SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 36
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
    จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนสามารถ
1.ทดลอง อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับการตอบสนอง
ของพืชต่อแรงโน้มถ่วงของโลก
2.สิบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับปัจจัย
ที่มีผลต่อการตอบสนองของพืช
3. สิบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยงกับ แอนนา ปัญโญ
                                                 ครูผู้ช่วย
รูปแบบการตอบสนองของพืชแบบต่างๆ โรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
1. การเคลื่อนไหวเนื่องจากการเจริญเติบโต (growth movement)
     - การตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก
       (paratonic movement หรือ stimulus movement)
     - การตอบสนองที่เกิดจากสิ่งเร้าภายใน (autonomic
       movement)
   2. การเคลื่อนไหวเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงแรงดันเต่ง
      (turgor movement)
  3. การตอบสนองของพืชต่อสารควบคุมการเจริญเติบโต
การเคลื่อนไหวที่เกิดเนื่องจากการเจริญเติบโต (growth movement)

  1.       การตอบสนองที่เกิดจากสิ่งเร้าภายนอก (paratonic
           movement หรือ stimulus movement) มี 2 แบบ คือ

       1.1 แบบมีทิศทางเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสิ่งเร้า (tropism หรือ tropic
  movement) การตอบสนองแบบนี้อาจจะทาให้ส่วนของพืชโค้งเข้าหา
  สิ่งเร้า เรียกว่า positive tropism หรือ เคลื่อนที่หนีสิ่งเร้าที่มากระตุ้น
  เรียกว่า negative tropism จาแนกได้ตามชนิดของสิ่งเร้าดังนี้
1.1.1 โฟโททรอปิซึม (phototropism) เป็นการ
ตอบสนองของพืชที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เป็นแสง พบว่า
ที่ปลายยอดพืช (ลาต้น) มีทิศทางการเจริญเติบโตเจริญ
เข้าหาแสงสว่าง (positive phototropism) ส่วนที่ปลายราก
จะมีทิศทางการเจริญเติบโตหนีจากแสงสว่าง (negative
phototropism)
1.1.2 จีโอทรอปิซึม (geotropism) เป็นการตอบสนองของ
พืชที่ตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลกโดยรากพืชจะเจริญเข้า
หาแรงโน้มถ่วงของโลก (positive geotropism) เพื่อรับน้าและแร่
ธาตุจากดิน ส่วนปลายยอดพืช (ลาต้น) จะเจริญเติบโตในทิศ
ทางตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วงของโลก (negative geotropism) เพื่อชู
ใบรับแสงสว่าง
1.1.3 เคมอทรอปิซึม
(chemotropism) เป็นการ
ตอบสนองของพืชโดยการ
เจริญเข้าหาหรือหนีจาก
สารเคมีบางอย่างที่เป็นสิ่งเร้า
เช่น การงอกของหลอดละออง
เรณูไปยังรังไข่ของพืช โดยมี
สารเคมีบางอย่างเป็นสิ่งเร้า
1.1.4 ไฮโดรทรอปิซึม
   (hydrotropism) เป็นการ
   ตอบสนองของพืชที่
   ตอบสนองต่อความชื้น
   ซึ่งรากของพืชจะงอกไปสู่
   ที่มีความชื้น
1.1.5 ทิกมอทรอปิซึม (thigmotropism) เป็นการ
ตอบสนองของพืชบางชนิดที่ตอบสนองต่อการสัมผัส เช่น
การเจริญของ มือเกาะ (tendril) ซึ่งเป็นโครงสร้างที่ยื่นออกไป
พันหลักหรือเกาะบนต้นไม้อื่นหรือพืชพวกที่ลาต้นแบบเลื้อย
จะพันหลักในลักษณะบิดลาต้นไปรอบๆเป็นเกลียว เช่น ต้น
