SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 57
Downloaden Sie, um offline zu lesen
คําแนะนําในการเรียน


        บทเรียนนี้เปนบทเรียนโปรแกรม จัดทําขึนเพื่อใหนกเรียนศึกษาดวยตนเอง
                                                 ้     ั
โปรดอานคําแนะนํากอนศึกษาบทเรียน ดังตอไปนี้
        ๑. บทเรียนนี้เปนบทเรียนสําเร็จรูปมีทั้งหมด ๓๐ กรอบ
ใชเวลาในการเรียน ๒ ชัวโมง
                       ่
        ๒. ศึกษาจุดประสงคการเรียนรู แลวนักเรียน
จะทราบวา เมือเรียนจบแลวนักเรียนจะไดความรูอะไร
               ่
        ๓. ทําแบบทดสอบกอนเรียนตามความเขาใจ
ของนักเรียน ตอบผิดไมเปนอะไร เพราะถาศึกษาเอกสารตอไป
จะตอบไดถูกตองในภายหลัง
        ๔. บทเรียนนี้ไมใชขอทดสอบ ไมตองกังวลใจ
ทําไปชา ๆ ทีละกรอบ นักเรียนจะไดรับความรู
ไดทําแบบฝกหัดและไดทํากิจกรรมตาง ๆ ดวยตัวเอง
        ๕. ขณะศึกษาบทเรียนและปฏิบัติกิจกรรม
ไมดูเฉลย เมื่อตอบผิดใหกลับไปศึกษาเนื้อหา
ในกรอบเดิมแลวลองตอบคําถามใหม
        ๖. เมื่อศึกษาครบทุกกรอบแลว
ใหทาแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความเขาใจอีกครั้งหนึ่ง
     ํ
        ๗. เมื่อเขาใจดีแลวศึกษาบทเรียนไดเลย
๒




             สาระสําคัญ




      การทีเ่ ราจะใชประโยชน
จากหนังสือไดเต็มที่ เราจะตองทราบถึง
     สวนประกอบของหนังสือ
       ซึงจะมีสวนชวยใหเกิด
         ่
     ความชืนชม และตระหนัก
              ่
    ในคุณคาของหนังสือมากขึน   ้
๓




                             แบบทดสอบกอนเรียน
                        เรื่อง สวนประกอบของหนังสือ


คําชี้แจง ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก ข ค หรือ ง ที่ถกตองที่สุด
                                                                   ู
          เพียงขอเดียว

       ๑. กระดาษหุมปกนอกของหนังสือคือสวนใดของหนังสือ
                    
          ก. ปกนอก
          ข. ใบยึดปก
          ค. ใบหุมปก
          ง. ใบรองปก
       ๒. ใบหุมปกมีประโยชนอยางไร
          ก. ทําใหหนังสือแข็งแรงขึ้น
          ข. ชวยยึดตัวเลมของหนังสือ
          ค. ชวยดึงดูดความสนใจของผูอาน
          ง. ชวยยึดปกหนาและปกหลังใหติดกัน
       ๓. ทําไมปกนอกจึงมีประโยชน
          ก. เพราะทําใหหนังสือแข็งแรงขึ้น
          ข. เพราะชวยยึดตัวเลมของหนังสือ
          ค. เพราะชวยดึงดูดความสนใจของผูอาน
                                            
          ง. เพราะชวยยึดปกหนาและปกหลังใหติดกัน
๔




๔. ขอใดคือหนาที่ของใบยึดปก
   ก. ทําใหหนังสือแข็งแรงขึ้น
   ข. ชวยยึดตัวเลมของหนังสือ
   ค. ชวยดึงดูดความสนใจของผูอาน
   ง. ชวยยึดปกหนาและปกหลังใหติดกัน
๕. สวนใดของหนังสือเปนการอธิบายสาเหตุในการเขียนของผูแตง
   ก. หนาคํานํา
   ข. หนาคําอุทิศ
   ค. หนาปลิขสิทธิ์
   ง. หนาประกาศคุณูปการ
๖. ขอใดเปนโครงสรางของหนังสือ
   ก. บทนํา
   ข. คํานํา
   ค. คําอุทิศ
   ง. สารบัญ
๗. สวนใดของหนังสือที่ดึงดูดความสนใจของผูอาน
   ก. ปกใน
   ข. เนื้อเรื่อง
   ค. ใบหุมปก
   ง. บรรณานุกรม
๕




