SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 16
Downloaden Sie, um offline zu lesen
วิเคราะหหนวย
มาต
และ
และ
ตัวชี้
แล
ยบูรณาการทัก
ตรฐาน ว 4.1
ะแรงนิวเคลีย
ะนําความรูไ
ชี้วัด
ม.3/1 อ
ม. 3/2 ท
ละนําความรูไป
ม.3/3 ทด
กษะชีวิต หนวย
1 เขาใจธรร
ยร มีกระบ
ปใชประโยช
อธิบายความ
ทดลองและอ
ปใชประโยชน
ดลองและอธิ
ยที่ 1 เรื่อง แรง
รมชาติของแ
วนการสืบเส
ชนอยางถูกต
เรงและผลข
อธิบายแรงกิ
น
ธิบายแรงพย
ง และการเคลื่
แรงแมเหล็ก
สาะหาความ
ตองและมีคุณ
ของแรงลัพธ
กิริยาและแร
ยุงของของเ
อนที่
กไฟฟา แรงโ
มรู สื่อสารสิ่ง
ณธรรม
ธที่ทําตอวัตถ
รงปฏิกิริยาระ
หลวที่กระทํ
โนมถวง
งที่เรียนรู
ถุ
ะหวางวัตถุ
ทําตอวัตถุ
หนา 1
วิเคราะหหนวย
มาต
มีกร
และ
ตัวชี้
เสีย
ประ
เสีย
ประ
ยบูรณาการทัก
ตรฐาน ว 4.2
ระบวนการสื
ะนําความรูไ
ชี้วัด
ม.3/1 ท
ดทานจลน
ม.3/2 ท
ะโยชน
ม.3/3 สั
ม.3/4 ท
ดทานจลน
ม.3/5
ะโยชน
ม.3/6 สั
กษะชีวิต หนวย
2 เขาใจลักษ
สืบเสาะหาค
ปใชประโยช
ทดลองและอ
และนําความ
ทดลองและวิ
สังเกตและอธิ
ทดลองและ
และนําความ
ทดลอง
สังเกตและอธิ
ยที่ 1 เรื่อง แรง
ษณะการเคลื
ความรูและจิ
ชน
อธิบายความ
มรูไปใชปร
วิเคราะหโมเ
ธิบายการเคล
อธิบายความ
มรูไปใชปร
งและวิเครา
ธิบายการเคล
ง และการเคลื่
ลื่อนที่แบบต
ตวิทยาศาส
มแตกตางระห
ะโยชน
เมนตของแร
ลื่อนที่ของวั
มแตกตางระ
ะโยชน
าะหโมเมนต
ลื่อนที่ของวั
อนที่
ตางๆ ของวัต
สตร สื่อสาร
หวางแรงเสี
รง และนําคว
วัตถุที่เปนแน
ะหวางแรงเสี
ตของแรง แ
วัตถุที่เปนแน
ตถุในธรรมช
รสิ่งที่เรียนรู
สยดทานสถิต
วามรูไปใช
นวตรง และ
สียดทานสถิ
และนําควา
นวตรง และ
หนา 2
ชาติ
รู
ตกับแรง
แนวโคง
ถิตกับแรง
มรูไปใช
แนวโคง
วิเคราะหหนวย
4. แรงเสี
5. โมเมน
เวลาเรีย
เวลาเรียน
ยบูรณาการทัก
สียดทาน
นตของแรง
น 3 คาบ
น 4 คาบ
กษะชีวิต หนวย
แ
ยที่ 1 เรื่อง แรง
เวลาเรียน
หนวย
แรงและการ
1. ผลของ
ที่กระทํา
ง และการเคลื่
น 14 คาบ
ยที่ 1
รเคลื่อนที่
งแรงลัพธ
กับวัตถุ
อนที่
เวลาเรียน
2. แรงกิริย
แรงปฏิกิ
3. แรงพ
เวลาเรียน
หนา 3
3 คาบ
ยาและ
กิริยา
พยุง
น 3 คาบ
วิเคราะหหนวย
กลุมสาระก
ระดับชั้นมัธ
สาระที่ 4 แร
ลําดับ/
ชื่อแผน
แผนที่ 1
เรียนรู
บทเรียน
แผนที่ 2
ความเรง
เนื่องจาก
การตก
ของวัตถุ
ยบูรณาการทัก
โครง
การเรียนรูวิท
ธยมศึกษาป
รงและการเค
มาตรฐา
ตั
1. ทําความเ
นักเรียนเรื่อ
เรียน ระเบี
กติกาในกา
วิทยาศาสต
โดยใชรูปแ
เรียนรูดวยโ
สังคมเครือ
ดวย Edmod
2. ทดสอบค
เนื้อหาเกี่ยว
การเคลื่อนท
มาตรฐาน ว
ม.3/1 อธิบ
ผลของแร
วัตถุ
กษะชีวิต หนวย
งสรางรายวิ
ทยาศาสตร ร
ปที่ 3 เวลาเรี
คลื่อนที่ มาต
านการเรียนรู
ตัวชี้วัด
เขาใจกับ
อง คะแนน เ
บียบปฏิบัติ แ
รเรียน รายวิ
ร กับการเรี
แบบการจัดก
โครงการผา
ขายการเรียน
do
ความรูพื้นฐ
วกับแรง แล
ที่
ว 4.1
บายความเรง
รงลัพธที่ทํ
ยที่ 1 เรื่อง แรง
วิชาหนวยที
รหัสวิชา ว 2
รียน 27 คาบ
ตรฐาน ว 4.
รู/
เวลา
และ
วิชา
ยน
การ
น
นรู
าน
ะ
ทําคว
เรียน
พื้นฐ
งและ
าตอ
วัตถ
ที่เป
การ
เมื่อ
เทาก
ง และการเคลื่
ที่ 1 แรง แล
23101
บ
.1-4.2
สาระ
การเรียน
วามเขาใจกา
นรู และทดส
ฐานกอนเรีย
ถุเคลื่อนที่ดว
ปลี่ยนแปลง
รเคลื่อนที่ดว
แรงลัพธมีค
กับศูนยกระ
อนที่
ละการเคลื่อน
ชื่อรา
คะ
ะ
นรู
ารจัดการ
สอบความรู
น
วยความเร็ว
เปน
วยความเรง
คาไม
ะทําตอวัตถุ
นที่
ายวิชาวิทยา
ะแนนเก็บ 20
ระยะ
เวลา
5 คาบ
2 คาบ
หนา 4
ศาสตร 5
0 คะแนน
น้ําหนัก
คะแนน
-
2
วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 5
ลําดับ/
ชื่อแผน
มาตรฐานการเรียนรู/
ตัวชี้วัด
สาระ
การเรียนรู
ระยะ
เวลา
น้ําหนัก
คะแนน
วัตถุจะเคลื่อนที่ดวย
ความเรงซึ่งมี
ทิศทางเดียวกับแรงลัพธ
แผนที่ 3
ความเรง
มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/1 อธิบายความเรงและ
ผลของแรงลัพธที่ทําตอ
วัตถุ (ตอ)
วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็ว
ที่เปลี่ยนแปลง เปน
การเคลื่อนที่ดวยความเรง
เมื่อแรงลัพธมีคาไม
เทากับศูนยกระทําตอวัตถุ
วัตถุจะเคลื่อนที่ดวย
ความเรงซึ่งมี
ทิศทางเดียวกับแรงลัพธ
3 คาบ 2
แผนที่ 4
แรงลัพธ
มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/1 อธิบายความเรงและ
ผลของแรงลัพธที่ทําตอ
วัตถุ (ตอ)
3 คาบ 2
แผนที่ 5
การ
เคลื่อนที่
ของวัตถุ
ใน
ประเทศ
อาเซียน
มาตรฐาน ว 4.2
ม.3/3 สังเกตและอธิบาย
การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เปน
แนวตรง และแนวโคง
การเคลื่อนที่ของวัตถุมีทั้ง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
เชน การตกแบบเสรี และ
การเคลื่อนที่ในแนวโคง
เชน การเคลื่อนที่แบบ
โพรเจกไทลของลูก
บาสเกตบอลในอากาศ
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
ของวัตถุที่ผูกเชือกแลว
แกวง เปนตน
1 คาบ 1
วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 6
ลําดับ/
ชื่อแผน
มาตรฐานการเรียนรู/
ตัวชี้วัด
สาระ
การเรียนรู
ระยะ
เวลา
น้ําหนัก
คะแนน
แผน 6
แรงกิริยา
และแรง
ปฏิกิริยา
มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/2 ทดลองและอธิบาย
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
ระหวางวัตถุ และนําความรูไป
ใชประโยชน
ทุกแรงกิริยาจะมี
แรงปฏิกิริยาโตตอบดวย
ขนาดของแรงเทากัน แตมี
ทิศทางตรงขาม
การนําความรูเรื่องแรง
