรียนได้เป็นอย่างดี
  • 10. 2. ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึงจะ สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กาหนดให้ ? การเรียนแบบร่วมมือ การเรียนแบบร่วมมือ เป็นกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้ นักเรียนเรียนด้วยกันเป็นกลุ่มเล็กแบบคละความสามารถ ให้ทางานร่วมกัน ช่วยเหลือกัน ในการผสมผสานความรู้ที่มีอยู่เดิมกับความรู้ใหม่ และค้นพบความหมายของสิ่งที่ศึกษาด้วย กลุ่ม โดยทากิจกรรมในการสืบค้น (Explore) อภิปราย (Discuss) อธิบาย (Explain) สอบสวนแนวความคิดและแก้ปัญหาร่วมกันในกลุ่ม เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน เป็นวิธี เรียนวิธีหนึ่งที่กาลังได้รับความสนใจและนาไปประยุกต์ในการเรียนการสอนทุกวิชาและทุก ระดับชั้น รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือที่เป็นที่ยอมรับกันแพร่หลาย มีดังต่อไปนี้ 1. STAD (Student Teams -Achievement Division) เป็นรูปแบบการเรียนรู้ มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาการสัมฤทธิ์พลของการเรียนและทักษะทางสังคมเป็นสาคัญ 2. 2. TGT (Team Games Tournament) เป็นรูปแบบที่คล้ายกับ STAD แต่ เป็นการจูงใจในการเรียนเพิ่มขึ้น โดยการใช้การแข่งขันเกมแทนการทดสอบย่อย
  • 11. 2. ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึงจะ สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กาหนดให้ ? การเรียนแบบร่วมมือ (ต่อ) 3. TAI (Team Assisted Individualization) เป็นรูปแบบการเรียน ที่ผสมผสานแนวคิด ระหว่างการร่วมมือในการเรียนรู้กับการสอนเป็นรายบุคคล (Individualized Instruction) รูปแบบ ของ TAI เป็นการประยุกต์ใช้กับการสอน คณิตศาสตร์ 4. CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition) เป็นรูปแบบการเรียนแบบร่วมมือแบบผสมผสาน ที่มุ่งพัฒนาขึ้นเพื่อ สอนการอ่านและการเขียนสาหรับนักเรียนประถมศึกษาตอนปลายโดยเฉพาะ 5. Jigsaw ผู้ที่คิดค้นการเรียนการสอนแบบ Jigsaw เริ่มแรกคือ Elliot – Aronson และคณะ (1978) หลังจากนั้น Slavin ได้นาแนวคิดดังกล่าวมาปรับขยาย เพื่อให้สอดคล้องกับรูปแบบการเรียนแบบร่วมมือมากยิ่งขึ้น เป็นรูปแบบที่เหมาะสมกับ วิชาที่เกี่ยวข้องกับการบรรยาย เช่น สังคมศึกษาวรรณคดี วิทยาศาสตร์ในบางเรื่อง รวมทั้ง วิชาอื่นๆ ที่เน้นการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจมากกว่าพัฒนาทักษะ
  • 12. 2. ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึงจะ สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กาหนดให้ ? การเรียนแบบร่วมมือ (ต่อ) 6. Co – op Co – op เป็นรูปแบบที่พัฒนาโดย Shlomo และ Yael Shsran ที่ใช้ในงาน เฉพาะอย่าง ลักษณะสาคัญคือ สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มย่อยจะได้รับ มอบหมายให้ศึกษาเนื้อหา หรือ ทากิจกรรมที่ต่างกัน ทาเสร็จแล้วนาผลงานมารวมกันเป็นกลุ่ม ร่วมกันแก้ไขทบทวนแล้วนามาเสนอต่อชั้นเรียน 7. การเล่าเรื่องรอบวง (Round robin) เป็นเทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่ เปิดโอกาสให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มได้เล่าประสบการณ์ ความรู้ สิ่งที่ตนกาลังศึกษา สิ่งที่ตน ประทับใจให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง 8. มุมสนทนา (Corners) เริ่มต้นจากการให้ผู้เรียนกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มเข้าไปนั่ง ตามมุมหรือจุดต่างๆของห้องเรียน และช่วยกันหาคาตอบสาหรับโจทย์ปัญหาต่างๆ ที่ครูยกขึ้น มา และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนอธิบายเรื่องราวที่ตนศึกษาให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟัง 9. คู่ตรวจสอบ (Pairs Check) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 หรือ 6 คน ให้ นักเรียนจับคู่กัน ทางาน คนหนึ่งทาหน้าที่เสนอแนะวิธีแก้ปัญหา อีกคนทาหน้าที่แก้โจทย์ เสร็จ ข้อที่ 1 แล้วให้สลับหน้าที่กัน เมื่อเสร็จครบ 2 ข้อ ให้นาคาตอบมาตรวจสอบกับคาตอบของคู่ อื่นในกลุ่ม
  • 13. 2. ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึงจะ สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กาหนดให้ ? การเรียนแบบร่วมมือ (ต่อ) 10. คู่คิด (Think-Pair Share) ครูตั้งคาถามให้นักเรียนตอบ นักเรียน แต่ละคนจะต้องคิด คาตอบของตนเอง นาคาตอบมาอภิปรายกับเพื่อนที่นั่งติดกับตน นาคาตอบมาเล่าให้เพื่อนทั้งชั้นฟัง 11. ร่วมกันคิด (Numbered Heads Together) เริ่มจากครูถาม คาถาม เปิดโอกาสให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาคาตอบ จากนั้นครูจึงเรียกให้ นักเรียนคนใดคนหนึ่งจากกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรือทุกๆกลุ่มตอบคาถาม เป็นวิธีการที่นิยม ใช้ในการทบทวนหรือตรวจสอบความเข้าใจ 12. การเรียนแบบร่วมมือกับการสอนคณิตศาสตร์ จอห์นสันและจอห์น สัน (Johmson and Johmson, 1989) กล่าวว่า การเรียนแบบร่วมมือสามารถ ใช้ได้เป็นอย่างดีในการเรียนคณิตศาสตร์ เพื่อให้นักเรียนคิดทางคณิตศาสตร์เข้าใจ การเชื่อมโยงระหว่างมโนมติและกระบวนการ และสามารถที่จะประยุกต์ใช้ความรู้อย่าง คล่องแคล่ว
  • 14. ผู้จัดทา นายปริญญา สินยัง 553050005-1 นายณฐกร มิลิน 553050071-8 นายปณิธาน ศักดิ์สุภา 553050085-7 สาขาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น