   ๘. หนาใดของหนังสือที่นามาเขียนบรรณานุกรมในการทํารายงาน
                          ํ
8. หนาใดของหนังสือทีนามาเขียนบรรณานุกรมในการทํารายงาน
                           ่ ํ
       ก. ปกใน
       ง. หนาปกใน
       ข. ชื่อเรื่อง
       ค. ปลิขสิทธิเรื่อง
       จ. หนาชื่อ ์
       ง. ภาพพิเลิขสิทธิ์
       ฉ. หนาป ศษ
       ช. หนาภาพพิเศษ
   ๙. หนาประกาศคุณูปการบางสถาบันเรียกวาหนาอะไร
9. หนาก. คํานํา ณูปการบางสถาบันเรียกวาหนาอะไร
       ประกาศคุ
       ข. คําอุาทิศานํา
       ซ. หน คํ
       ค. ปลิขสิทธิ์ ทิศ
       ฌ. หนาคําอุ
       ง. กิตติกรรมประกาศ
       ญ. หนาปลิขสิทธิ์
   ๑๐.บรรณานุกรมคืออะไร
   ง. กิตติกรรมประกาศ
        ก. บัญชีคา  ํ
10.บรรณานุกรมคืออะไร
        ข. รายชื่อเอกสาร
   ก. บัญสวนที่อธิบายคําศัพท
        ค. ชีคํา
   ข. รายชื่อเอกสาร อความ
        ง. แหลงที่มาของข
   ค. สวนที่อธิบายคําศัพท
   ง. แหลงที่มาของขอความ
๖




 เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน
เรื่องสวนประกอบของหนังสือ



     ขอ       คําตอบ
      ๑           ค
     ๒            ค
     ๓            ข
     ๔            ก
     ๕            ก
     ๖            ก
     ๗            ค
     ๘            ก
     ๙            ง
     ๑๐           ข
๗




          ผลการเรียนรูทคาดหวัง
                        ี่




นักเรียนมีความรูความเขาใจสวนประกอบของหนังสือ




            จุดประสงคการเรียนรู




    ๑. นักเรียนบอกสวนประกอบของหนังสือได

    ๒. นักเรียนบอกประโยชนของแตละสวนได
๘




           สวนประกอบของหนังสือ

 กรอบที่ ๑
          สวัสดีครับกอย
 ทําความเขาใจกับเรื่องสวนประกอบ
ของหนังสือหรือยังครับ จะสอบแลวนะ



                                      ยังเลยคะ เจอโชคพอดีเลยคะ
                                    เพราะคิดวาจะใหโชคอธิบายใหฟง
                                                                 
                                          โชคพอจะวางไหมคะ



      วางครับ ดีเหมือนกัน
   เพราะเปนการทบทวนไปดวย
  เราไปโรงเรียนพรอมกันเลยนะ




                                             ตกลงคะ เราไปกันเลย
                                         เดินไปคุยไปเรื่อย ๆ ก็แลวกัน
๙




กรอบที่ ๒

   เราเริ่มเลยนะสวนประกอบของหนังสือ
    แบงออกเปนสวนใหญ ๆ ได ๓ สวน




                                                  มีอะไรบางคะ กอยคิดวา
                                               ตองมี “ปก” แนๆ เลยใชไหมคะ



     ใชครับ ปกเปนสวนหนึ่งเทานั้น
กอยเกงจริง ๆ เลยมีดงนีนะ จะมีสวนตนเลม
                        ั ้        
สวนเนื้อเรื่องหรือเนื้อหาแลวก็สวนทายเลม
 ครับ ลองตอบคําถามดูนะไมยากหรอก
เปนการทบทวนเทานันเอง สวนประกอบ
                          ้
      ของหนังสือมี ๓ สวนอะไรบาง



                                                 โอโฮ ! ใสเปนชุดเลย คําถาม
                                                  ไมยากจริง ๆ ดวย โชคลอง
                                                       ฟงคําตอบเรานะ
๑๐




                         เฉลยกรอบที่ ๒




                               สวนประกอบของหนังสือมี ๓ สวน คือ
                                   ๑. สวนตนเลม
                                   ๒. สวนเนื้อเรื่องหรือเนื้อหา
                                   ๓. สวนทายเลมคะ
                               ตอบถูกใชไหมคะโชค




    ถูกตองครับ เมื่อตอบถูกแลว
ไปกรอบที่ ๓ เพื่อทําความเขาใจทีละสวน
    กันดีกวานะครับ เราไปกันเลย




                                           ไดเลยคะคุณครูโชค
๑๑




กรอบที่ ๓




                                แหม ! เรียกซะเขินเลย เริ่มเรื่องนะ
                            สวนตนเลม ประกอบดวย ๑๑ สวน ไดแก
                         ๑. ใบหุมปก ๗. หนาลิขสิทธิ์ (ลิก-ขะ-สิด)
                         ๒. ปกนอก          ๘. หนาคําอุทิศ
                         ๓. สันหนังสือ ๙. คํานํา
                         ๔. ใบยึดปก ๑๐. หนาประกาศคุณูปการ
                         ๕. หนาชื่อเรือง
                                       ่      (คุ-นู-ปะ-กาน)
                         ๖. หนาปกใน ๑๑. สารบัญ




