SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การสร้างแบบสอบถาม (Query) โดยใช้ Design View
    1. คลิกสร้างและ คลิกมุมมองแบบสอบถาม
    2. คลิกที่ Tab ตาราง เลือกตารางหลัก “ฐานข้อมูลนักเรียน” คลิกปุ่ มเพิ่มและคลิกปุ่ มปิด
3. จะพบว่าตารางที่เลือกปรากฏอยู่ในแบบสอบถาม ดังภาพ
4. คลิกเลือกเขตข้อมูลที่ต้องการค้างไว้ แล้วลากมาวาง ในช่องเขตข้อมูล เมื่อปล่อยเมาส์ จะพบว่าเขต
ข้อมูลที่ลากมา จะถูกแสดงไว้ในช่อง เขตข้อมูลและในช่อง ตาราง ก็มีชื่อตารางของเขตข้อมูลนันแสดง
                                                                                       ้
อยู่ด้วยโดยอัตโนมัติ
5. เมื่อกาหนดค่าเรียบร้อยแล้วต้องการแสดงผลให้คลิก หน้ าแรก และคลิก มุมมอง จะพบ
ผลลัพธ์ของแบบสอบถามถูกแสดงไว้ในรูปของตาราง ดังรูป
6. เมื่อสร้าง แบบสอบถามเสร็จสามารถบันทึกแบบสอบถามได้โดยคลิกสัญลักษณ์ การบันทึก
ตังชื่อแบบสอบถามตัวอย่างชื่อ " ตรวจสอบชื่อเล่น" แล้วคลิกปุ่ ม ตกลง
  ้
นิพจน์ (Expression) หมายถึง การนาเอาค่าคงที่ ตัวแปร หรือฟังก์ชน มากระทาอย่างใด
                                                                       ั่
อย่างหนึ่ ง โดยมีเครื่องหมาย (Operator) เป็ นตัวบ่งชี้การกระทานัน แบ่งเป็ น 3 ประเภท
                                                                ้
           1. นิพจน์ ทางคณิตศาสตร์ (Number Expression) เช่น 5 + 5 เป็ นต้น
           2. นิพจน์ ข้อความ (String Expression) เช่น “ก” + “ข” “ศุภรัตน์ ” + “ลีลาธรรม”
เป็ นต้น
           3. นิพจน์ ทางตรรกะ (Lobical Expression) เช่น 1 < 2 “A” < “B” เป็ นต้น
ตัวอย่าง โอเปอเรเตอร์ทางด้านคณิตศาสตร์ (Number Operators)
                โอเปอเรเตอร์                                               คาอธิบาย
+ - ? / Mod, Avg, Count, First, Last, Max, Min,เป็ นการคานวณทางคณิตศาสตร์โดยทัวไป และฟังก์ชนการ
                                                                                       ่                ั่
     Sum, Group By, Where, Expression คานวณค่า
                  >, >=, =, <,                 ด้านการเปรียบเทียบ และกาหนดค่าต่าง ๆ
                      Is                       ใช้เปรียบเทียบว่าเป็ นค่า Null หรือไม่ เช่น Is Null, Is Not Null
                     Like                       ใช้ตรวจสอบสตริงว่ากับรูปแบบที่กาหนดหรือไม่ เช่น Like “Ki*”

                       In                       ใช้ตรวจสอบว่ามีค่าใดตรงกับในรายการหรือไม่

              Between…And…                      ใช้ในการกาหนดขอบเขตของมูลที่เป็ นช่วง
                 [ String ]                     ใช้กาหนดเงื่อนไขแบบมีพารามิเตอร์
                   Is Null                      ใช้กาหนดเงื่อนไขที่เป็ นค่าว่าง
                    And                         ใช้เชื่อมเงื่อนไขที่ต้องเป็ นจริงทังสองกรณี
                                                                                   ้
                     Or                         ใช้เชื่อมเงื่อนไขที่ต้องการให้เป็ นจริงกรณี ใดกรณี หนึ่ ง
โอเปอเรเตอร์

        ในโปรแกรม Microsoft Access สามารถแบ่งออก ได้ เป็ น 5 ประเภท คือ
         1. โอเปอเรเตอร์ทางด้านคณิตศาสตร์ (Number Operators)
         2. โอเปอเรเตอร์ทางด้านตรรกะ (Logic Operators)
                  2.1 โอเปอเรเตอร์ทางด้านการเปรียบเทียบค่า (Relational Operators)
                  2.2 โอเปอเรเตอร์ทางด้านตรรกะแบบบูลีน (Boolean operators)
        3. โอเปอเรเตอร์เชื่อมข้อความ (String Operators)
        4. โอเปอเรเตอร์ที่ใช้ในการอ้างอิง
        5. โอเปอเรเตอร์ที่ใช้ในการกาหนดค่า (Assignment operator)
ตัวอย่าง โอเปอเรเตอร์ทางด้านคณิตศาสตร์ (Number Operators)