กิริยาและแรงปฏิกิริยาไป
ใชอธิบาย เชน การชักเยอ
การจุดบั้งไฟ
3 คาบ 2
แผนที่ 4
แรงพยุง
มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/3 ทดลองและอธิบาย
แรงพยุงของของเหลวที่
กระทําตอวัตถุ
แรงพยุง คือ แรงที่
ของเหลวกระทําตอวัตถุมี
คาเทากับน้ําหนักของ
ของเหลวที่มีปริมาตร
เทากับสวนที่จมของวัตถุ
ของเหลวที่มีความ
หนาแนนมากจะมีแรงพยุง
มาก
วัตถุที่ลอยไดในของเหลว
จะมีความหนาแนนนอย
กวาความหนาแนนของ
ของเหลว
3 คาบ 2
วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 7
ลําดับ/
ชื่อแผน
มาตรฐานการเรียนรู/
ตัวชี้วัด
สาระ
การเรียนรู
ระยะ
เวลา
น้ําหนัก
คะแนน
แผนที่ 5
แรงเสียด
ทาน
ทดลองและอธิบายความ
แตกตางระหวางแรงเสียด
ทานสถิตกับแรงเสียดทาน
จลน และนําความรูไปใช
ประโยชน
แรงเสียดทานสถิตเปนแรง
เสียดทานที่กระทําตอวัตถุ
ขณะหยุดนิ่ง สวนแรง
เสียดทานจลนเปนแรง
เสียดทานที่กระทําตอวัตถุ
ขณะเคลื่อนที่
การเพิ่มแรงเสียดทาน เชน
การออกแบบพื้นรองเทา
เพื่อกันลื่น
การลดแรงเสียดทาน เชน
การใชน้ํามันหลอลื่นที่
จุดหมุน
3
คาบ
2
แผนที่ 6
โมเมนต
ของแรง
ทดลองและวิเคราะห
โมเมนตของแรง และนํา
ความรูไปใชประโยชน
เมื่อมีแรงที่กระทําตอวัตถุ
แลวทําใหเกิดโมเมนตของ
แรงรอบจุดหมุน วัตถุจะ
เปลี่ยนสภาพการหมุน
การวิเคราะหโมเมนตของ
แรงในสถานการณตาง ๆ
3 คาบ 2
ชิ้นงานสิ่งประดิษฐหนวยแรงและการเคลื่อนที่ (งานกลุม) 5
รวม 27 20
สอบกลางภาค 3 20
วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 8
คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว 23101 วิทยาศาสตร 5 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หนวยกิต
ศึกษา วิเคราะห สังเกต อธิบาย เปรียบเทียบ ทดลอง จําแนก สํารวจตรวจสอบ
สืบคน วิเคราะห อภิปราย แปลความหมาย เกี่ยวกับความเรง ผลของแรงลัพธ แรงกิริยา
และแรงปฏิกิริยาระหวางวัตถุและการนําความรูไปใชประโยชน แรงพยุงของของเหลวที่
กระทํากับวัตถุ แรงเสียดทานสถิต กับแรงเสียดทานจลน และนําความรูไปใชประโยชน
โมเมนตของแรงและการนําหลักการของโมเมนตไปใชประโยชน งานและกําลัง
พลังงานศักดิ์โนมถวง พลังงานจลน กฎการอนุรักษพลังงาน และการนําไปใชประโยชน
การตอวงจรไฟฟาอยางงาย ความสัมพันธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟา ความ
ตานทาน และนําความรูไปใชประโยชน วัสดุ อุปกรณสําหรับวงจรไฟฟาในบาน
ความสัมพันธระหวางพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟากับกําลังไฟฟา การใชพลังงาน
ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา และคิดคาไฟฟา หลักการตอวงจรไฟฟาในบาน สมบัติ
เบื้องตนของชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสบางชนิด วงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน
โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจ
ตรวจสอบ การสืบคนขอมูลและการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ
สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของการนําความรู
ไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่
เหมาะสม
รหัสตัวชี้วัด
ว 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
ว 4.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
ว 5.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
ว 8.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9
รวม 20 ตัวชี้วัด
วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 9
หนวยการเรียนรู แรง และการเคลื่อนที่
รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2556
มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.1
เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยาง
ถูกตองและมีคุณธรรม
ตัวชี้วัด
ม.3/1 อธิบายความเรงและผลของแรงลัพธที่ทําตอวัตถุ
ม. 3/2 ทดลองและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาระหวางวัตถุ และนําความรูไป
ใชประโยชน
ม.3/3 ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลวที่กระทําตอวัตถุ
มาตรฐาน ว 4.2
เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
ตัวชี้วัด
ม.3/1 ทดลองและอธิบายความแตกตางระหวางแรงเสียดทานสถิตกับแรงเสียด
ทานจลน และนําความรูไปใชประโยชน
ม.3/2 ทดลองและวิเคราะหโมเมนตของแรง และนําความรูไปใชประโยชน
ม.3/3 สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เปนแนวตรง และแนวโคง
ม.3/4 ทดลองและอธิบายความแตกตางระหวางแรงเสียดทานสถิตกับแรงเสียด
ทานจลน และนําความรูไปใชประโยชน
วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 10
ม.3/5 ทดลองและวิเคราะหโมเมนตของแรง และนําความรูไปใชประโยชน
ม.3/6 สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เปนแนวตรง และแนวโคง
สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
การเคลื่อนที่ในแนวตรงหรือการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ เปนพื้นฐานแนวคิดของการ
เคลื่อนที่แบบอื่นๆ ปริมาณที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ ไดแก ระยะทาง การกระจัด
อัตราเร็วเฉลี่ย ความเร็วเฉลี่ย ความเรงเฉลี่ย
อัตราเร็วและความเร็วเปนปริมาณที่ตางกัน อัตราเร็วเปนปริมาณสเกลารและ
เกี่ยวของกับระยะทางซึ่งเปนปริมาณสเกลาร สวนความเร็วเปนปริมาณเวกเตอรและ