     โอโฮหลายสวนจังเลย
  แลวใบหุมปกคืออะไรคะโชค
๑๒




กรอบที่ ๔


 ใบหุมปก คือ กระดาษปกนอกของหนังสือ
   มีสีสันสวยงาม สวนใหญมรายละเอียด
                              ี
   เพียงชื่อหนังสือและชื่อผูแตง บางเลม
  พิมพประวัติยอของผูแตงและเนื้อเรื่องยอ
                
ในสวนที่พับหุมปกแข็งเขามา ลองดูตวอยางนะ
                                  ั




ใบหุมปก


                                          มีตัวอยางดวย อยางนี้ไมยากคะ
                                          เพราะโชคอธิบายพรอมตัวอยาง




   คนเกง เมื่อไมยาก ก็ชวยตอบโชคนะ
                         
            ใบหุมปกคืออะไร
๑๓




                        เฉลยกรอบที่ ๔




                                  โชคฟงเลยนะคะ ใบหุมปก คือ กระดาษ
                                   หุมปกนอกของหนังสือ มีสีสนสวยงาม
                                                               ั
                                       มีรูปภาพหรือไมก็ได สวนใหญ
                                        จะมีชื่อหนังสือและชื่อผูแตง




       เกงมากกอย แสดงวาเขาใจ
และกอยรูไหมวาใบหุมปกมีประโยชนอยางไร
                    




                                   เราคิดวาเพื่อความสวยงาม
                                ไมแนใจนะ โชคบอกเราเลยดีกวา
๑๔




กรอบที่ ๕


  มีมากกวาทีกอยบอกครับ ประโยชนของ
               ่
ใบหุมปกก็คือ ชวยดึงดูดความสนใจของผูอาน
                                       
 และชวยรักษาปกนอกใหใหมอยูเสมอ หรือ
      หองสมุดอาจเก็บไวจัดนิทรรศการ
          (นิ-ทัด-สะ-กาน) ก็ไดครับ




                                        ใบหุมปกใชจดนิทรรศการไดดวย
                                                      ั
                                               ดีจริง ๆ เลยคะโชค




 เมื่อกอยรูแลวลองบอกถึงประโยชนของ
ใบหุมปกใหเราฟงอีกครั้งเพือเปนการย้ําวา
                             ่
              กอยรูจริงนะครับ
๑๕




                              เฉลยกรอบที่ ๕



                                       ไดเลยคะโชค ฟงดี ๆ นะ ประโยชนของ
                                      ใบหุมปก คือ ชวยดึงดูดความสนใจ และ
                                       ชวยรักษาปกนอกใหใหมอยูเสมอ และ
                                      หองสมุดอาจนําไปใชจัดนิทรรศการก็ได




เยี่ยมจริง ๆ เลยเพื่อนเรา เรื่องตอไปเลย
ดีกวา แตกอยวาเปนเรื่องอะไรนะ ที่อยูตอ
                                          
จากใบหุมปก




                                                ออ ก็ปกนะสิ
                                         โชคเราอยากรูแลวละ รีบไปนะ
๑๖




    กรอบที่ ๖
ง


                                     เกงมากกอย ปก มีทั้งปกหนาและปกหลัง
                              โดยมีสันหนังสือเปนสวนชวยยึดใหปกหนาและปกหลัง
                           เขาดวยกัน จะเปนปกแข็งหรือปกออนก็ได และยังชวยรักษา
                                 รูปทรงของหนังสือใหคงทน ขอมูลที่ปรากฏไดแก


                                  สํานักพิมพ
                                                                               ชื่อหนังสือ




                                                                                    ชื่อผูแตง



     เขาใจแลวคะ และรูดวยวาจะใหเรา
    บอกถึงประโยชนของปกใชไหมละคะ




                                                  รูไดอยางไรนี่ เมื่อรูแลวก็
                                                  บอกประโยชนของปกเลย
๑๗




                         เฉลยกรอบที่ ๖




   สบายมาก เพราะเรารอตั้งรับอยู
  ปกมีประโยชนคือ เปนสวนที่รักษา
รูปทรงของหนังสือใหคงทน หยิบงาย
            ใชสะดวก




                           อยางนี้สิ ถึงไดเรียกวา เกงจริง ๆ เกงจริง ๆ
                          เหนื่อยไหมครับ จะไปเรื่องใบยึดปกไหวไหม
                                      เราจะนําหนาไปกอนนะ




               ไหวอยูแลว รอดวยคะ
             ไปพรอม ๆ กัน ไมเหงาดีคะ
๑๘




กรอบที่ ๗


        ไดเลยตามมานะ ใบยึดปก ครับ
     เปนกระดาษทีมีความเหนียวทนทาน
                   ่
 เปนพิเศษ ปะติดกับปกนอกดานใน และปกหลัง



                                                    เมื่อเปนอยางนี้
                                               ใบยึดปกทําหนาที่อะไรคะ
                                                และมีอะไรพิเศษไหมคะ