โอเปอเรเตอร์                   คาอธิบาย               ตัวอย่าง    ผลลัพธ์
      +        บวก 2 นิพจน์เข้าด้วยกัน                  10 + 5      15
      -        ลบ 2 นิพจน์ออกจากกัน                     10 – 5      5
  - (unary)    เปลียนเครืองหมายของนิพจน์
                   ่    ่                              - (5-10)     5
      *        คูณ 2 นิพจน์เข้าด้วยกัน                  10 * 5      50
       /       หาร 2 นิพจน์เข้าด้วยกัน                  10 / 5      2
              หาร 2 นิพจน์แบบผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็ม     13 / 4      3
     Mod       หารเศษจากการหารของทัง 2 นิพจน์
                                       ้              13 Mod 4      1
      ^        หาผลลัพธ์ของการยกกาลัง                    2^4        16
ตัวอย่าง โอเปอเรเตอร์ทางด้านตรรกะ (Logical Operator) เป็ นโอเปอเรอเตอร์ที่ใช้สร้าง
เงื่อนไขต่างๆ

              โอเปอเรเตอร์          คาอธิบาย             ตัวอย่าง ผลลัพธ์
                   >       มากกว่า                      123 > 800 False
                  >=       มากกว่า หรือเท่ากับ         123 >= 100 True
                   =       เท่ากับ หรือกาหนดค่า         128 = 500 False
                   <       น้ อยกว่า                    158 < 200 True
                  <=       น้ อยกว่า หรือเท่ากับ       124 <= 100 False
                  <>       ไม่เท่ากับ                  124 <> 124 False
โอเปอเรเตอร์ชนิดนี้ จะใช้ในการเชื่อมข้อความเข้าไว้ด้วยกัน โดยมีสญลักษณ์
                                                                            ั
“ อยู่ที่หวและท้ายของข้อความโอเปอเรเตอร์ชนิดนี้ มีดงตารางต่อไปนี้
          ั                                           ั

ตัวอย่าง โอเปอเรเตอร์เกี่ยวกับการเชื่อมต่อข้อความ


  โอเปอเรเตอร์          คาอธิบาย               ตัวอย่าง               ผลลัพธ์
       &            ใช้ในการเชื่อมต่อ        “กข” & “คง”               กขคง
                          สตริง
โอเปอเรเตอร์ เกียวกับการอ้ างอิง
                ่

      โอเปอเรเตอร์ชนิดนี้ จะใช้ในการอ้างอิงถึงออบเจ็กต์ต่างๆ เช่น ตาราง คีวรี ฟอร์ม
เป็ นต้น โอเปอเรเตอร์ ชนิดนี้ มีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้

โอเปอเรเตอร์                คาอธิบาย                            ตัวอย่าง
     !         ใช้ในการอ้างอิงออบเจ็กต์ในคลาส      Forms![frm_Customers] ใช้อ้างอิง
                                                   ถึงฟอร์มชื่อ frm_Customers

     .         ใช้ในการอ้างอิงถึงสมาชิกของออบเจ็กต์ TxtName.FontName = “Tahoma”
               นัน
                 ้
โอเปอเรเตอร์ ทใช้ ในการกาหนดค่ า (Assignment Operator)
                ี่
        ได้แก่ เครื่องหมาย “=” (เท่ากับ) ซึ่งใช้ในการกาหนดค่าให้กบตัวแปร หรือ Property ของ
                                                                    ั
Objectโอเปอเรเตอร์นี้ จะกาหนดค่าให้กบตัวแปร หรือ Property ของ Object ที่อยู่ทางซ้ายของ
                                        ั
เครื่องหมาย = ค่าที่กาหนดให้กบตัวแปร อาจเป็ นค่าคงที่ หรือนิพจน์ (Expression) ก็ได้ ดัง
                              ั
ตัวอย่างต่อไปนี้ เช่น                             P = “คุณจะต้องการจบการทางานใช่หรือไม่ ? ”
                                               b = 36
                                               t = “โปรดยืนยัน”
                                               Private Sub Command24_Click()
                                               Dim p As String
                                               Dim b As Integer
                                               Dim t As String
                                               P = “คุณจะต้องการปิดหน้ าต่างนี้ ”
                                               b = 36
                                               t = “โปรดยืนยัน”
                                               If MsgBox(p , b , t) = 6 Then DoCmd.Quit
                                               End Sub
เนื้ อหาจบแล้ว ต่อไปให้นักเรียนทาแบบฝึ กหัดหน่ วยที่ 4
         เมื่อทาแบบฝึ กหัดหน่ วยที่ 4 เสร็จแล้ว
           ให้นักเรียนศึกษา หน่ วยที่ 5 ต่อไป