เกี่ยวของกับการกระจัดซึ่งเปนปริมาณเวกเตอร สําหรับความเรงเปนปริมาณเวกเตอร
เพราะความเรง คืออัตราการเปลี่ยนความเร็ว ซึ่งสามารถหาไดจากเครื่องเคาะ
สัญญาณเวลา
น้ําหนักคือแรงที่โลกดึงดูดวัตถุหรือแรงโนมถวงของโลกที่กระทําตอวัตถุ มีคา
ขึ้นกับมวลของวัตถุและความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก ณ จุดนั้น
แรงเสียดทานเปนแรงที่ตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ หรือแรงที่พยายามตานการ
เคลื่อนที่ เกิดระหวางคูผิวสัมผัสของวัตถุ มีทิศตรงขามกับทิศการเคลื่อนที่ หรือ ตรงกัน
ขามกับทิศที่วัตถุพยายามจะเคลื่อนที่ มีคาขึ้นกับแรงที่พื้นดันวัตถุและลักษณะคูผิวสัมผัส
แรงพยุงที่ของเหลวกระทําตอวัตถุมีขนาดเทากับน้ําหนักของของเหลวที่มี
ปริมาตรเทากับปริมาตรของวัตถุสวนที่จมอยูในของเหลว
การออกแรงโดยมีทิศของแรงไมผานจุดหมุนของวัตถุ จะทําใหวัตถุหมุนรอบจุด
หมุน ผลการหมุนที่เกิดขึ้น เรียกวา โมเมนตของแรง ซึ่งมีคาเทากับขนาดของแรงคูณ
ระยะทางจากจุดหมุนไปตั้งฉากกับแนวแรง หนวยเปนนิวตัน.เมตร (N.m) การหมุนที่
เกิดขึ้นอาจอยูในทิศทวนเข็มนาฬิกา หรือตามเข็มนาฬิกา
ถาวัตถุไมหมุนจะอยูในสมดุลตอการหมุน โดยผลรวมของโมเมนตทวนเข็ม
นาฬิกาจะเทากับผลรวมของโมเมนตตามเข็มนาฬิกา
วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 11
สาระการเรียนรู
สาระการเรียนรูแกนกลาง
1. วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วที่เปลี่ยนแปลง เปนการเคลื่อนที่ดวยความเรง เมื่อ
แรงลัพธมีคาไมเทากับศูนยกระทําตอวัตถุวัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรงซึ่งมีทิศทาง
เดียวกับแรงลัพธ
2. ทุกแรงกิริยาจะมีแรงปฏิกิริยาโตตอบดวยขนาดของแรงเทากัน แตมีทิศทางตรง
ขาม
3. การนําความรูเรื่องแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาไปใชอธิบาย เชน การชักเยอ
การจุดบั้งไฟ
4. แรงพยุง คือ แรงที่ของเหลวกระทําตอวัตถุมีคาเทากับน้ําหนักของของเหลวที่มี
ปริมาตรเทากับสวนที่จมของวัตถุ
5. ของเหลวที่มีความหนาแนนมากจะมีแรงพยุงมาก
6. วัตถุที่ลอยไดในของเหลวจะมีความหนาแนนนอยกวาความหนาแนนของ
ของเหลว
7. แรงเสียดทานสถิตเปนแรงเสียดทานที่กระทําตอวัตถุขณะหยุดนิ่ง สวนแรง
เสียดทานจลนเปนแรงเสียดทานที่กระทําตอวัตถุขณะเคลื่อนที่การเพิ่มแรงเสียดทาน เชน
การออกแบบพื้นรองเทาเพื่อกันลื่นการลดแรงเสียดทาน เชน การใชน้ํามันหลอลื่นที่จุด
หมุน
8. เมื่อมีแรงที่กระทําตอวัตถุ แลวทําใหเกิดโมเมนตของแรงรอบจุดหมุน วัตถุจะ
เปลี่ยนสภาพการหมุน
9. การวิเคราะหโมเมนตของแรงในสถานการณตาง ๆ
10. การเคลื่อนที่ของวัตถุมีทั้งการเคลื่อนที่ในแนวตรง เชน การตกแบบเสรี และ
การเคลื่อนที่ในแนวโคง เชน การเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทลของลูกบาสเกตบอล
ในอากาศ การเคลื่อนที่แบบวงกลมของวัตถุที่ผูกเชือกแลวแกวง เปนตน
สาระการเรียนรูทองถิ่น -
วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 12
สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
ใชคอมพิวเตอรนําเสนอ Power Point สมาชิกในกลุม ใชอินเตอรเน็ตสื่อสาร
ผานสังคมเครือขายการเรียนรู www.edmono.coom สื่อสารกันภายในกลุม ม.3 กับเพื่อน
รวมระดับชั้นเดียวกัน และครูผูสอน นําเสนอผลการทํากิจกรรม และสรุปผล หนาชั้น
เรียน รวมอภิปรายซักถามในชั้นเรียน
2. ความสามารถในการคิด
คิดวิเคราะห สังเคราะห สรางสรรค มีวิจารณญาณ และคิดเปนระบบตาม
วิธีการทางวิทยาศาสตร เพื่อนําไปสูการสรางองคความรู
3. ความสามารถในการแกปญหา
แกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญขณะปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง สํารวจ
ตรวจสอบ การปฏิบัติงานกลุม ไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล
คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ
ตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา
และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ตอตนเอง สังคมและ
สิ่งแวดลอม
4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต
นํากระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง
การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันขณะทํากิจกรรม ดวยการสราง
เสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยาง
เหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการ
รูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น
5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
มีทักษะกระบวนการในการคอมพิวเตอรในการสื่อสาร ดวยโปรแกรม Power
Point Word และ www.edmono.coom สังคมเครือขายการเรียนรู สืบคนขอมูลทาง
วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 13
อินเตอรเน็ต นําเสนอทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในดานการเรียนรู
การสื่อสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตองเหมาะสมและมีคุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย ปฏิบัติตนตามสิทธิและหนาที่พลเมืองดีของชาติ
มีความสามัคคี ปรองดอง ปฏิบัติตนตามสิทธิและหนาที่ของนักเรียน และใหความ
รวมมือในการทํากิจกรรม
2. ซื่อสัตยสุจริตกับขอมูลที่วัดไดจากการทํากิจกรรมการทดลอง สํารวจ