ตาลึง ต้นพลู ต้นองุ่น ต้นพริกไทย เป็นต้น
1.2 แบบมีทิศทางที่ไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า
    (nasty หรือ nastic movement)
      การตอบสนองแบบนี้จะมีทิศทางคงทีคือ การเคลื่อนขึ้น
                                           ่
หรือลงเท่านั้น ไม่ขึ้นกับทิศทางของสิ่งเร้า
      การบานของดอกไม้ (epinasty) เกิดจากกลุ่มเซลล์ด้าน
ในหรือด้านบนของกลีบดอกยืดตัวหรือขยายขนาดมากกว่ากลุ่ม
เซลล์ด้านนอกหรือด้านล่าง
การหุบและการบานของดอกไม้
การหุบของดอกไม้ (hyponasty) เกิดจากกลุ่มเซลล์
ด้านนอก หรือด้านล่างของกลีบดอกยืดตัวหรือขยายขนาด
มากกว่ากลุ่มเซลล์ด้านมนหรือด้านบน
      ตัวอย่างเช่น - ดอกบัว ส่วนมากมักหุบในตอน
กลางคืน และบานในตอนกลางวัน
                      - ดอกกระบองเพชร ส่วนมากจะ
บานในตอนกลางคืนและหุบในตอนกลางวัน
การบานของดอกไม้ขึ้นอยู่กับชนิดของพืชและสิ่งเร้า
เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสง เป็นต้น ถ้าสิ่งเร้าเป็นแสงแล้วทา
ให้เกิดการตอบสนอง (เกิดการเคลื่อนไหว ด้วยการบานการหุบ
ของดอกไม้) โฟโตนาสที (photonasty) ถ้าอุณหภูมิเป็นสิ่งเร้าก็
เรียกว่า เทอร์มอนาสที (thermonasty) ตัวอย่างเช่น ดอกบัว
ส่วนมากมักหุบในตอนกลางคืนและบานในตอนกลางวัน แต่
ดอกกระบองเพชร จะบานในตอนกลางคืนและจะหุบในตอน
กลางวัน ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากในตอนกลางคืนจะมีอุณหภูมิต่า
หรือเย็นลง ทาให้กลุ่มเซลล์ด้านในของกลีบดอกเจริญมากกว่า
ด้านนอกจึงทาให้กลีบดอกบานออก แต่ตอนกลางวันอากาศอุ่น
ขึ้น อุณหภูมิสูงขึ้นจะทาให้กลุ่มเซลล์ด้านนอกเจริญยืดตัว
มากกว่าดอกจะหุบ
การบานและการหุบของดอกไม้มีเวลาจากัด
เท่ากับการเจริญของเซลล์ของกลีบดอก เมื่อเซลล์
เจริญยืดตัวเต็มที่แล้วจะไม่หุบหรือบานอีกต่อไป กลีบ
ดอกจะโรยและหลุดร่วงจากฐานดอก
โฟโตนาสที (photonasty)
2. การตอบสนองที่เกิดจากสิ่งเร้าภายในของต้นพืชเอง
(autonomic movement)
      เป็นการตอบสนองที่เกิดจากการกระตุ้นจากสิ่งเร้า
ภายในจาพวกฮอร์โมนโดยเฉพาะออกซิน ทาให้การเจริญของ
ลาต้นทั้งสองด้านไม่เท่ากัน ได้แก่
        2.1 การเอนหรือแกว่งยอดไปมา (nutation movement)
เป็นการเคลื่อนไหวที่เกิดเฉพาะส่วนยอดของพืช สาเหตุ
เนื่องจาก      ด้านสองด้านของลาต้น (บริเวณยอดพืช)
เติบโตไม่เท่ากัน ทาให้ยอดพืชโยกหรือแกว่งไปมาขณะที่
ปลายยอดกาลังเจริญเติบโต
2.2 การบิดลาต้นไปรอบๆเป็นเกลียว (spiral
movement) เป็นการเคลื่อนไหวที่ปลายยอดค่อยๆบิดเป็น
เกลียวขึ้นไป เมื่อเจริญเติบโตขึ้น ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวที่
มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า โดยปกติเราจะมองเห็นส่วนยอด
ของพืชเจริญเติบโตขึ้นไปตรงๆ แต่แท้จริงแล้วในส่วนที่
เจริญขึ้นไปนั้นจะบิดซ้ายขวาเล็กน้อย เนื่องจากลาต้นทั้ง
สองด้านเจริญเติบโตไม่เท่ากันเช่นเดียวกับ นิวเทชัน ซึ่ง
เรียกว่า circumnutation พืชบางชนิดมีลาต้นอ่อนทอด
เลื้อยและพันหลักในลักษณะการบิดลาต้นไปรอบๆ
เป็นเกลียวเพื่อพยุงลาต้น เรียกว่า twining เช่น การพัน
หลักของต้นมะลิวัลย์ พริกไทย อัญชัน ตาลึง ฯลฯ
การเคลื่อนไหวที่เกิดเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงแรงดัน
เต่ง (turgor movement)