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

งานนำเสนอ1
 งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Ing Gnii
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
Nookky Anapat
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
mycomc55
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650
Jakkree Eiei
 

Was ist angesagt? (20)

C slide
C slideC slide
C slide
 
Variable Constant Math
Variable Constant MathVariable Constant Math
Variable Constant Math
 
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกPowerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
Intro c
Intro cIntro c
Intro c
 
งานนำเสนอ1
 งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
Tec4
Tec4Tec4
Tec4
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
Know1 3
Know1 3Know1 3
Know1 3
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
 
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวาพื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูลตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
 
C lang
C langC lang
C lang
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650
 
งาน
งานงาน
งาน
 

Andere mochten auch

หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงานหน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
kruthanyaporn
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตาราง
kruthanyaporn
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
kruthanyaporn
 
So dealer application
So dealer applicationSo dealer application
So dealer application
DataPhreak
 
Codi with Words and Music
Codi with Words and MusicCodi with Words and Music
Codi with Words and Music
knarmore
 

Andere mochten auch (7)

หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงานหน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตาราง
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
Cmat101 brett
Cmat101 brett Cmat101 brett
Cmat101 brett
 
So dealer application
So dealer applicationSo dealer application
So dealer application
 
Codi with Words and Music
Codi with Words and MusicCodi with Words and Music
Codi with Words and Music
 

Ähnlich wie การสร้างแบบสอบถาม

บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
Little Tukta Lita
 
ตัวแปรและชนิดข้อมูล
ตัวแปรและชนิดข้อมูลตัวแปรและชนิดข้อมูล
ตัวแปรและชนิดข้อมูล
Inam Chatsanova
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Dararat Worasut
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
Areeya Onnom
 

Ähnlich wie การสร้างแบบสอบถาม (20)

Work
WorkWork
Work
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
 
นิพจน์
นิพจน์นิพจน์
นิพจน์
 
งานทำBlog บทที่ 4
งานทำBlog บทที่ 4งานทำBlog บทที่ 4
งานทำBlog บทที่ 4
 
ตัวแปรและชนิดข้อมูล
ตัวแปรและชนิดข้อมูลตัวแปรและชนิดข้อมูล
ตัวแปรและชนิดข้อมูล
 
207
207207
207
 
lesson 3
lesson 3lesson 3
lesson 3
 
Basic
BasicBasic
Basic
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้น
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2
 
Unit9
Unit9Unit9
Unit9
 
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวาบทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
 
C language
C languageC language
C language
 
C language
C languageC language
C language
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 

Mehr von kruthanyaporn

หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายหน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
kruthanyaporn
 
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงานหน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
kruthanyaporn
 
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์มหน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
kruthanyaporn
 
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
หน่วยที่ 3 การสร้างตารางหน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
kruthanyaporn
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
kruthanyaporn
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
kruthanyaporn
 
การสร้างรายงาน
การสร้างรายงานการสร้างรายงาน
การสร้างรายงาน
kruthanyaporn
 
หน่วยที่ 6 รายงาน
หน่วยที่ 6 รายงานหน่วยที่ 6 รายงาน
หน่วยที่ 6 รายงาน
kruthanyaporn
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์ม
kruthanyaporn
 
โปรแกรม Microsoft Access 2007
โปรแกรม Microsoft Access 2007โปรแกรม Microsoft Access 2007
โปรแกรม Microsoft Access 2007
kruthanyaporn
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
kruthanyaporn
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
kruthanyaporn
 

Mehr von kruthanyaporn (20)

หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายหน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
 
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงานหน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน
 
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์มหน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
 
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
หน่วยที่ 3 การสร้างตารางหน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
 
การสร้างรายงาน
การสร้างรายงานการสร้างรายงาน
การสร้างรายงาน
 
หน่วยที่ 6 รายงาน
หน่วยที่ 6 รายงานหน่วยที่ 6 รายงาน
หน่วยที่ 6 รายงาน
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์ม
 
Table
TableTable
Table
 
โปรแกรม Microsoft Access 2007
โปรแกรม Microsoft Access 2007โปรแกรม Microsoft Access 2007
โปรแกรม Microsoft Access 2007
 