ตรวจสอบ ใหขอมูลที่ถูกตองและเปนจริง ไมถือเอาสิ่งของหรือผลงานของผูอื่นมาเปน
ของตน ไมลอกการบาน ปฏิบัติตามคํามั่นสัญญา ปฏิบัติตนตอผูอื่นดวยความซื่อตรง ไม
หาประโยชนในทางที่ไมถูกตอง
3. มีวินัยในตนเอง เคารพกติกาการใชหองเรียน กติกากลุม รับผิดชอบงานที่
ไดรับมอบหมาย ปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบขอบังคับของครอบครัว
โรงเรียนและสังคมตรงตอเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมตางๆในชีวิตประจําวันและ
รับผิดชอบในการทํางาน
4. ใฝเรียนรู ตั้งใจเรียน เอาใจใสและมีความเพียรพยายามในการเรียนรู สนใจเขา
รวมกิจกรรมการเรียนรูตางๆ ศึกษาคนควาหาความรูจากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ สื่อ
เทคโนโลยีตางๆ แหลงเรียนรูทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนและเลือกใชสื่อไดอยาง
เหมาะสม บันทึกความรู วิเคราะหตรวจสอบ จากสิ่งที่เรียนรู สรุปเปนองคความรู
แลกเปลี่ยนความรู ดวยวิธีการตางๆและนําไปใชในชีวิตประจําวัน
5. อยูอยางพอเพียง ใชทรัพยสินของตนเอง เชน เงิน สิ่งของ เครื่องใช ฯลฯ อยาง
ประหยัด คุมคาและเก็บรักษาดูแลอยางดี รวมทั้งการใชเวลาอยางเหมาะสม ใชทรัพยากร
ของสวนรวมอยางประหยัด คุมคาและเก็บรักษาดูแลอยางดี ปฏิบัติตนและตัดสินใจดวย
ความรอบคอบ มีเหตุผลไมเอาเปรียบผูอื่นและไมทําใหผูอื่นเดือดรอน พรอมใหอภัยเมื่อ
ผูอื่นกระทําผิดพลาด วางแผนการเรียน การทํางานและการใชชีวิตประจําวันบนพื้นฐาน
ของความรู ขอมูล ขาวสาร
วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 14
รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม ยอมรับและปรับตัวเพื่ออยูรวมกับ
ผูอื่นไดอยางมีความสุข
6. มุงมั่นในการทํางาน เอาใจใสตอการปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ตั้งใจและ
รับผิดชอบในการทํางานใหสําเร็จ ปรับปรุงและพัฒนาการทํางานดวยตนเอง ทุมเท
ทํางาน อดทน ไมยอทอตอปญหาและอุปสรรคในการทํางาน พยายามแกปญหาและ
อุปสรรคในทํางานใหสําเร็จ
ชื่นชมผลงานดวยความภาคภูมิใจ
7. รักความเปนไทย เห็นคุณคาและใชภาษาไทยในการสื่อสารไดอยางถูกตอง
เหมาะสม
8. มีจิตสาธารณะ ชวยเหลือพอแม ผูปกครอง ครูทํางานดวยความเต็มใจ อาสา
ทํางานใหผูอื่นดวยกําลังกาย กําลังใจและสติปญญาโดยไมหวังผลตอบแทน แบงปน
สิ่งของทรัพยสินและอื่นๆและชวยแกปญหาหรือสรางความสุขใหกับผูอื่น ดูแลรักษา
สาธารณะสมบัติและสิ่งแวดลอมดวยความเต็มใจ เขารวมกิจกรรมที่เปนประโยชนตอ
โรงเรียน ชุมชนและสังคม เขารวมกิจกรรมเพื่อแกปญหาหรือรวมสรางสิ่งที่ดีงามของ
สวนรวม ตามสถานการณที่เกิดขึ้นดวยความกระตือรือรน
ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. ผลของแรงลัพธที่กระทํากับวัตถุ
1.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 1
1.2 แบบฝกหัดทบทวน
1.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู
1.4 ผลการรวมอภิปรายกลุม และการปฏิบัติกิจกรรม
1.5 ทดสอบหลังเรียน
2. แรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา
2.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 2
2.2 แบบฝกหัดทบทวน
วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 15
2.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู
2.4 ผลการรวมอภิปราย และการปฏิบัติกิจกรรมกลุม
2.5 ทดสอบหลังเรียน
3. แรงพยุง
3.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 3
3.2 แบบฝกหัดทบทวน
3.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู
3.4 ผลการรวมอภิปราย และการปฏิบัติกิจกรรมกลุม
3.5 ทดสอบหลังเรียน
4. แรงเสียดทาน
4.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 4
4.2 แบบฝกหัดทบทวน
4.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู
4.4 ผลการรวมอภิปราย และการปฏิบัติกิจกรรมกลุม
4.5 ทดสอบหลังเรียนการวัดผลและประเมินผล
5. โมเมนตของแรง
5.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 4
5.2 แบบฝกหัดทบทวน
5.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู
5.4 ผลการรวมอภิปราย การปฏิบัติกิจกรรม และการนําเสนองานกลุม
5.5 ทดสอบหลังเรียน
การวัดผลและประเมินผลแตละหนวยยอย
1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู การรวมอภิปราย การปฏิบัติกิจกรรม และการ
นําเสนองานกลุม
วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 16
2. ตรวจชิ้นงาน แบบฝกหัดทบทวน รายงานสรุปผลการทํากิจกรรม แผนที่
ความคิดสรุปองคความรู
3. ทดสอบหลังเรียน
กิจกรรมการเรียนรูแตละหนวยยอย
1. รวมอภิปรายตามแนวคําถามทักษะชีวิต R-C-A
2. สํารวจ ตรวจสอบ ปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
กิจกรรมที่ 1 การศึกษาความเร็วในการตกของวัตถุ
กิจกรรมที่ 2 แรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา
กิจกรรมที่ 3 แรงพยุง
กิจกรรมที่ 4 แรงเสียดทาน
กิจกรรมที่ 5 คานและการหมุน
3. นําเสนอผลการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
4. สรุปองคความรูเปนแผนที่ความคิด
5. ตกแตงชิ้นงานกลุม
6. ทําแบบฝกหัดทบทวน
7. ทดสอบหลังเรียน
เวลาเรียน/จํานวนชั่วโมง
27 ชั่วโมง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 Supaluk Juntap
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 