         ปกติพืชจะมีการเคลื่อนไหวตอบสนองต่อการสัมผัส
(สิ่งเร้าจากภายนอก) ช้ามาก แต่มีพืชบางชนิดที่ตอบสนองได้
เร็ว โดยการสัมผัสจะไปทาให้มีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ
น้าภายในเซลล์ ทาให้แรงดันเต่ง (turgor pressure) ของเซลล์
เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเป็นไปอย่างรวดเร็วและไม่ถาวร ซึ่งมีหลาย
แบบ คือ
1. การหุบของใบจากการสะเทือน (contract movement)
        - การหุบใบของต้นไมยราบ ตรงบริเวณโคนก้านใบ
  และโคนก้านใบย่อยจะมีกลุ่มเซลล์ชนิดหนึ่ง (เซลล์
  พาเรงคิมา) เรียกว่า พัลไวนัส (pulvinus) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มี
  ขนาดใหญ่และผนังเซลล์บาง มีความไวสูงต่อสิ่งเร้าที่มา
  กระตุ้น เช่น การสัมผัส เมื่อสิ่งเร้ามาสัมผัสหรือกระตุ้นจะ
  มีผลทาให้แรงดันเต่งของ กลุ่มเซลล์ดังกล่าว
  เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว คือ เซลล์จะสูญเสียน้าให้กับ
  เซลล์ข้างเคียงทาให้ใบหุบลงทันที หลังจากนั้นสักครู่น้า
  จะซึมผ่านกลับเข้าสูเซลล์พัลไวนัสอีก แรงดันเต่ง ใน
                      ่
  เซลล์เพิ่มขึ้นทาให้แรงดันเต่งและใบกางออก
- การหุบของใบพืชพวกที่มีการเปลี่ยนแปลง
รูปร่างไปเพื่อจับแมลง ได้แก่ ใบของต้น
หม้อข้าวหม้อแกงลิง ต้นสาหร่ายข้าวเหนียว ต้นกาบ
หอยแครง ต้นหยาดน้าค้าง เป็นต้น พืชพวกนี้ถือได้ว่า
เป็นพืชกินแมลงจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของใบเพื่อ
ทาหน้าที่จับแมลง ภายในใบจะมีกลุ่มเซลล์หรือขน
เล็กๆ (hair) ที่ไวต่อสิ่งเร้าอยู่ทางด้านในของใบ เมื่อ
แมลงบินมาถูกหรือมาสัมผัสจะเกิดการสูญเสียน้า ใบจะ
เคลื่อนไหวหุบทันที แล้วจึงปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อย
โปรตีนของแมลงให้เป็น กรดอะมิโน จากนั้นจึงดูดซึม
ที่ผิวด้านในนั้นเอง
ต้นหยาดน้าค้าง
ต้นกาบหอยแครง
2. การหุบใบตอนพลบค่าของพืชตระกูลถั่ว (sleep movement)

