SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
คาชี้แจงการใช้เอกสารประกอบการเรียน
รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส33102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
เล่ม 1 เรื่ององค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียนชุดนี้ เป็นเอกสารที่ใช้ประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม สาระประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส33102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 2 เรื่องการสร้างองค์
ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย เล่ม 1 เรื่ององค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้
ศึกษาด้วยตนเองตามลาดับขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนี้
1. ก่อนการเรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียน นักเรียนควรศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ของ
เอกสารประกอบการเรียนให้เข้าใจ เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการเรียนรู้
2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนด้วยความซื่อสัตย์ เพื่อวัดความรู้พื้นฐานของตนเองก่อน
เรียนแล้วตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
3. ศึกษาเนื้อหาของเอกสารประกอบการเรียนตามลาดับ ปฏิบัติตามขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่าง
เคร่งครัดทีละตอน พร้อมทั้งตอบคาถามแต่ละกิจกรรมเพื่อเป็นการทบทวนความรู้ ความเข้าใจ ถ้านักเรียน
มีความสงสัย ไม่เข้าใจ หรือเกิดปัญหาในการปฏิบัติกิจกรรม สามารถขอคาปรึกษาและคาแนะนาจาก
ครูผู้สอนได้ทันที
4. เมื่อศึกษาเนื้อหาและตอบคาถามตามกิจกรรมครบถ้วนแล้ว นักเรียนทาแบบทดสอบหลัง
เรียนพร้อมทั้งตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
ครูจะทาหน้าที่เป็นผู้ให้คาแนะนา เป็นที่ปรึกษาให้กับนักเรียน ดังนั้นครูจะให้นักเรียนปฏิบัติ
ตามขั้นตอนของเอกสารประกอบการเรียนอย่างเคร่งครัด และมีความซื่อสัตย์กับตัวเอง จึงจะทาให้
กระบวนการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
หากนักเรียนได้คะแนนต่ากว่าเกณฑ์ ให้กลับมาศึกษาเนื้อหาของเอกสารประกอบการเรียนอีก
ครั้ง ส่วนนักเรียนที่ได้คะแนนผ่านเกณฑ์แล้ว สามารถไปศึกษาเนื้อในเอกสารประกอบการเรียนเล่มอื่น
ต่อไป
สาระสาคัญ
องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์เกิดจากการสืบค้นที่ปรากฏในหลักฐานทางประวิติศาสตร์ โดยนัก
ประวัติศาสตร์หรือผู้สร้างองค์ความรู้ ซึ่งได้ประมวลเรื่องราวที่เกิดขึ้นในอดีตเป็นองค์ความรู้เพื่อช่วยให้
มนุษย์ ทราบถึงพัฒนาการทางประวัติศาสตร์และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ความถูกต้องความน่าเชื่อถือของ
องค์ความรู้ก็มีความสัมพันธ์กับการได้มาซึ่งองค์ความรู้หรือวิธีการสร้างองค์ความรู้ด้วย
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความสาคัญขององค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ได้
2. สามารถเชื่อมโยงความเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีผลต่อปัจจุบันได้
3. บอกคุณสมบัติของนักประวัติศาสตร์ได้
4. บอกประโยชน์ของการสร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ได้
ภาพที่ 1 อุโบสถวัดโพธิ์ศรีธาตุ ตาบลธาตุ อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์
ภาพโดย วันทา นามรักษ์
แบบทดสอบก่อนเรียน
เอกสารประกอบการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ รหัส ส331102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เล่ม 1 เรื่ององค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ เวลา 10 นาที
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียว โดยทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบ
1. องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์เกิดจากอะไร