 มีอยูแลว คือ ยึดปกกับตัวหนังสือไวดวยกัน
                                       
ทําใหหนังสือมีความแข็งแรงขึ้น และความพิเศษ
มีกับหนังสือบางเลมครับ คืออาจจะมีสูตรเคมี
     หรือแผนที,่ แผนภูมิ, สถิติตาง ๆ ครับ




                                      พิเศษจริง ๆ ดวยสิ เขาใจแลวละโชค
                                             เรื่องตอไปไดเลยคะ
๑๙




  กรอบที่ ๘


                                  เรื่อง ใบรองปก ครับ มีทั้งรองปกหนาและ
                                ปกหลัง อยูตอจากใบยึดปกครับ เปนกระดาษสีพน
                                                                          ื้
                                          มีคุณภาพดี ทนทานเปนพิเศษ
                                         หนังสือปกออนไมมีใบรองปกครับ




โชคเราเคยเห็นในหองสมุด เปนกระดาษสีขาว
  สงสัยวาทําไมกระดาษหนามาก เราเลย
     ถามบรรณารักษไดรับคําตอบวา
       เปนกระดาษ๑๐๐ ปอนดคะ




                                       กอยนี่ชางสังเกตจริง ๆ นี่แหละที่เรียกวา
                                               
                                     มีแววฉลาดละ ไปหนาชื่อเรื่องเลยดีกวาคนเกง
๒๐




กรอบที่ ๙


หนาชื่อเรื่อง คือ หนาทีมีขอความเฉพาะชื่อเรื่อง
                         ่
  ของหนังสือเทานัน แตถาหากเปนหนังสือชุด
                   ้       
        ก็จะบอกชื่อชุดหนังสือ ไวในหนานี้




                                              โชคหนาชื่อเรืองมีหนาทีพิเศษ
                                                            ่         ่
                                                     อะไรไหมคะ




    จะบอกอยูพอดีเลยครับ มีครับ
               
หนาบอกชื่อเรืองจะทําหนาที่แทนปก
                   ่
ชั่วคราวเมื่อปกหลุด หนังสือบางเลม
ไมมีหนาชื่อเรืองครับ สวนตอไปเปน
                 ่
   หนาปกในครับ นาสนใจไมแพกัน
๒๑




    กรอบที่ ๑๐

                                               หนาปกใน เปนหนาที่สําคัญที่สุด
                                              ของหนังสือ เพราะจะใหรายละเอียด
                                          ตาง ๆ เกี่ยวกับหนังสือไวอยางสมบูรณ ดังนี้




                  โครงการเผยแพรผลงานวิชาการ                   ชุด พื้นฐานมนุษยศาสตร
                  คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย         ลําดับที่ 2
                  ลําดับที่ 50

ชื่อสํานักพิมพ                                                                         ชื่อหนังสือ


                                             พิมพครั้งที่ 8                             ครั้งที่พิมพ


                                      ภาควิชาบรรณารักษศาสตร
                                                                                         ชื่อผูแตง
                                คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
                                          กรุงเทพมหานคร
                                                                                         ปที่พิมพ
                                                2550




            หนาปกในนี้ใหรายละเอียดเกี่ยวกับ
                  หนังสือดีจริง ๆ เลย
๒๒




    กรอบที่ ๑๑

            มาถึงหนาลิขสิทธิ์นะครับ




                                                     หนาลิขสิทธิ์ใหขอมูลอะไรนะ




                  หนาลิขสิทธิ์ (ลิก-ขะ–สิด) ใหขอมูล
                 เกี่ยวกับลิขสิทธิ์ของหนังสือเลมนั้น ๆ
                   ดูตัวอยางนะครับ จะไดเขาใจขึ้น



            การคนควาและการเขียนรายงาน/ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร
            จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.- - พิมพครั้งที่ 8. - - กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผลงานวิชาการ
            คณะอักษรศาสตร, 2550.
            200 หนา : ภาพประกอบ.
            ISBN 974-13-2715-3                                                เลขมาตรฐานหนังสือสากล
รายการ      1. การเขียนรายงาน. 2. การคนขอสนเทศ. 3. บรรณานุกรม.
เกี่ยวกับ
  บัตร      Z665                                     028.7
รายการ
            พิมพครั้งที่ 1     พ.ศ.2538 จํานวน 1,000 เลม
                                                                        จํานวนที่พิมพ
            พิมพครั้งที่ 8     พ.ศ.2550 จํานวน 2,000 เลม
 ครั้ง      ลิขสิทธิ์ของโครงการเผยแพรผลงานวิชาการ
  ที่                                                                          ขอมูลเกี่ยวกับลิขสิทธิ์
            คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
 พิมพ
            ผูอํานวยการ : อาจารย ดร.ธีรนุช โชคสุวณิช (0-2218-4888)
๒๓




       กรอบที่ ๑๒


                                             กอยเคยไดยินคําวา “เลขมาตรฐาน
                                             หนังสือสากล หรือ ISBN” ไหมครับ



                   ไมเคยคะ และยังสงสัยอยูเหมือนกัน




                                             เราจะอธิบายใหฟงนะครับ
                                                              
                                           เมื่อเขาใจแลวตอบคําถามดวย
                                           นะครับวา เลขมาตรฐานหนังสือ
                                          สากลของประเทศไทย คือ ...........