         เป็นการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงความเข้มของ
 แสงของพืชตระกูลถั่ว เช่น ใบก้ามปู ใบมะขาม ใบไมยราบ
 ใบถั่ว ใบแค ใบกระถิน ใบผักกระเฉด เป็นต้น โดยที่ใบจะ
 หุบ ก้านใบจะห้อยและลู่ลงในตอนพลบค่า เนื่องจากแสง
 สว่างลดลง ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “ต้นไม้นอน” แต่พอรุ่งเช้า
 ใบก็จะกางตามเดิม
การตอบสนองเช่นนี้เกิดจากการเปลี่ยนแปลง
แรงดันเต่งของกลุ่มเซลล์พัลไวนัสที่โคนก้านใบ โดยกลุ่ม
เซลล์พัลไวนัสนี้เป็นกลุ่มเซลล์ขนาดใหญ่และผนังเซลล์
บาง มีความไวสูงต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น เมื่อไม่มีแสงสว่าง
หรือแสงสว่างลดลง มีผลทาให้เซลล์ด้านหนึ่งสูญเสียน้า
ให้กับช่องว่างระหว่างเซลล์ที่อยู่เคียงข้างทาให้แรงดันเต่ง
ลดลงใบจึงหุบลง ก้านใบจะห้อยและลู่ลง พอรุ่งเช้ามี
แสงสว่างน้าจะเคลื่อนกลับมาทาให้แรงดันเต่งเพิ่มขึ้น
และเซลล์เต่งดันให้ที่ลู่นั้นกางออก
การหุบใบตอนพลบค่าของพืช
3. การเปิดปิดของปากใบ (guard cell movement)
       การเปิด-ปิดของปากใบขึ้นอยู่กับความเต่งของเซลล์
คุม(guard cell) ในตอนกลางวันเซลล์คุมมีกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้น ทาให้ภายในเซลล์คุมมีระดับ
น้าตาลสูงขึ้น น้าจากเซลล์ข้างเคียงจะซึมผ่านเข้าเซลล์คุม
ทาให้เซลล์คุมมีแรงดันเต่งเพิ่มขึ้นดันให้ผนังเซลล์คุมที่แนบ
ชิดติดกันให้เผยออก จึงทาให้ปากใบเปิด แต่เมื่อระดับ
น้าตาลลดลงเนื่องจากไม่มีกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
น้าก็จะซึมออกจากเซลล์คุม ทาให้แรงดันเต่งในเซลล์คุม
ลดลงเซลล์จะเหี่ยวและปากใบก็จะปิด
การเปิดปิดของปากใบ
(guard cell movement)
การปริของผลไม้เมื่อสุกและแก่เต็มที่ เนื่องมาจากแรงดันเต่งของ
เซลล์ เช่น ผลตาลึง ผลแตงไทย
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชด้วยการเคลื่อนไหวแบบ
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นจะมีผลต่อประสิทธิภาพในการดารงชีวิตของพืช
สรุปได้ดังนี้
        1. การหันยอดเข้าหาแสงสว่าง ช่วยให้พืชสังเคราะห์
อาหารได้อย่างทั่วถึง
        2. การหันรากเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก ช่วยให้รากอยู่ในดิน
ซึ่งเป็นแหล่ง ที่พืชได้รับน้าและแร่ธาตุ
        3. การเจริญเข้าหาสารเคมีของละอองเรณู ช่วยในการ
ผสมพันธุ์          การขยายกลีบช่วยในการกระจายหรือรับ
ละอองเกสร
4. การเคลื่อนไหวแบบ nutation , spiral movement
และ twining movement ช่วยให้พืชเกาะพันกับสิ่งอื่นๆ
สามารถชูกิ่งหรือยอด เพื่อรับแสงแดด หรือชูดอกและ
ผลเพื่อการสืบพันธุ์หรือกระจายพันธุ์
      5. การหุบของต้นกาบหอยแครงช่วยในการจับ
แมลงหรืออาหาร การหุบของไมยราบช่วยในการหลบ
หลีกศัตรู

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
พัน พัน
 
หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
Biobiome
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท
Wichai Likitponrak
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
dnavaroj
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
dnavaroj
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
Kittiya GenEnjoy
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
Biobiome
 

Was ist angesagt? (20)

ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 

Andere mochten auch

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
Anana Anana
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
Wanwime Dsk
 
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชบทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
Anana Anana
 
การตอบสนอง1
การตอบสนอง1การตอบสนอง1
การตอบสนอง1
Pranruthai Saothep
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
Wichai Likitponrak
 
บทเรียนสื่อมัลติมีเดียการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
บทเรียนสื่อมัลติมีเดียการตอบสนองต่อสิ่งเร้าบทเรียนสื่อมัลติมีเดียการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
บทเรียนสื่อมัลติมีเดียการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
krupornpana55
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
Wann Rattiya
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
Anana Anana
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
Thanyamon Chat.
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
Art Nan
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
Anana Anana
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
dnavaroj
 

Andere mochten auch (20)

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชบทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
การตอบสนอง1
การตอบสนอง1การตอบสนอง1
การตอบสนอง1
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
 
ใบความรู้+สัตว์แสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างไร+ป.5+281+dltvscip5+55t2sc...
ใบความรู้+สัตว์แสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างไร+ป.5+281+dltvscip5+55t2sc...ใบความรู้+สัตว์แสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างไร+ป.5+281+dltvscip5+55t2sc...
ใบความรู้+สัตว์แสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างไร+ป.5+281+dltvscip5+55t2sc...
 