ก. เกิดจากความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์
ข. เกิดจากการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบสิ่งที่พบใหม่
และกับเดิมที่มีอยู่แล้ว
ค. เกิดจากการนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาพิสูจน์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ง. เกิดจากการสืบค้นข้อมูลที่ปรากฏในหลักฐาน
โดยนักประวัติศาสตร์
2. คาว่า “ประวัติศาสตร์” มีความหมาย
สอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
ก. การศึกษาถึงถิ่นกาเนิดโลก
ข. การศึกษาความเป็นมาของทุกสิ่งทุกอย่างบน
โลก
ค. การศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์ทุก
เรื่องราว
ที่เกิดขึ้น
ง. การศึกษาเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกันอดีตของ
มนุษย์และมีผลกระทบต่อคนส่วนใหญ่ใน
สังคม
3. ผลการศึกษาทางประวัติศาสตร์ในอดีตอาจ
เปลี่ยนแปลงได้จากขั้นตอนใด
ก. การตั้งประเด็นคาถาม
ข. การรวบรวมข้อมูล
ค. การวิเคราะห์ข้อมูล
ง. การนาเสนอข้อมูล
4. ถ้านักเรียนต้องการศึกษาประวัติความเป็นมา
ของเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ จะต้องใช้วิธีการ
ใด
ก. สอบถามจากผู้รู้ที่เกิดทันกับเหตุการณ์
ข. ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
ค. ศึกษาข้อมูลที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
ง. ศึกษาข้อมูลประวัติศาสตร์จากการสืบค้น
ทางอินเทอร์เน็ต
5. ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบของประวัติศาสตร์
ก. มีมิติเวลา
ข. มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร
ค. เป็นเรื่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์
ง. มีการอธิบายด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์
6. ข้อใดกล่าวถึงประโยชน์ของการศึกษา
ประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
ถูกต้อง
ก. ทาให้เหตุการณ์ในอดีตมีความน่าสนใจมาก
ยิ่งขึ้น
ข. ทาให้การสืบค้นข้อมูลในอดีตเกิดความ
สะดวกรวดเร็ว
ค. ทาให้เรื่องราวที่ศึกษามีความน่าเชื่อถือและ
ได้รับการยอมรับ
ง. ทาให้ได้ข้อมูลจานวนมากในการนามา
วิเคราะห์เหตุการณ์ในอดีต
7. ผู้สร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์คือใคร
ก. นักโบราณคดี
ข. นักวิจัยประวัติศาสตร์
ค. ผู้เชี่ยวชาญหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ง. นักประวัติศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ
ทาง
ประวัติศาสตร์ และผู้สนใจประวัติศาสตร์
8. ข้อใดไม่ใช่ความสาคัญขององค์ความรู้ทาง
ประวัติศาสตร์
ก. ทาให้เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องราวในอดีต
ข. เห็นพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของมนุษยชาติ
ค. ทาให้รู้ว่าชาติบรรพบุรุษของเรามีความ
โดดเด่นสาคัญกว่าชาติอื่น ๆ
ง. ทาให้สามารถเชื่อมโยงความสาคัญของ
เหตุการณ์ในอดีตที่มีผลต่อปัจจุบัน
9. นักประวัติศาสตร์ควรมีลักษณะเช่นใด
ก. มีความคิดที่เป็นเหตุเป็นผล
ข. มีความซื่อสัตย์ในการแสวงหาข้อเท็จจิรง
ค. มีความระมัดระวังในการใช้หลักฐาน
ง. มุ่งสร้างผลงานและชื่อเสียงให้สาธารณชน
รู้จัก
10. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการสร้างองค์ความรู้
ทางประวัติศาสตร์
ก. ทาให้เกิดความตระหนักในคุณค่าทาง
วัฒนธรรมของบรรพบุรุษ
ข. ทาให้ค้นพบโบราณวัตถุที่ล้าค่าและเป็น
มรดกที่ควรสะสม
ค. ทาให้เห็นคุณค่าของอดีตที่ควรอนุรักษ์
เป็นสมบัติของมนุษยชาติสืบไป
ง. ทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
พัฒนาการขอมนุษยชาติ
ภาพที่ 2 พระธาตุวัดโพธิ์ศรีธาตุ ตาบลธาตุ อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์
ภาพโดย วันทา นามรักษ์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
nangnut
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
panisra
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
Sivagon Soontong
 