                              เลขมาตรฐานหนังสือสากล
                     (International Standard Book Number = ISBN)
        คือ เลขสากลที่กําหนดขึ้น ใชสําหรับสิงพิมพประเภทหนังสือ มีจุดมุงหมายเพื่อให
                                             ่                          
เปนเอกลักษณของหนังสือแตละเลมและเพื่อความสะดวก รวดเร็วและถูกตองในดานการสั่งซื้อ
        เลขมาตรฐานหนังสือสากลประกอบดวยเลข ๑๐ ตัว แบงเปน ๔ กลุม เชน ISBN
                                                                          
974-246-478-2
        974 หมายถึง รหัสของชื่อประเทศ (974 = ประเทศไทย)
        246 หมายถึง รหัสของสํานักพิมพ
        478 หมายถึง รหัสชื่อหนังสือ
           2 หมายถึง รหัสตรวจสอบความถูกตอง
๒๔




                      เฉลยกรอบที่ ๑๒




 เลขมาตรฐานหนังสือสากล
ของประเทศไทย คือ ๙๗๔ คะ




                               ขนาดไมเคยไดยินนะ ยังตอบไดแสดงวา
                                   เราอธิบายแลวเธอเขาใจไดดี




   ก็โชครูจักวิธีอธิบายใหเราฟงนี่คะ เชน
   อธิบายเนื้อหาเรียบรอยแลว มีตัวอยาง
  ใหดูอีก พอดูตัวอยางทําใหเขาใจดีขึ้นคะ



                              เราไปเรื่องหนาคําอุทศกันดีกวา
                                                   ิ
                            เธอเกงแบบนี้เราไปไดเร็วแน ๆ เลย
๒๕




กรอบที่ ๑๓


                                             คําอุทิศเหรอ งง อีกแลวละสิ
                                                     ชื่อไมคุนหูเลย




          เราจะพูดใหฟง หนาคําอุทศ
                                   ิ
      เปนขอเขียนทีผูแตงอุทิศความดีหรือ
                    ่
     มอบคุณคาของหนังสือเลมนัน ๆ ใหแก
                                  ้
       บุคคลใดบุคคลหนึง ดูตัวอยางครับ
                           ่


                   แด
         พอ – แม ครู อาจารย                    ความดีของหนังสือเลมนี้
    โดยเฉพาะบูชาคุณ “ครู” ผูลวงลับ
                                                      ขอนอมมอบแด
         ผูชวยศาสตราจารย
                                                 พอ แม และบูรพาจารย
      ดร.มล.จอย นันทิวชรินทร
                          ั



   ออ ! ขอความแบบนี้เรียกวา ..
           คําอุทิศเหรอโชค
         ตอไปหนาอะไรคะ
๒๖




กรอบที่ ๑๔
       กอยรูไหมวาตองเขียน ”คํานํา”
                   อยางไร


                                           เราไมทราบหรอกคะ แตเรานึก
                                          จะเขียนอะไรเราก็เขียน ถาตองมี
                                         หลักเกณฑก็ชวยบอกเราดวยนะคะ
                                                     

   หนาคํานํา เปนขอความแจงใหทราบถึง
 ขอบเขตเนื้อหาของหนังสือ เหตุผลในการเขียน
   ลักษณะพิเศษและวิธีใชหนังสือ รวมถึง
      กลาวขอบคุณผูใหความชวยเหลือ
  ในการจัดทําหนังสือเลมนัน ตัวอยางครับ
                          ้
                                                คํานํา
                                หนังสือ “การคนควาและการเขียนรายงาน” นี้ เปนตํารา
                    ซึ่งเรียบเรียงโดยคณาจารยภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะ
                    อักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อใชประกอบการเรียน
                    รายวิชา 2206 102 การคนควาและการเขียนรายงานของนิสิต
                    ฐานะชั้นปที่ 1 คณะอักษรศาสตร …
                                การจัดพิมพครั้งนี้เปนการพิมพครั้งที่ 8 ภาควิชา
                    บรรณารักษศาสตรหวังวาหนังสือเลมนี้คงจะอํานวยประโยชนตอ
                    การทํารายงานประกอบการเรียนของนิสิตไดในเบื้องตน

                                           คณาจารยภาควิชาบรรณารักษศาสตร

                                              โชคเมื่อมีความสําคัญอยางนี้
                                                เราก็ไมควรเปดผานเลยไป
                                           แตเราตองอานอยางละเอียดเลยนะ
๒๗