บทเรียนสื่อมัลติมีเดียการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
บทเรียนสื่อมัลติมีเดียการตอบสนองต่อสิ่งเร้าบทเรียนสื่อมัลติมีเดียการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
บทเรียนสื่อมัลติมีเดียการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 

Ähnlich wie การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม

Responseของพืช
ResponseของพืชResponseของพืช
Responseของพืช
Issara Mo
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
Pattiya Lasutti
 
ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1
Abhai Lawan
 

Ähnlich wie การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม (20)

Responseของพืช
ResponseของพืชResponseของพืช
Responseของพืช
 
Turgor movement
Turgor movementTurgor movement
Turgor movement
 
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
 
Poster_Sarocha_125_no6
Poster_Sarocha_125_no6Poster_Sarocha_125_no6
Poster_Sarocha_125_no6
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
แผ่นพับ3
แผ่นพับ3แผ่นพับ3
แผ่นพับ3
 
Brochure tanakrit 125_no26
Brochure tanakrit 125_no26Brochure tanakrit 125_no26
Brochure tanakrit 125_no26
 
6.plant hormone and response.pdf
6.plant hormone and response.pdf6.plant hormone and response.pdf
6.plant hormone and response.pdf
 
การตอบสนองของพืชแบบ Tropicsm
การตอบสนองของพืชแบบ Tropicsm การตอบสนองของพืชแบบ Tropicsm
การตอบสนองของพืชแบบ Tropicsm
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 

Mehr von Anana Anana

การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
Anana Anana
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
Anana Anana
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
Anana Anana
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
Anana Anana
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
Anana Anana
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
Anana Anana
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
Anana Anana
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
Anana Anana
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
Anana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
Anana Anana
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
Anana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
Anana Anana
 

Mehr von Anana Anana (13)

การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
 
พืชC3 c4
พืชC3 c4พืชC3 c4
พืชC3 c4
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม

  • 1. การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนสามารถ 1.ทดลอง อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับการตอบสนอง ของพืชต่อแรงโน้มถ่วงของโลก 2.สิบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับปัจจัย ที่มีผลต่อการตอบสนองของพืช 3. สิบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยงกับ แอนนา ปัญโญ ครูผู้ช่วย รูปแบบการตอบสนองของพืชแบบต่างๆ โรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่
  • 2. การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม 1. การเคลื่อนไหวเนื่องจากการเจริญเติบโต (growth movement) - การตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก (paratonic movement หรือ stimulus movement) - การตอบสนองที่เกิดจากสิ่งเร้าภายใน (autonomic movement) 2. การเคลื่อนไหวเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงแรงดันเต่ง (turgor movement) 3. การตอบสนองของพืชต่อสารควบคุมการเจริญเติบโต
  • 3. การเคลื่อนไหวที่เกิดเนื่องจากการเจริญเติบโต (growth movement) 1. การตอบสนองที่เกิดจากสิ่งเร้าภายนอก (paratonic movement หรือ stimulus movement) มี 2 แบบ คือ 1.1 แบบมีทิศทางเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสิ่งเร้า (tropism หรือ tropic movement) การตอบสนองแบบนี้อาจจะทาให้ส่วนของพืชโค้งเข้าหา สิ่งเร้า เรียกว่า positive tropism หรือ เคลื่อนที่หนีสิ่งเร้าที่มากระตุ้น เรียกว่า negative tropism จาแนกได้ตามชนิดของสิ่งเร้าดังนี้
  • 4.
  • 5. 1.1.1 โฟโททรอปิซึม (phototropism) เป็นการ ตอบสนองของพืชที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เป็นแสง พบว่า ที่ปลายยอดพืช (ลาต้น) มีทิศทางการเจริญเติบโตเจริญ เข้าหาแสงสว่าง (positive phototropism) ส่วนที่ปลายราก จะมีทิศทางการเจริญเติบโตหนีจากแสงสว่าง (negative phototropism)
  • 6.
  • 7. 1.1.2 จีโอทรอปิซึม (geotropism) เป็นการตอบสนองของ พืชที่ตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลกโดยรากพืชจะเจริญเข้า หาแรงโน้มถ่วงของโลก (positive geotropism) เพื่อรับน้าและแร่ ธาตุจากดิน ส่วนปลายยอดพืช (ลาต้น) จะเจริญเติบโตในทิศ ทางตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วงของโลก (negative geotropism) เพื่อชู ใบรับแสงสว่าง
  • 8.
  • 9. 1.1.3 เคมอทรอปิซึม (chemotropism) เป็นการ ตอบสนองของพืชโดยการ เจริญเข้าหาหรือหนีจาก สารเคมีบางอย่างที่เป็นสิ่งเร้า เช่น การงอกของหลอดละออง เรณูไปยังรังไข่ของพืช โดยมี สารเคมีบางอย่างเป็นสิ่งเร้า
  • 10. 1.1.4 ไฮโดรทรอปิซึม (hydrotropism) เป็นการ ตอบสนองของพืชที่ ตอบสนองต่อความชื้น ซึ่งรากของพืชจะงอกไปสู่ ที่มีความชื้น
  • 11. 1.1.5 ทิกมอทรอปิซึม (thigmotropism) เป็นการ ตอบสนองของพืชบางชนิดที่ตอบสนองต่อการสัมผัส เช่น การเจริญของ มือเกาะ (tendril) ซึ่งเป็นโครงสร้างที่ยื่นออกไป พันหลักหรือเกาะบนต้นไม้อื่นหรือพืชพวกที่ลาต้นแบบเลื้อย จะพันหลักในลักษณะบิดลาต้นไปรอบๆเป็นเกลียว เช่น ต้น ตาลึง ต้นพลู ต้นองุ่น ต้นพริกไทย เป็นต้น
  • 12.
  • 13. 1.2 แบบมีทิศทางที่ไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า (nasty หรือ nastic movement) การตอบสนองแบบนี้จะมีทิศทางคงทีคือ การเคลื่อนขึ้น ่ หรือลงเท่านั้น ไม่ขึ้นกับทิศทางของสิ่งเร้า การบานของดอกไม้ (epinasty) เกิดจากกลุ่มเซลล์ด้าน ในหรือด้านบนของกลีบดอกยืดตัวหรือขยายขนาดมากกว่ากลุ่ม เซลล์ด้านนอกหรือด้านล่าง