Was ist angesagt? (20)

พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 

Ähnlich wie การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย

บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
krunumc
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
krupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
Mine Pantip
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
Mine Pantip
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
Sumontira Niyama
 

Ähnlich wie การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย (20)

แผนที16
แผนที16แผนที16
แผนที16
 
Workhistrory1
Workhistrory1Workhistrory1
Workhistrory1
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
 
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
 
ใบงาน2-8
ใบงาน2-8ใบงาน2-8
ใบงาน2-8
 
2-8
2-82-8
2-8
 
บทที่ 2++77
บทที่  2++77บทที่  2++77
บทที่ 2++77
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ 12แผนการจัดการเรียนรู้ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ 12
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 

Mehr von SAKANAN ANANTASOOK

Mehr von SAKANAN ANANTASOOK (20)

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
 
PISA2015THAILAND
PISA2015THAILANDPISA2015THAILAND
PISA2015THAILAND
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
 
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
 
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)
 

การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย

  • 1.
  • 2. คาชี้แจงการใช้เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส33102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย เล่ม 1 เรื่ององค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ เอกสารประกอบการเรียนชุดนี้ เป็นเอกสารที่ใช้ประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส33102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 2 เรื่องการสร้างองค์ ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย เล่ม 1 เรื่ององค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้ ศึกษาด้วยตนเองตามลาดับขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนี้ 1. ก่อนการเรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียน นักเรียนควรศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ของ เอกสารประกอบการเรียนให้เข้าใจ เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการเรียนรู้ 2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนด้วยความซื่อสัตย์ เพื่อวัดความรู้พื้นฐานของตนเองก่อน เรียนแล้วตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ศึกษาเนื้อหาของเอกสารประกอบการเรียนตามลาดับ ปฏิบัติตามขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่าง เคร่งครัดทีละตอน พร้อมทั้งตอบคาถามแต่ละกิจกรรมเพื่อเป็นการทบทวนความรู้ ความเข้าใจ ถ้านักเรียน มีความสงสัย ไม่เข้าใจ หรือเกิดปัญหาในการปฏิบัติกิจกรรม สามารถขอคาปรึกษาและคาแนะนาจาก ครูผู้สอนได้ทันที 4. เมื่อศึกษาเนื้อหาและตอบคาถามตามกิจกรรมครบถ้วนแล้ว นักเรียนทาแบบทดสอบหลัง เรียนพร้อมทั้งตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ครูจะทาหน้าที่เป็นผู้ให้คาแนะนา เป็นที่ปรึกษาให้กับนักเรียน ดังนั้นครูจะให้นักเรียนปฏิบัติ ตามขั้นตอนของเอกสารประกอบการเรียนอย่างเคร่งครัด และมีความซื่อสัตย์กับตัวเอง จึงจะทาให้ กระบวนการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ หากนักเรียนได้คะแนนต่ากว่าเกณฑ์ ให้กลับมาศึกษาเนื้อหาของเอกสารประกอบการเรียนอีก ครั้ง ส่วนนักเรียนที่ได้คะแนนผ่านเกณฑ์แล้ว สามารถไปศึกษาเนื้อในเอกสารประกอบการเรียนเล่มอื่น ต่อไป
  • 3. สาระสาคัญ องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์เกิดจากการสืบค้นที่ปรากฏในหลักฐานทางประวิติศาสตร์ โดยนัก ประวัติศาสตร์หรือผู้สร้างองค์ความรู้ ซึ่งได้ประมวลเรื่องราวที่เกิดขึ้นในอดีตเป็นองค์ความรู้เพื่อช่วยให้ มนุษย์ ทราบถึงพัฒนาการทางประวัติศาสตร์และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ความถูกต้องความน่าเชื่อถือของ องค์ความรู้ก็มีความสัมพันธ์กับการได้มาซึ่งองค์ความรู้หรือวิธีการสร้างองค์ความรู้ด้วย จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความสาคัญขององค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ได้ 2. สามารถเชื่อมโยงความเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีผลต่อปัจจุบันได้ 3. บอกคุณสมบัติของนักประวัติศาสตร์ได้ 4. บอกประโยชน์ของการสร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ได้ ภาพที่ 1 อุโบสถวัดโพธิ์ศรีธาตุ ตาบลธาตุ อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ภาพโดย วันทา นามรักษ์