Was ist angesagt? (20)

05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 

Andere mochten auch

Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียนkrupornpana55
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์krupornpana55
 
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรมWp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรมkrupornpana55
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุkrupornpana55
 
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรมWp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรมkrupornpana55
 
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่krupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทานkrupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ krupornpana55
 
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์ บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์ krupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
ตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapkrupornpana55
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งkrupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56krupornpana55
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxkrupornpana55
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1KruPa Jggdd
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 

Andere mochten auch (20)

Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
 
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรมWp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
 
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรมWp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
 
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์ บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
ตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind map
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 

Ähnlich wie โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56

แผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำแผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำkrupornpana55
 
พลังแห่งจักรวาล
พลังแห่งจักรวาลพลังแห่งจักรวาล
พลังแห่งจักรวาลanong
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์prrimhuffy
 
L4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtcc
L4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtccL4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtcc
L4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtccThanakrit Muangjun
 
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1JunyapornTakumnoi
 
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1ParattakornDokrueankham
 
เตรียมสอบ O net 57 วิทย์ชุด1
เตรียมสอบ O net 57  วิทย์ชุด1เตรียมสอบ O net 57  วิทย์ชุด1
เตรียมสอบ O net 57 วิทย์ชุด1jutarattubtim
 
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1cookie47
 
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55krupornpana55
 
ฟิสิกส์เบื้องต้น
ฟิสิกส์เบื้องต้นฟิสิกส์เบื้องต้น
ฟิสิกส์เบื้องต้นSaipanya School
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56krupornpana55
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5Ornrutai
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์Boonlert Aroonpiboon
 

Ähnlich wie โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56 (20)

ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
แผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำแผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำ
 
Sci31101 force-friction
Sci31101 force-friction Sci31101 force-friction
Sci31101 force-friction
 
พลังแห่งจักรวาล
พลังแห่งจักรวาลพลังแห่งจักรวาล
พลังแห่งจักรวาล
 
Science.m.6.1
Science.m.6.1Science.m.6.1
Science.m.6.1
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
L4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtcc
L4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtccL4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtcc
L4c exx0sen8xj1jprhi zk9err63yd5xuoopllacuiqlh6raoj7ics6qlbujxwtcc
 
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
 
เตรียมสอบ O net 57 วิทย์ชุด1
เตรียมสอบ O net 57  วิทย์ชุด1เตรียมสอบ O net 57  วิทย์ชุด1
เตรียมสอบ O net 57 วิทย์ชุด1
 
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net วิทย์ ม.6 ชุด 1
 
____ o-net _____ _.6 ___ 1
  ____ o-net _____ _.6 ___ 1  ____ o-net _____ _.6 ___ 1
____ o-net _____ _.6 ___ 1
 
ข้อสอบ O-net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O-net วิทย์ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O-net วิทย์ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O-net วิทย์ ม.6 ชุด 1
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
 
ฟิสิกส์เบื้องต้น
ฟิสิกส์เบื้องต้นฟิสิกส์เบื้องต้น
ฟิสิกส์เบื้องต้น
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์ ปลาย
วิทยาศาสตร์  ปลายวิทยาศาสตร์  ปลาย
วิทยาศาสตร์ ปลาย
 