  • 15. การหุบของดอกไม้ (hyponasty) เกิดจากกลุ่มเซลล์ ด้านนอก หรือด้านล่างของกลีบดอกยืดตัวหรือขยายขนาด มากกว่ากลุ่มเซลล์ด้านมนหรือด้านบน ตัวอย่างเช่น - ดอกบัว ส่วนมากมักหุบในตอน กลางคืน และบานในตอนกลางวัน - ดอกกระบองเพชร ส่วนมากจะ บานในตอนกลางคืนและหุบในตอนกลางวัน
  • 16. การบานของดอกไม้ขึ้นอยู่กับชนิดของพืชและสิ่งเร้า เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสง เป็นต้น ถ้าสิ่งเร้าเป็นแสงแล้วทา ให้เกิดการตอบสนอง (เกิดการเคลื่อนไหว ด้วยการบานการหุบ ของดอกไม้) โฟโตนาสที (photonasty) ถ้าอุณหภูมิเป็นสิ่งเร้าก็ เรียกว่า เทอร์มอนาสที (thermonasty) ตัวอย่างเช่น ดอกบัว ส่วนมากมักหุบในตอนกลางคืนและบานในตอนกลางวัน แต่ ดอกกระบองเพชร จะบานในตอนกลางคืนและจะหุบในตอน กลางวัน ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากในตอนกลางคืนจะมีอุณหภูมิต่า หรือเย็นลง ทาให้กลุ่มเซลล์ด้านในของกลีบดอกเจริญมากกว่า ด้านนอกจึงทาให้กลีบดอกบานออก แต่ตอนกลางวันอากาศอุ่น ขึ้น อุณหภูมิสูงขึ้นจะทาให้กลุ่มเซลล์ด้านนอกเจริญยืดตัว มากกว่าดอกจะหุบ
  • 17.
  • 20. 2. การตอบสนองที่เกิดจากสิ่งเร้าภายในของต้นพืชเอง (autonomic movement) เป็นการตอบสนองที่เกิดจากการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ภายในจาพวกฮอร์โมนโดยเฉพาะออกซิน ทาให้การเจริญของ ลาต้นทั้งสองด้านไม่เท่ากัน ได้แก่ 2.1 การเอนหรือแกว่งยอดไปมา (nutation movement) เป็นการเคลื่อนไหวที่เกิดเฉพาะส่วนยอดของพืช สาเหตุ เนื่องจาก ด้านสองด้านของลาต้น (บริเวณยอดพืช) เติบโตไม่เท่ากัน ทาให้ยอดพืชโยกหรือแกว่งไปมาขณะที่ ปลายยอดกาลังเจริญเติบโต
  • 21. 2.2 การบิดลาต้นไปรอบๆเป็นเกลียว (spiral movement) เป็นการเคลื่อนไหวที่ปลายยอดค่อยๆบิดเป็น เกลียวขึ้นไป เมื่อเจริญเติบโตขึ้น ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวที่ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า โดยปกติเราจะมองเห็นส่วนยอด ของพืชเจริญเติบโตขึ้นไปตรงๆ แต่แท้จริงแล้วในส่วนที่ เจริญขึ้นไปนั้นจะบิดซ้ายขวาเล็กน้อย เนื่องจากลาต้นทั้ง สองด้านเจริญเติบโตไม่เท่ากันเช่นเดียวกับ นิวเทชัน ซึ่ง เรียกว่า circumnutation พืชบางชนิดมีลาต้นอ่อนทอด เลื้อยและพันหลักในลักษณะการบิดลาต้นไปรอบๆ เป็นเกลียวเพื่อพยุงลาต้น เรียกว่า twining เช่น การพัน หลักของต้นมะลิวัลย์ พริกไทย อัญชัน ตาลึง ฯลฯ
  • 22. การเคลื่อนไหวที่เกิดเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงแรงดัน เต่ง (turgor movement) ปกติพืชจะมีการเคลื่อนไหวตอบสนองต่อการสัมผัส (สิ่งเร้าจากภายนอก) ช้ามาก แต่มีพืชบางชนิดที่ตอบสนองได้ เร็ว โดยการสัมผัสจะไปทาให้มีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ น้าภายในเซลล์ ทาให้แรงดันเต่ง (turgor pressure) ของเซลล์ เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเป็นไปอย่างรวดเร็วและไม่ถาวร ซึ่งมีหลาย แบบ คือ
  • 23. 1. การหุบของใบจากการสะเทือน (contract movement) - การหุบใบของต้นไมยราบ ตรงบริเวณโคนก้านใบ และโคนก้านใบย่อยจะมีกลุ่มเซลล์ชนิดหนึ่ง (เซลล์ พาเรงคิมา) เรียกว่า พัลไวนัส (pulvinus) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มี ขนาดใหญ่และผนังเซลล์บาง มีความไวสูงต่อสิ่งเร้าที่มา กระตุ้น เช่น การสัมผัส เมื่อสิ่งเร้ามาสัมผัสหรือกระตุ้นจะ มีผลทาให้แรงดันเต่งของ กลุ่มเซลล์ดังกล่าว เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว คือ เซลล์จะสูญเสียน้าให้กับ เซลล์ข้างเคียงทาให้ใบหุบลงทันที หลังจากนั้นสักครู่น้า จะซึมผ่านกลับเข้าสูเซลล์พัลไวนัสอีก แรงดันเต่ง ใน ่ เซลล์เพิ่มขึ้นทาให้แรงดันเต่งและใบกางออก