กรอบที่ ๑๕


                                  หนาประกาศคุณูปการบาง
                                      เคยไดยินไหมครับ




     ไมเคยไดยินคะ แตฟงดูแลวเหมือน
   เปนการแสดงความเคารพอยางสูงเลย
     เธอชวยอธิบายใหเราฟงดวยนะคะ



                                หนาประกาศคุณปการ บางสถาบัน
                                                   ู
                                 เรียกวา หนากิตติกรรมประกาศ เปน
                               หนาที่เขียนขอบคุณผูที่ใหความชวยเหลือ
                                 ในการจัดทําจากบุคคลในหลายดาน
                                     สวนมากจะใชกับวิทยานิพนธ




            ใชกับวิทยานิพนธเหรอ
   ฉะนั้นเราก็ตองเรียนตอปริญญาใหไดเลย
๒๘




     กรอบที่ ๑๖

                                                 กรอบนี้หนาอะไรคะ




                 หนา สารบัญ ครับ
          เปนหนาที่บอกใหทราบถึงเคาโครง
         ของหนังสือ และเลขหนา ดังตัวอยาง

                            สารบัญ
                                             หนา
               คํานํา
               (1)
               บทนํา                           1
               บทที่ 1 การคนควาวิจัย         3
                        ความหมาย               3
 เคาโครง               ประเภท                 3         บอกเลขหนา
ของหนังสือ              การวางแผน             16
               บทที่ 2 แหลงและทรัพยากร
                        สารนิเทศ               17
               บรรณานุกรม                    184
               ภาคผนวก ก                     185
               ภาคผนวก ข                     194

                                      เมื่อกอยรูแลวแตเปนการยืนยันวารูจริง
                                               ตอบคําถามเรานะวา
                                     หนาสารบัญเรียกอีกอยางวา….................
๒๙




                    เฉลยกรอบที่ ๑๖


                            ร
                            สบายมากโชค หนาสารบัญ
                    เรียกอีกอยางหนึงวา “เคาโครงหนังสือ” คะ
                                    ่




     แสดงวากอยรูจริง
อยากไดอะไรเปนรางวัลไหมครับ




                       เธออธิบายใหเราฟง ก็ถือวาเปนรางวัลแลวละ
                           แตเราอยากใหเธอสรุปใหเราฟงกอน
                                      กันลืมนะคะ
๓๐




     กรอบที่ ๑๗

                                                     ไดเลย เราจะสรุปเปน
                                                แบบฝกหัดชนิดจับคูใหเธอลองทําดู



คําชี้แจง ใหนําตัวเลือกดานลางมาเติมหนาหมายเลขขอดานซายมือใหสัมพันธกัน

………. ๑.     เปนขอเขียนทีผเขียนมอบคุณคาของหนังสือเลมนันใหแก พอแม ครู
                             ่ ู                            ้
………. ๒.     ทําหนาที่ยึดใหปกหนังสือติดกับตัวเลม
………. ๓.     เปนสิ่งดึงดูดสายตาผูพบเห็นใหสนใจหนังสือ
                                   
………. ๔.     แจงใหทราบถึงขอบเขตเนื้อหาของหนังสือ
………. ๕.     มีแตชื่อเรื่องของหนังสือเทานัน
                                           ้
………. ๖.     ใหขอมูลเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ของหนังสือเลมนัน
                                                       ้
………. ๗.     เปนสวนที่รกษารูปทรงของหนังสือใหคงทน
                           ั
………. ๘.     เปนหนาที่ใหรายละเอียดตาง ๆ เกี่ยวกับหนังสืออยางสมบูรณ
………. ๙.     ชวยใหผูอานทราบเนื้อเรื่องของหนังสือโดยสังเขป
                         
…….. ๑๐.    เปนกระดาษสีพื้นมีคุณภาพดีทนทานเปนพิเศษหนังสือปกออนจะไมมี

ก. ใบหุมปก
               ง. ใบรองปก               ช. หนาลิขสิทธิ์       ญ. หนาสารบัญ
ข. ปก           จ. หนาชื่อเรื่อง        ซ. หนาคําอุทศ
                                                      ิ
ค. ใบยึดปก      ฉ. หนาปกใน              ฌ. หนาคํานํา




            เมื่อเราทําเสร็จแลว เธอชวยตรวจคําตอบ
          ใหเราดวยนะคะ เราก็ไมคอยมั่นใจเทาไหรคะ
๓๑




                      เฉลยกรอบที่ ๑๗




                                   ฟงคําตอบดี ๆ นะคะโชค


                          ๑. ซ       ๒. ค      ๓. ก      ๑๐. ง
                          ๔. ฌ       ๕. จ      ๖. ช
                          ๗. ข       ๘. ฉ      ๙. ญ


เดี๋ยวใหเราเช็คดูกอนนะครับ เกงมากครับ
ถูกทุกขอเลย เราจบสวนตนเลมแลวนะครับ
     ไปพักดื่มน้ากันกอนนะ เดี๋ยวมาเริ่ม
                ํ
        ในสวนตอไปกันนะครับกอย