  • 4. แบบทดสอบก่อนเรียน เอกสารประกอบการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ รหัส ส331102 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 เรื่ององค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ เวลา 10 นาที คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียว โดยทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบ 1. องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์เกิดจากอะไร ก. เกิดจากความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์ ข. เกิดจากการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบสิ่งที่พบใหม่ และกับเดิมที่มีอยู่แล้ว ค. เกิดจากการนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาพิสูจน์ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ง. เกิดจากการสืบค้นข้อมูลที่ปรากฏในหลักฐาน โดยนักประวัติศาสตร์ 2. คาว่า “ประวัติศาสตร์” มีความหมาย สอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด ก. การศึกษาถึงถิ่นกาเนิดโลก ข. การศึกษาความเป็นมาของทุกสิ่งทุกอย่างบน โลก ค. การศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์ทุก เรื่องราว ที่เกิดขึ้น ง. การศึกษาเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกันอดีตของ มนุษย์และมีผลกระทบต่อคนส่วนใหญ่ใน สังคม 3. ผลการศึกษาทางประวัติศาสตร์ในอดีตอาจ เปลี่ยนแปลงได้จากขั้นตอนใด ก. การตั้งประเด็นคาถาม ข. การรวบรวมข้อมูล ค. การวิเคราะห์ข้อมูล ง. การนาเสนอข้อมูล 4. ถ้านักเรียนต้องการศึกษาประวัติความเป็นมา ของเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ จะต้องใช้วิธีการ ใด ก. สอบถามจากผู้รู้ที่เกิดทันกับเหตุการณ์ ข. ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ค. ศึกษาข้อมูลที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ง. ศึกษาข้อมูลประวัติศาสตร์จากการสืบค้น ทางอินเทอร์เน็ต 5. ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบของประวัติศาสตร์ ก. มีมิติเวลา ข. มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ค. เป็นเรื่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์ ง. มีการอธิบายด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ 6. ข้อใดกล่าวถึงประโยชน์ของการศึกษา ประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้ ถูกต้อง ก. ทาให้เหตุการณ์ในอดีตมีความน่าสนใจมาก ยิ่งขึ้น ข. ทาให้การสืบค้นข้อมูลในอดีตเกิดความ สะดวกรวดเร็ว ค. ทาให้เรื่องราวที่ศึกษามีความน่าเชื่อถือและ ได้รับการยอมรับ ง. ทาให้ได้ข้อมูลจานวนมากในการนามา วิเคราะห์เหตุการณ์ในอดีต
  • 5. 7. ผู้สร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์คือใคร ก. นักโบราณคดี ข. นักวิจัยประวัติศาสตร์ ค. ผู้เชี่ยวชาญหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ง. นักประวัติศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ทาง ประวัติศาสตร์ และผู้สนใจประวัติศาสตร์ 8. ข้อใดไม่ใช่ความสาคัญขององค์ความรู้ทาง ประวัติศาสตร์ ก. ทาให้เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องราวในอดีต ข. เห็นพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของมนุษยชาติ ค. ทาให้รู้ว่าชาติบรรพบุรุษของเรามีความ โดดเด่นสาคัญกว่าชาติอื่น ๆ ง. ทาให้สามารถเชื่อมโยงความสาคัญของ เหตุการณ์ในอดีตที่มีผลต่อปัจจุบัน 9. นักประวัติศาสตร์ควรมีลักษณะเช่นใด ก. มีความคิดที่เป็นเหตุเป็นผล ข. มีความซื่อสัตย์ในการแสวงหาข้อเท็จจิรง ค. มีความระมัดระวังในการใช้หลักฐาน ง. มุ่งสร้างผลงานและชื่อเสียงให้สาธารณชน รู้จัก 10. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการสร้างองค์ความรู้ ทางประวัติศาสตร์ ก. ทาให้เกิดความตระหนักในคุณค่าทาง วัฒนธรรมของบรรพบุรุษ ข. ทาให้ค้นพบโบราณวัตถุที่ล้าค่าและเป็น มรดกที่ควรสะสม ค. ทาให้เห็นคุณค่าของอดีตที่ควรอนุรักษ์ เป็นสมบัติของมนุษยชาติสืบไป ง. ทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ พัฒนาการขอมนุษยชาติ ภาพที่ 2 พระธาตุวัดโพธิ์ศรีธาตุ ตาบลธาตุ อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ภาพโดย วันทา นามรักษ์