  • 24.
  • 25. - การหุบของใบพืชพวกที่มีการเปลี่ยนแปลง รูปร่างไปเพื่อจับแมลง ได้แก่ ใบของต้น หม้อข้าวหม้อแกงลิง ต้นสาหร่ายข้าวเหนียว ต้นกาบ หอยแครง ต้นหยาดน้าค้าง เป็นต้น พืชพวกนี้ถือได้ว่า เป็นพืชกินแมลงจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของใบเพื่อ ทาหน้าที่จับแมลง ภายในใบจะมีกลุ่มเซลล์หรือขน เล็กๆ (hair) ที่ไวต่อสิ่งเร้าอยู่ทางด้านในของใบ เมื่อ แมลงบินมาถูกหรือมาสัมผัสจะเกิดการสูญเสียน้า ใบจะ เคลื่อนไหวหุบทันที แล้วจึงปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อย โปรตีนของแมลงให้เป็น กรดอะมิโน จากนั้นจึงดูดซึม ที่ผิวด้านในนั้นเอง
  • 28.
  • 29. 2. การหุบใบตอนพลบค่าของพืชตระกูลถั่ว (sleep movement) เป็นการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงความเข้มของ แสงของพืชตระกูลถั่ว เช่น ใบก้ามปู ใบมะขาม ใบไมยราบ ใบถั่ว ใบแค ใบกระถิน ใบผักกระเฉด เป็นต้น โดยที่ใบจะ หุบ ก้านใบจะห้อยและลู่ลงในตอนพลบค่า เนื่องจากแสง สว่างลดลง ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “ต้นไม้นอน” แต่พอรุ่งเช้า ใบก็จะกางตามเดิม
  • 30. การตอบสนองเช่นนี้เกิดจากการเปลี่ยนแปลง แรงดันเต่งของกลุ่มเซลล์พัลไวนัสที่โคนก้านใบ โดยกลุ่ม เซลล์พัลไวนัสนี้เป็นกลุ่มเซลล์ขนาดใหญ่และผนังเซลล์ บาง มีความไวสูงต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น เมื่อไม่มีแสงสว่าง หรือแสงสว่างลดลง มีผลทาให้เซลล์ด้านหนึ่งสูญเสียน้า ให้กับช่องว่างระหว่างเซลล์ที่อยู่เคียงข้างทาให้แรงดันเต่ง ลดลงใบจึงหุบลง ก้านใบจะห้อยและลู่ลง พอรุ่งเช้ามี แสงสว่างน้าจะเคลื่อนกลับมาทาให้แรงดันเต่งเพิ่มขึ้น และเซลล์เต่งดันให้ที่ลู่นั้นกางออก
  • 32. 3. การเปิดปิดของปากใบ (guard cell movement) การเปิด-ปิดของปากใบขึ้นอยู่กับความเต่งของเซลล์ คุม(guard cell) ในตอนกลางวันเซลล์คุมมีกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้น ทาให้ภายในเซลล์คุมมีระดับ น้าตาลสูงขึ้น น้าจากเซลล์ข้างเคียงจะซึมผ่านเข้าเซลล์คุม ทาให้เซลล์คุมมีแรงดันเต่งเพิ่มขึ้นดันให้ผนังเซลล์คุมที่แนบ ชิดติดกันให้เผยออก จึงทาให้ปากใบเปิด แต่เมื่อระดับ น้าตาลลดลงเนื่องจากไม่มีกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง น้าก็จะซึมออกจากเซลล์คุม ทาให้แรงดันเต่งในเซลล์คุม ลดลงเซลล์จะเหี่ยวและปากใบก็จะปิด
  • 35. การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชด้วยการเคลื่อนไหวแบบ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นจะมีผลต่อประสิทธิภาพในการดารงชีวิตของพืช สรุปได้ดังนี้ 1. การหันยอดเข้าหาแสงสว่าง ช่วยให้พืชสังเคราะห์ อาหารได้อย่างทั่วถึง 2. การหันรากเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก ช่วยให้รากอยู่ในดิน ซึ่งเป็นแหล่ง ที่พืชได้รับน้าและแร่ธาตุ 3. การเจริญเข้าหาสารเคมีของละอองเรณู ช่วยในการ ผสมพันธุ์ การขยายกลีบช่วยในการกระจายหรือรับ ละอองเกสร
  • 36. 4. การเคลื่อนไหวแบบ nutation , spiral movement และ twining movement ช่วยให้พืชเกาะพันกับสิ่งอื่นๆ สามารถชูกิ่งหรือยอด เพื่อรับแสงแดด หรือชูดอกและ ผลเพื่อการสืบพันธุ์หรือกระจายพันธุ์ 5. การหุบของต้นกาบหอยแครงช่วยในการจับ แมลงหรืออาหาร การหุบของไมยราบช่วยในการหลบ หลีกศัตรู