N2 (2)
N2 (2)N2 (2)
N2 (2)
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
Database1
Database1Database1
Database1
 

การสร้างแบบสอบถาม

  • 1.
  • 2. การสร้างแบบสอบถาม (Query) โดยใช้ Design View 1. คลิกสร้างและ คลิกมุมมองแบบสอบถาม 2. คลิกที่ Tab ตาราง เลือกตารางหลัก “ฐานข้อมูลนักเรียน” คลิกปุ่ มเพิ่มและคลิกปุ่ มปิด
  • 4. 4. คลิกเลือกเขตข้อมูลที่ต้องการค้างไว้ แล้วลากมาวาง ในช่องเขตข้อมูล เมื่อปล่อยเมาส์ จะพบว่าเขต ข้อมูลที่ลากมา จะถูกแสดงไว้ในช่อง เขตข้อมูลและในช่อง ตาราง ก็มีชื่อตารางของเขตข้อมูลนันแสดง ้ อยู่ด้วยโดยอัตโนมัติ
  • 5. 5. เมื่อกาหนดค่าเรียบร้อยแล้วต้องการแสดงผลให้คลิก หน้ าแรก และคลิก มุมมอง จะพบ ผลลัพธ์ของแบบสอบถามถูกแสดงไว้ในรูปของตาราง ดังรูป
  • 6. 6. เมื่อสร้าง แบบสอบถามเสร็จสามารถบันทึกแบบสอบถามได้โดยคลิกสัญลักษณ์ การบันทึก ตังชื่อแบบสอบถามตัวอย่างชื่อ " ตรวจสอบชื่อเล่น" แล้วคลิกปุ่ ม ตกลง ้
  • 7. นิพจน์ (Expression) หมายถึง การนาเอาค่าคงที่ ตัวแปร หรือฟังก์ชน มากระทาอย่างใด ั่ อย่างหนึ่ ง โดยมีเครื่องหมาย (Operator) เป็ นตัวบ่งชี้การกระทานัน แบ่งเป็ น 3 ประเภท ้ 1. นิพจน์ ทางคณิตศาสตร์ (Number Expression) เช่น 5 + 5 เป็ นต้น 2. นิพจน์ ข้อความ (String Expression) เช่น “ก” + “ข” “ศุภรัตน์ ” + “ลีลาธรรม” เป็ นต้น 3. นิพจน์ ทางตรรกะ (Lobical Expression) เช่น 1 < 2 “A” < “B” เป็ นต้น
  • 8. ตัวอย่าง โอเปอเรเตอร์ทางด้านคณิตศาสตร์ (Number Operators) โอเปอเรเตอร์ คาอธิบาย + - ? / Mod, Avg, Count, First, Last, Max, Min,เป็ นการคานวณทางคณิตศาสตร์โดยทัวไป และฟังก์ชนการ ่ ั่ Sum, Group By, Where, Expression คานวณค่า >, >=, =, <, ด้านการเปรียบเทียบ และกาหนดค่าต่าง ๆ Is ใช้เปรียบเทียบว่าเป็ นค่า Null หรือไม่ เช่น Is Null, Is Not Null Like ใช้ตรวจสอบสตริงว่ากับรูปแบบที่กาหนดหรือไม่ เช่น Like “Ki*” In ใช้ตรวจสอบว่ามีค่าใดตรงกับในรายการหรือไม่ Between…And… ใช้ในการกาหนดขอบเขตของมูลที่เป็ นช่วง [ String ] ใช้กาหนดเงื่อนไขแบบมีพารามิเตอร์ Is Null ใช้กาหนดเงื่อนไขที่เป็ นค่าว่าง And ใช้เชื่อมเงื่อนไขที่ต้องเป็ นจริงทังสองกรณี ้ Or ใช้เชื่อมเงื่อนไขที่ต้องการให้เป็ นจริงกรณี ใดกรณี หนึ่ ง
  • 9. โอเปอเรเตอร์ ในโปรแกรม Microsoft Access สามารถแบ่งออก ได้ เป็ น 5 ประเภท คือ 1. โอเปอเรเตอร์ทางด้านคณิตศาสตร์ (Number Operators) 2. โอเปอเรเตอร์ทางด้านตรรกะ (Logic Operators) 2.1 โอเปอเรเตอร์ทางด้านการเปรียบเทียบค่า (Relational Operators) 2.2 โอเปอเรเตอร์ทางด้านตรรกะแบบบูลีน (Boolean operators) 3. โอเปอเรเตอร์เชื่อมข้อความ (String Operators) 4. โอเปอเรเตอร์ที่ใช้ในการอ้างอิง 5. โอเปอเรเตอร์ที่ใช้ในการกาหนดค่า (Assignment operator)