Mehr von krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

Mehr von krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

โครงสร้างวิชา หน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ 11 เม.ย.56

  • 1. วิเคราะหหนวย มาต และ และ ตัวชี้ แล ยบูรณาการทัก ตรฐาน ว 4.1 ะแรงนิวเคลีย ะนําความรูไ ชี้วัด ม.3/1 อ ม. 3/2 ท ละนําความรูไป ม.3/3 ทด กษะชีวิต หนวย 1 เขาใจธรร ยร มีกระบ ปใชประโยช อธิบายความ ทดลองและอ ปใชประโยชน ดลองและอธิ ยที่ 1 เรื่อง แรง รมชาติของแ วนการสืบเส ชนอยางถูกต เรงและผลข อธิบายแรงกิ น ธิบายแรงพย ง และการเคลื่ แรงแมเหล็ก สาะหาความ ตองและมีคุณ ของแรงลัพธ กิริยาและแร ยุงของของเ อนที่ กไฟฟา แรงโ มรู สื่อสารสิ่ง ณธรรม ธที่ทําตอวัตถ รงปฏิกิริยาระ หลวที่กระทํ โนมถวง งที่เรียนรู ถุ ะหวางวัตถุ ทําตอวัตถุ หนา 1
  • 2. วิเคราะหหนวย มาต มีกร และ ตัวชี้ เสีย ประ เสีย ประ ยบูรณาการทัก ตรฐาน ว 4.2 ระบวนการสื ะนําความรูไ ชี้วัด ม.3/1 ท ดทานจลน ม.3/2 ท ะโยชน ม.3/3 สั ม.3/4 ท ดทานจลน ม.3/5 ะโยชน ม.3/6 สั กษะชีวิต หนวย 2 เขาใจลักษ สืบเสาะหาค ปใชประโยช ทดลองและอ และนําความ ทดลองและวิ สังเกตและอธิ ทดลองและ และนําความ ทดลอง สังเกตและอธิ ยที่ 1 เรื่อง แรง ษณะการเคลื ความรูและจิ ชน อธิบายความ มรูไปใชปร วิเคราะหโมเ ธิบายการเคล อธิบายความ มรูไปใชปร งและวิเครา ธิบายการเคล ง และการเคลื่ ลื่อนที่แบบต ตวิทยาศาส มแตกตางระห ะโยชน เมนตของแร ลื่อนที่ของวั มแตกตางระ ะโยชน าะหโมเมนต ลื่อนที่ของวั อนที่ ตางๆ ของวัต สตร สื่อสาร หวางแรงเสี รง และนําคว วัตถุที่เปนแน ะหวางแรงเสี ตของแรง แ วัตถุที่เปนแน ตถุในธรรมช รสิ่งที่เรียนรู สยดทานสถิต วามรูไปใช นวตรง และ สียดทานสถิ และนําควา นวตรง และ หนา 2 ชาติ รู ตกับแรง แนวโคง ถิตกับแรง มรูไปใช แนวโคง
  • 3. วิเคราะหหนวย 4. แรงเสี 5. โมเมน เวลาเรีย เวลาเรียน ยบูรณาการทัก สียดทาน นตของแรง น 3 คาบ น 4 คาบ กษะชีวิต หนวย แ ยที่ 1 เรื่อง แรง เวลาเรียน หนวย แรงและการ 1. ผลของ ที่กระทํา ง และการเคลื่ น 14 คาบ ยที่ 1 รเคลื่อนที่ งแรงลัพธ กับวัตถุ อนที่ เวลาเรียน 2. แรงกิริย แรงปฏิกิ 3. แรงพ เวลาเรียน หนา 3 3 คาบ ยาและ กิริยา พยุง น 3 คาบ
  • 4. วิเคราะหหนวย กลุมสาระก ระดับชั้นมัธ สาระที่ 4 แร ลําดับ/ ชื่อแผน แผนที่ 1 เรียนรู บทเรียน แผนที่ 2 ความเรง เนื่องจาก การตก ของวัตถุ ยบูรณาการทัก โครง การเรียนรูวิท ธยมศึกษาป รงและการเค มาตรฐา ตั 1. ทําความเ นักเรียนเรื่อ เรียน ระเบี กติกาในกา วิทยาศาสต โดยใชรูปแ เรียนรูดวยโ สังคมเครือ ดวย Edmod 2. ทดสอบค เนื้อหาเกี่ยว การเคลื่อนท มาตรฐาน ว ม.3/1 อธิบ ผลของแร วัตถุ กษะชีวิต หนวย งสรางรายวิ ทยาศาสตร ร ปที่ 3 เวลาเรี คลื่อนที่ มาต านการเรียนรู ตัวชี้วัด เขาใจกับ อง คะแนน เ บียบปฏิบัติ แ รเรียน รายวิ ร กับการเรี แบบการจัดก โครงการผา ขายการเรียน do ความรูพื้นฐ วกับแรง แล ที่ ว 4.1 บายความเรง รงลัพธที่ทํ ยที่ 1 เรื่อง แรง วิชาหนวยที รหัสวิชา ว 2 รียน 27 คาบ ตรฐาน ว 4. รู/ เวลา และ วิชา ยน การ น นรู าน ะ ทําคว เรียน พื้นฐ งและ าตอ วัตถ ที่เป การ เมื่อ เทาก ง และการเคลื่ ที่ 1 แรง แล 23101 บ .1-4.2 สาระ การเรียน วามเขาใจกา นรู และทดส ฐานกอนเรีย ถุเคลื่อนที่ดว ปลี่ยนแปลง รเคลื่อนที่ดว แรงลัพธมีค กับศูนยกระ อนที่ ละการเคลื่อน ชื่อรา คะ ะ นรู ารจัดการ สอบความรู น วยความเร็ว เปน วยความเรง คาไม ะทําตอวัตถุ นที่ ายวิชาวิทยา ะแนนเก็บ 20 ระยะ เวลา 5 คาบ 2 คาบ หนา 4 ศาสตร 5 0 คะแนน น้ําหนัก คะแนน - 2
  • 5. วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 5 ลําดับ/ ชื่อแผน มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด สาระ การเรียนรู ระยะ เวลา น้ําหนัก คะแนน วัตถุจะเคลื่อนที่ดวย ความเรงซึ่งมี ทิศทางเดียวกับแรงลัพธ แผนที่ 3 ความเรง มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/1 อธิบายความเรงและ ผลของแรงลัพธที่ทําตอ วัตถุ (ตอ) วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็ว ที่เปลี่ยนแปลง เปน การเคลื่อนที่ดวยความเรง เมื่อแรงลัพธมีคาไม เทากับศูนยกระทําตอวัตถุ วัตถุจะเคลื่อนที่ดวย ความเรงซึ่งมี ทิศทางเดียวกับแรงลัพธ 3 คาบ 2 แผนที่ 4 แรงลัพธ มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/1 อธิบายความเรงและ ผลของแรงลัพธที่ทําตอ วัตถุ (ตอ) 3 คาบ 2 แผนที่ 5 การ เคลื่อนที่ ของวัตถุ ใน ประเทศ อาเซียน มาตรฐาน ว 4.2 ม.3/3 สังเกตและอธิบาย การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เปน แนวตรง และแนวโคง การเคลื่อนที่ของวัตถุมีทั้ง การเคลื่อนที่ในแนวตรง เชน การตกแบบเสรี และ การเคลื่อนที่ในแนวโคง เชน การเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทลของลูก บาสเกตบอลในอากาศ การเคลื่อนที่แบบวงกลม ของวัตถุที่ผูกเชือกแลว แกวง เปนตน 1 คาบ 1
  • 6. วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 6 ลําดับ/ ชื่อแผน มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด สาระ การเรียนรู ระยะ เวลา น้ําหนัก คะแนน แผน 6 แรงกิริยา และแรง ปฏิกิริยา มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/2 ทดลองและอธิบาย แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา ระหวางวัตถุ และนําความรูไป ใชประโยชน ทุกแรงกิริยาจะมี แรงปฏิกิริยาโตตอบดวย ขนาดของแรงเทากัน แตมี ทิศทางตรงขาม การนําความรูเรื่องแรง กิริยาและแรงปฏิกิริยาไป ใชอธิบาย เชน การชักเยอ การจุดบั้งไฟ 3 คาบ 2 แผนที่ 4 แรงพยุง มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/3 ทดลองและอธิบาย แรงพยุงของของเหลวที่ กระทําตอวัตถุ แรงพยุง คือ แรงที่ ของเหลวกระทําตอวัตถุมี คาเทากับน้ําหนักของ ของเหลวที่มีปริมาตร เทากับสวนที่จมของวัตถุ ของเหลวที่มีความ หนาแนนมากจะมีแรงพยุง มาก วัตถุที่ลอยไดในของเหลว จะมีความหนาแนนนอย กวาความหนาแนนของ ของเหลว 3 คาบ 2
  • 7. วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 7 ลําดับ/ ชื่อแผน มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด สาระ การเรียนรู ระยะ เวลา น้ําหนัก คะแนน แผนที่ 5 แรงเสียด ทาน ทดลองและอธิบายความ แตกตางระหวางแรงเสียด ทานสถิตกับแรงเสียดทาน จลน และนําความรูไปใช ประโยชน แรงเสียดทานสถิตเปนแรง เสียดทานที่กระทําตอวัตถุ ขณะหยุดนิ่ง สวนแรง เสียดทานจลนเปนแรง เสียดทานที่กระทําตอวัตถุ ขณะเคลื่อนที่ การเพิ่มแรงเสียดทาน เชน การออกแบบพื้นรองเทา เพื่อกันลื่น การลดแรงเสียดทาน เชน การใชน้ํามันหลอลื่นที่ จุดหมุน 3 คาบ 2 แผนที่ 6 โมเมนต ของแรง ทดลองและวิเคราะห โมเมนตของแรง และนํา ความรูไปใชประโยชน เมื่อมีแรงที่กระทําตอวัตถุ แลวทําใหเกิดโมเมนตของ แรงรอบจุดหมุน วัตถุจะ เปลี่ยนสภาพการหมุน การวิเคราะหโมเมนตของ แรงในสถานการณตาง ๆ 3 คาบ 2 ชิ้นงานสิ่งประดิษฐหนวยแรงและการเคลื่อนที่ (งานกลุม) 5 รวม 27 20 สอบกลางภาค 3 20