                              พักสมองสักประเดี๋ยวก็ดีเหมือนกัน
                           เราไปเติมพลังสมองดวยการดื่มน้ําเย็น ๆ
                                         สักแกวนะ
๓๒




กรอบที่ ๑๘


                                     กอย หายเหนือยหรือยัง
                                                 ่
                                 เรามาฟนความจําในสวนตนเลม
                             กันกอนนะครับ เราจะทําเปนสวนใหดนะ
                                                               ู

        ดีคะโชค จะไดจําไดงาย ๆ
    เธอนี่เขาใจวิธการอธิบายจริง ๆ เลย
                   ี
       เราตั้งใจฟงแลวคะ เริ่มไดคะ


                                 สวนตนเลมเรียงตามลําดับดังนี้

                                           หนาสารบัญ
                                 หนาประกาศคุณูปการ
                                       หนาคํานํา
                                  หนาคําอุทิศ
                                 หนาลิขสิทธิ์
                                หนาปกใน
                             หนาชื่อเรื่อง
                             ใบรองปก
                         ใบยึดปก
                            ปก
                       ใบหุมปก




       โอโฮมากจังเลย ฟง ๆ ไป
        ไมรูเลยวามากขนาดนี้
๓๓




กรอบที่ ๑๙

                                   กรอบนี้เปนการสรุปเนื้อหาแตละหัวขอ
                                           นะครับกอย ลองดูนะ


                    ใบหุมปก คือ กระดาษหุมปกนอกของหนังสือ มีสีสนสวยงาม
                                                                ั
                             ปกนอก ชวยยึดตัวเลมหนังสือไวใหหยิบจับไดสะดวก
        ใบยึดปก เปนกระดาษที่ปะติดกับปกนอกดานใน ทําใหหนังสือแข็งแรงขึ้น
                              ใบรองปก เปนหนาแรกและหนาสุดทายของหนังสือ
                    หนาชื่อเรื่อง คือ หนาที่บอกชื่อเรื่อง และถามีชื่อชุดก็บอกดวย
      หนาปกใน เปนหนาที่สาคัญ เพราะมีขอความเกี่ยวกับหนังสืออยางสมบูรณ
                           ํ
                      หนาลิขสิทธิ์ คือ ใหขอมูลเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ของหนังสือเลมนั้น
       หนาคําอุทิศ เปนการกลาวคําอุทิศหนังสือเลมนันใหแกบุคคลใดบุคคลหนึง
                                                     ้                     ่
 หนาคํานํา คือ หนาที่ผูเขียนอธิบายสาเหตุในการเขียน ขอบเขตเนื้อหาของหนังสือ
       หนาประกาศคุณปการ คือ คําที่ผูแตงกลาวขอบคุณผูทใหความชวยเหลือ
                    ู                                    ี่
                             จากบุคคลหลายดาน ใชกับวิทยานิพนธ
                      หนาสารบัญ เปนสวนที่บอกใหทราบถึงเคาโครงของหนังสือ


           คะ ดีมากคะทําใหเราเขาใจ
             และใชไดถูกตองมากขึ้น
   โชค ขึ้นสวนที่ ๒ กันเถอะ อยากรูเร็ว ๆ นะ
๓๔




  กรอบที่ ๒๐



             ไดเลยกอย มาสวนที่ ๒ นะครับ
              คือ สวนเนื้อเรืองหรือเนื้อหา
                              ่
         สวนนี้เปนสวนที่สาคัญที่สดของหนังสือ
                            ํ       ุ
         เพราะใหรายละเอียดของหนังสือเลมนั้น
      อาจแบงเปนบทหรือตอนตามที่แจงไวในสารบัญ




                                   สวนเนื้อเรื่องประกอบดวยอะไรบางคะโชค




ใจรอนจังเลยนะกอย สวนเนื้อเรื่องประกอบดวย
         ๑. ภาพประกอบ
         ๒. ตาราง
         ๓. สวนอางอิง
     เราจะอธิบายใหฟงเปนขอ ๆ นะครับ
                      
        ตามเราไปกรอบตอไปเลยครับ
๓๕




กรอบที่ ๒๑



                            ตั้งใจฟงนะครับ ภาพประกอบ คือ การนําภาพ
                       ที่เกี่ยวของกับเนื้อหามาอธิบายประกอบ เพื่อใหเขาใจงาย
                       และชัดเจนขึ้น ภาพประกอบอาจเปนภาพวาด แผนภูมิ
                        และบอกหมายเลขกํากับภาพ ชื่อภาพ และคําอธิยาย
                                  เรามีภาพประกอบใหดูจะไดเขาใจงาย




            สวนประกอบมากจังเลย
               จะจําหมดไหมเนี่ย
   แตเมื่อดูภาพประกอบแลวก็เขาใจคะโชค
๓๖