  • 10. ตัวอย่าง โอเปอเรเตอร์ทางด้านคณิตศาสตร์ (Number Operators) โอเปอเรเตอร์ คาอธิบาย ตัวอย่าง ผลลัพธ์ + บวก 2 นิพจน์เข้าด้วยกัน 10 + 5 15 - ลบ 2 นิพจน์ออกจากกัน 10 – 5 5 - (unary) เปลียนเครืองหมายของนิพจน์ ่ ่ - (5-10) 5 * คูณ 2 นิพจน์เข้าด้วยกัน 10 * 5 50 / หาร 2 นิพจน์เข้าด้วยกัน 10 / 5 2 หาร 2 นิพจน์แบบผลลัพธ์เป็ นจานวนเต็ม 13 / 4 3 Mod หารเศษจากการหารของทัง 2 นิพจน์ ้ 13 Mod 4 1 ^ หาผลลัพธ์ของการยกกาลัง 2^4 16
  • 11. ตัวอย่าง โอเปอเรเตอร์ทางด้านตรรกะ (Logical Operator) เป็ นโอเปอเรอเตอร์ที่ใช้สร้าง เงื่อนไขต่างๆ โอเปอเรเตอร์ คาอธิบาย ตัวอย่าง ผลลัพธ์ > มากกว่า 123 > 800 False >= มากกว่า หรือเท่ากับ 123 >= 100 True = เท่ากับ หรือกาหนดค่า 128 = 500 False < น้ อยกว่า 158 < 200 True <= น้ อยกว่า หรือเท่ากับ 124 <= 100 False <> ไม่เท่ากับ 124 <> 124 False
  • 12. โอเปอเรเตอร์ชนิดนี้ จะใช้ในการเชื่อมข้อความเข้าไว้ด้วยกัน โดยมีสญลักษณ์ ั “ อยู่ที่หวและท้ายของข้อความโอเปอเรเตอร์ชนิดนี้ มีดงตารางต่อไปนี้ ั ั ตัวอย่าง โอเปอเรเตอร์เกี่ยวกับการเชื่อมต่อข้อความ โอเปอเรเตอร์ คาอธิบาย ตัวอย่าง ผลลัพธ์ & ใช้ในการเชื่อมต่อ “กข” & “คง” กขคง สตริง
  • 13. โอเปอเรเตอร์ เกียวกับการอ้ างอิง ่ โอเปอเรเตอร์ชนิดนี้ จะใช้ในการอ้างอิงถึงออบเจ็กต์ต่างๆ เช่น ตาราง คีวรี ฟอร์ม เป็ นต้น โอเปอเรเตอร์ ชนิดนี้ มีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้ โอเปอเรเตอร์ คาอธิบาย ตัวอย่าง ! ใช้ในการอ้างอิงออบเจ็กต์ในคลาส Forms![frm_Customers] ใช้อ้างอิง ถึงฟอร์มชื่อ frm_Customers . ใช้ในการอ้างอิงถึงสมาชิกของออบเจ็กต์ TxtName.FontName = “Tahoma” นัน ้
  • 14. โอเปอเรเตอร์ ทใช้ ในการกาหนดค่ า (Assignment Operator) ี่ ได้แก่ เครื่องหมาย “=” (เท่ากับ) ซึ่งใช้ในการกาหนดค่าให้กบตัวแปร หรือ Property ของ ั Objectโอเปอเรเตอร์นี้ จะกาหนดค่าให้กบตัวแปร หรือ Property ของ Object ที่อยู่ทางซ้ายของ ั เครื่องหมาย = ค่าที่กาหนดให้กบตัวแปร อาจเป็ นค่าคงที่ หรือนิพจน์ (Expression) ก็ได้ ดัง ั ตัวอย่างต่อไปนี้ เช่น P = “คุณจะต้องการจบการทางานใช่หรือไม่ ? ” b = 36 t = “โปรดยืนยัน” Private Sub Command24_Click() Dim p As String Dim b As Integer Dim t As String P = “คุณจะต้องการปิดหน้ าต่างนี้ ” b = 36 t = “โปรดยืนยัน” If MsgBox(p , b , t) = 6 Then DoCmd.Quit End Sub
  • 15. เนื้ อหาจบแล้ว ต่อไปให้นักเรียนทาแบบฝึ กหัดหน่ วยที่ 4 เมื่อทาแบบฝึ กหัดหน่ วยที่ 4 เสร็จแล้ว ให้นักเรียนศึกษา หน่ วยที่ 5 ต่อไป