  • 8. วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 8 คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว 23101 วิทยาศาสตร 5 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หนวยกิต ศึกษา วิเคราะห สังเกต อธิบาย เปรียบเทียบ ทดลอง จําแนก สํารวจตรวจสอบ สืบคน วิเคราะห อภิปราย แปลความหมาย เกี่ยวกับความเรง ผลของแรงลัพธ แรงกิริยา และแรงปฏิกิริยาระหวางวัตถุและการนําความรูไปใชประโยชน แรงพยุงของของเหลวที่ กระทํากับวัตถุ แรงเสียดทานสถิต กับแรงเสียดทานจลน และนําความรูไปใชประโยชน โมเมนตของแรงและการนําหลักการของโมเมนตไปใชประโยชน งานและกําลัง พลังงานศักดิ์โนมถวง พลังงานจลน กฎการอนุรักษพลังงาน และการนําไปใชประโยชน การตอวงจรไฟฟาอยางงาย ความสัมพันธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟา ความ ตานทาน และนําความรูไปใชประโยชน วัสดุ อุปกรณสําหรับวงจรไฟฟาในบาน ความสัมพันธระหวางพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟากับกําลังไฟฟา การใชพลังงาน ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา และคิดคาไฟฟา หลักการตอวงจรไฟฟาในบาน สมบัติ เบื้องตนของชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสบางชนิด วงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจ ตรวจสอบ การสืบคนขอมูลและการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของการนําความรู ไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่ เหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ว 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ว 4.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ว 5.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ว 8.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 รวม 20 ตัวชี้วัด
  • 9. วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 9 หนวยการเรียนรู แรง และการเคลื่อนที่ รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2556 มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยาง ถูกตองและมีคุณธรรม ตัวชี้วัด ม.3/1 อธิบายความเรงและผลของแรงลัพธที่ทําตอวัตถุ ม. 3/2 ทดลองและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาระหวางวัตถุ และนําความรูไป ใชประโยชน ม.3/3 ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลวที่กระทําตอวัตถุ มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ตัวชี้วัด ม.3/1 ทดลองและอธิบายความแตกตางระหวางแรงเสียดทานสถิตกับแรงเสียด ทานจลน และนําความรูไปใชประโยชน ม.3/2 ทดลองและวิเคราะหโมเมนตของแรง และนําความรูไปใชประโยชน ม.3/3 สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เปนแนวตรง และแนวโคง ม.3/4 ทดลองและอธิบายความแตกตางระหวางแรงเสียดทานสถิตกับแรงเสียด ทานจลน และนําความรูไปใชประโยชน
  • 10. วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 10 ม.3/5 ทดลองและวิเคราะหโมเมนตของแรง และนําความรูไปใชประโยชน ม.3/6 สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เปนแนวตรง และแนวโคง สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด การเคลื่อนที่ในแนวตรงหรือการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ เปนพื้นฐานแนวคิดของการ เคลื่อนที่แบบอื่นๆ ปริมาณที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ ไดแก ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็วเฉลี่ย ความเร็วเฉลี่ย ความเรงเฉลี่ย อัตราเร็วและความเร็วเปนปริมาณที่ตางกัน อัตราเร็วเปนปริมาณสเกลารและ เกี่ยวของกับระยะทางซึ่งเปนปริมาณสเกลาร สวนความเร็วเปนปริมาณเวกเตอรและ เกี่ยวของกับการกระจัดซึ่งเปนปริมาณเวกเตอร สําหรับความเรงเปนปริมาณเวกเตอร เพราะความเรง คืออัตราการเปลี่ยนความเร็ว ซึ่งสามารถหาไดจากเครื่องเคาะ สัญญาณเวลา น้ําหนักคือแรงที่โลกดึงดูดวัตถุหรือแรงโนมถวงของโลกที่กระทําตอวัตถุ มีคา ขึ้นกับมวลของวัตถุและความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก ณ จุดนั้น แรงเสียดทานเปนแรงที่ตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ หรือแรงที่พยายามตานการ เคลื่อนที่ เกิดระหวางคูผิวสัมผัสของวัตถุ มีทิศตรงขามกับทิศการเคลื่อนที่ หรือ ตรงกัน ขามกับทิศที่วัตถุพยายามจะเคลื่อนที่ มีคาขึ้นกับแรงที่พื้นดันวัตถุและลักษณะคูผิวสัมผัส แรงพยุงที่ของเหลวกระทําตอวัตถุมีขนาดเทากับน้ําหนักของของเหลวที่มี ปริมาตรเทากับปริมาตรของวัตถุสวนที่จมอยูในของเหลว การออกแรงโดยมีทิศของแรงไมผานจุดหมุนของวัตถุ จะทําใหวัตถุหมุนรอบจุด หมุน ผลการหมุนที่เกิดขึ้น เรียกวา โมเมนตของแรง ซึ่งมีคาเทากับขนาดของแรงคูณ ระยะทางจากจุดหมุนไปตั้งฉากกับแนวแรง หนวยเปนนิวตัน.เมตร (N.m) การหมุนที่ เกิดขึ้นอาจอยูในทิศทวนเข็มนาฬิกา หรือตามเข็มนาฬิกา ถาวัตถุไมหมุนจะอยูในสมดุลตอการหมุน โดยผลรวมของโมเมนตทวนเข็ม นาฬิกาจะเทากับผลรวมของโมเมนตตามเข็มนาฬิกา
  • 11. วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 11 สาระการเรียนรู สาระการเรียนรูแกนกลาง 1. วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วที่เปลี่ยนแปลง เปนการเคลื่อนที่ดวยความเรง เมื่อ แรงลัพธมีคาไมเทากับศูนยกระทําตอวัตถุวัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรงซึ่งมีทิศทาง เดียวกับแรงลัพธ 2. ทุกแรงกิริยาจะมีแรงปฏิกิริยาโตตอบดวยขนาดของแรงเทากัน แตมีทิศทางตรง ขาม 3. การนําความรูเรื่องแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาไปใชอธิบาย เชน การชักเยอ การจุดบั้งไฟ 4. แรงพยุง คือ แรงที่ของเหลวกระทําตอวัตถุมีคาเทากับน้ําหนักของของเหลวที่มี ปริมาตรเทากับสวนที่จมของวัตถุ 5. ของเหลวที่มีความหนาแนนมากจะมีแรงพยุงมาก 6. วัตถุที่ลอยไดในของเหลวจะมีความหนาแนนนอยกวาความหนาแนนของ ของเหลว 7. แรงเสียดทานสถิตเปนแรงเสียดทานที่กระทําตอวัตถุขณะหยุดนิ่ง สวนแรง เสียดทานจลนเปนแรงเสียดทานที่กระทําตอวัตถุขณะเคลื่อนที่การเพิ่มแรงเสียดทาน เชน การออกแบบพื้นรองเทาเพื่อกันลื่นการลดแรงเสียดทาน เชน การใชน้ํามันหลอลื่นที่จุด หมุน 8. เมื่อมีแรงที่กระทําตอวัตถุ แลวทําใหเกิดโมเมนตของแรงรอบจุดหมุน วัตถุจะ เปลี่ยนสภาพการหมุน 9. การวิเคราะหโมเมนตของแรงในสถานการณตาง ๆ 10. การเคลื่อนที่ของวัตถุมีทั้งการเคลื่อนที่ในแนวตรง เชน การตกแบบเสรี และ การเคลื่อนที่ในแนวโคง เชน การเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทลของลูกบาสเกตบอล ในอากาศ การเคลื่อนที่แบบวงกลมของวัตถุที่ผูกเชือกแลวแกวง เปนตน สาระการเรียนรูทองถิ่น -
  • 12. วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 12 สมรรถนะสําคัญของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร ใชคอมพิวเตอรนําเสนอ Power Point สมาชิกในกลุม ใชอินเตอรเน็ตสื่อสาร ผานสังคมเครือขายการเรียนรู www.edmono.coom สื่อสารกันภายในกลุม ม.3 กับเพื่อน รวมระดับชั้นเดียวกัน และครูผูสอน นําเสนอผลการทํากิจกรรม และสรุปผล หนาชั้น เรียน รวมอภิปรายซักถามในชั้นเรียน 2. ความสามารถในการคิด คิดวิเคราะห สังเคราะห สรางสรรค มีวิจารณญาณ และคิดเปนระบบตาม วิธีการทางวิทยาศาสตร เพื่อนําไปสูการสรางองคความรู 3. ความสามารถในการแกปญหา แกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญขณะปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง สํารวจ ตรวจสอบ การปฏิบัติงานกลุม ไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ ตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ตอตนเอง สังคมและ สิ่งแวดลอม 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต นํากระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันขณะทํากิจกรรม ดวยการสราง เสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยาง เหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการ รูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี มีทักษะกระบวนการในการคอมพิวเตอรในการสื่อสาร ดวยโปรแกรม Power Point Word และ www.edmono.coom สังคมเครือขายการเรียนรู สืบคนขอมูลทาง
  • 13. วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 13 อินเตอรเน็ต นําเสนอทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตองเหมาะสมและมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย ปฏิบัติตนตามสิทธิและหนาที่พลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคี ปรองดอง ปฏิบัติตนตามสิทธิและหนาที่ของนักเรียน และใหความ รวมมือในการทํากิจกรรม 2. ซื่อสัตยสุจริตกับขอมูลที่วัดไดจากการทํากิจกรรมการทดลอง สํารวจ ตรวจสอบ ใหขอมูลที่ถูกตองและเปนจริง ไมถือเอาสิ่งของหรือผลงานของผูอื่นมาเปน ของตน ไมลอกการบาน ปฏิบัติตามคํามั่นสัญญา ปฏิบัติตนตอผูอื่นดวยความซื่อตรง ไม หาประโยชนในทางที่ไมถูกตอง 3. มีวินัยในตนเอง เคารพกติกาการใชหองเรียน กติกากลุม รับผิดชอบงานที่ ไดรับมอบหมาย ปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบขอบังคับของครอบครัว โรงเรียนและสังคมตรงตอเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมตางๆในชีวิตประจําวันและ รับผิดชอบในการทํางาน 4. ใฝเรียนรู ตั้งใจเรียน เอาใจใสและมีความเพียรพยายามในการเรียนรู สนใจเขา รวมกิจกรรมการเรียนรูตางๆ ศึกษาคนควาหาความรูจากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ สื่อ เทคโนโลยีตางๆ แหลงเรียนรูทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนและเลือกใชสื่อไดอยาง เหมาะสม บันทึกความรู วิเคราะหตรวจสอบ จากสิ่งที่เรียนรู สรุปเปนองคความรู แลกเปลี่ยนความรู ดวยวิธีการตางๆและนําไปใชในชีวิตประจําวัน 5. อยูอยางพอเพียง ใชทรัพยสินของตนเอง เชน เงิน สิ่งของ เครื่องใช ฯลฯ อยาง ประหยัด คุมคาและเก็บรักษาดูแลอยางดี รวมทั้งการใชเวลาอยางเหมาะสม ใชทรัพยากร ของสวนรวมอยางประหยัด คุมคาและเก็บรักษาดูแลอยางดี ปฏิบัติตนและตัดสินใจดวย ความรอบคอบ มีเหตุผลไมเอาเปรียบผูอื่นและไมทําใหผูอื่นเดือดรอน พรอมใหอภัยเมื่อ ผูอื่นกระทําผิดพลาด วางแผนการเรียน การทํางานและการใชชีวิตประจําวันบนพื้นฐาน ของความรู ขอมูล ขาวสาร
  • 14. วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 14 รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม ยอมรับและปรับตัวเพื่ออยูรวมกับ ผูอื่นไดอยางมีความสุข 6. มุงมั่นในการทํางาน เอาใจใสตอการปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ตั้งใจและ รับผิดชอบในการทํางานใหสําเร็จ ปรับปรุงและพัฒนาการทํางานดวยตนเอง ทุมเท ทํางาน อดทน ไมยอทอตอปญหาและอุปสรรคในการทํางาน พยายามแกปญหาและ อุปสรรคในทํางานใหสําเร็จ ชื่นชมผลงานดวยความภาคภูมิใจ 7. รักความเปนไทย เห็นคุณคาและใชภาษาไทยในการสื่อสารไดอยางถูกตอง เหมาะสม 8. มีจิตสาธารณะ ชวยเหลือพอแม ผูปกครอง ครูทํางานดวยความเต็มใจ อาสา ทํางานใหผูอื่นดวยกําลังกาย กําลังใจและสติปญญาโดยไมหวังผลตอบแทน แบงปน สิ่งของทรัพยสินและอื่นๆและชวยแกปญหาหรือสรางความสุขใหกับผูอื่น ดูแลรักษา สาธารณะสมบัติและสิ่งแวดลอมดวยความเต็มใจ เขารวมกิจกรรมที่เปนประโยชนตอ โรงเรียน ชุมชนและสังคม เขารวมกิจกรรมเพื่อแกปญหาหรือรวมสรางสิ่งที่ดีงามของ สวนรวม ตามสถานการณที่เกิดขึ้นดวยความกระตือรือรน ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. ผลของแรงลัพธที่กระทํากับวัตถุ 1.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 1 1.2 แบบฝกหัดทบทวน 1.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู 1.4 ผลการรวมอภิปรายกลุม และการปฏิบัติกิจกรรม 1.5 ทดสอบหลังเรียน 2. แรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา 2.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 2 2.2 แบบฝกหัดทบทวน
  • 15. วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 15 2.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู 2.4 ผลการรวมอภิปราย และการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 2.5 ทดสอบหลังเรียน 3. แรงพยุง 3.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 3 3.2 แบบฝกหัดทบทวน 3.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู 3.4 ผลการรวมอภิปราย และการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 3.5 ทดสอบหลังเรียน 4. แรงเสียดทาน 4.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 4 4.2 แบบฝกหัดทบทวน 4.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู 4.4 ผลการรวมอภิปราย และการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 4.5 ทดสอบหลังเรียนการวัดผลและประเมินผล 5. โมเมนตของแรง 5.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 4 5.2 แบบฝกหัดทบทวน 5.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู 5.4 ผลการรวมอภิปราย การปฏิบัติกิจกรรม และการนําเสนองานกลุม 5.5 ทดสอบหลังเรียน การวัดผลและประเมินผลแตละหนวยยอย 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู การรวมอภิปราย การปฏิบัติกิจกรรม และการ นําเสนองานกลุม
  • 16. วิเคราะหหนวยบูรณาการทักษะชีวิต หนวยที่ 1 เรื่อง แรง และการเคลื่อนที่ หนา 16 2. ตรวจชิ้นงาน แบบฝกหัดทบทวน รายงานสรุปผลการทํากิจกรรม แผนที่ ความคิดสรุปองคความรู 3. ทดสอบหลังเรียน กิจกรรมการเรียนรูแตละหนวยยอย 1. รวมอภิปรายตามแนวคําถามทักษะชีวิต R-C-A 2. สํารวจ ตรวจสอบ ปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง กิจกรรมที่ 1 การศึกษาความเร็วในการตกของวัตถุ กิจกรรมที่ 2 แรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา กิจกรรมที่ 3 แรงพยุง กิจกรรมที่ 4 แรงเสียดทาน กิจกรรมที่ 5 คานและการหมุน 3. นําเสนอผลการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน 4. สรุปองคความรูเปนแผนที่ความคิด 5. ตกแตงชิ้นงานกลุม 6. ทําแบบฝกหัดทบทวน 7. ทดสอบหลังเรียน เวลาเรียน/จํานวนชั่วโมง 27 ชั่วโมง