  กรอบที่ ๒๒



     ตอมาเรื่อง ตาราง นะครับคือ การนําเสนอขอมูล
    ที่ไดจากการศึกษาคนควาในรูปของตารางอาจเปน
    ตัวเลขที่ใหคารอยละ คาเฉลีย เสนบนสุดของตาราง
                                ่
       นิยมใชเสนคูหรือเสนหนา พิมพหมายเลขกํากับ
    และมีชื่อตารางไวบน สวนการอางถึงแหลงที่มาของ
        ตารางใหระบุไวดานลางของตารางดังตัวอยาง


ตารางที่ 3 รอยละของเด็กที่แสดงอาการผิดปกติทางอารมณเนื่องมาจาก
             วิธการฝกหัดการใชสวม
                ี
                                                                             ความแตกตาง
           วิธีฝกหัดฯ                  แมที่อบอุน       แมที่เย็นชา
                                                                               ในแนวนอน
วิธีที่นุมนวล                               21                11          ไมมีนัยสําคัญ
วิธีที่รุนแรง                                23                43
ความแตกตางในแนวตั้ง            ไมมีนัยสําคัญ
ที่มา : พิชิต พิทักษเทพสมบัติ 2536 : 17


                                                เรื่องตารางเราเคยเห็นในหนังสือ ไมยากคะ
                                             ตอไปเปนเรื่องสุดทายของสวนเนื้อเรื่องแลวละสิ
                                               แต เอ! เปนเรืองอะไรนะโชค ชวยบอกเราทีสิ
                                                              ่
๓๗




กรอบที่ ๒๓


                                    ก็ สวนอางอิง อยางไรละ เปนสวนที่ปรากฏ
                                 ควบคูไปกับเนือหา เพื่อบอกใหทราบวาขอมูล
                                                 ้
                                ที่นามานันไดมาจากแหลงใด คือ ที่เรารูจกกันใน
                                    ํ      ้                              ั
                                นามเชิงอรรถ (เชิง-อัด) และบรรณานุกรมนั่นเอง
                                              ลองดูตัวอยางนะกอย

                                          ตัวอยางการอางอิงแทรกในเนือหา
                                                                     ้
               … หนังสืออางอิง คือ หนังสือที่รวมขอเท็จจริง ซึ่งรวบรวมมาจากแหลงตาง ๆ
      นํามาเรียบเรียงเขาดวยกันเพื่อใชประโยชนไดอยางรวดเร็ว เปนหนังสือที่ผูใชจะอาน
      เฉพาะตอนที่ตองการ … (สุทธิลักษณ อําพันวงศ 2534: 38)




   เปนอยางนี้นี่เอง เราจะลองทําดูนะโชค
      แตถาทําไมไดเธอตองบอกเรานะ




                                        ถากอยอยากทําได ตองบอกเรา
                                        หนอยสิวา สวนอางอิง คือ ……….
๓๘




                   เฉลยกรอบที่ ๒๓




                     จะลองตอบดูนะ สวนอางอิง คือ สวนที่บอก
                    ใหทราบวาขอมูลที่นามานันไดมาจากแหลงใด
                                        ํ    ้




โอโฮ ขนาดลองตอบนะเนี่ย
  ตอบถูกครับกอยคนเกง



            คนเกงเราจะไปกรอบสุดทาย
            ของสวนเนื้อเรืองกันแลวนะ
                           ่




                                 อะไรกรอบสุดทายแลวเหรอ
                                        เร็วจังเลย
๓๙




กรอบที่ ๒๔



กรอบนี้จะกลาวถึงสวนทายเลมครับ




                                    สวนทายเลมแลวเหรอ จะสนุกไหมโชค
                                    สวนทายเลมประกอบดวยอะไรบางคะ




   สวนทายเลม ประกอบดวย
   ๑. ภาคผนวก (พาก-ผะ-หฺนวก)
   ๒. อภิธานศัพท (อะ-พิ-ทาน-สับ)
   ๓. เชิงอรรถ
   ๔. บรรณานุกรม
   ๕. ดรรชนี (ดัด-ชะ-นี)
        เราจะศึกษารายละเอียด
           ในกรอบตอไปนะครับ
๔๐




กรอบที่ ๒๕

                                   เริ่มเรื่องแรกเลยนะ ภาคผนวก คือสวนที่
                                   รวบรวมขึ้นเพิมเติมจากเนื้อหาของหนังสือ
                                                    ่
                                  ไมใชเนื้อหาที่แทจริง อาจเปนการขยายความ
                                  เนื้อเรื่องบางตอน หรือมีความสัมพันธเกียวโยง
                                                                         ่
                                       กับเนื้อเรื่อง เชน สถิติ แบบสอบถาม
                                                      ดูตัวอยางนะ

                                  ภาคผนวก

ภาคผนวก ก      ระเบียบการใชหองสมุดสถาบันราชภัฏราชนครินทร
ภาคผนวก ข      บรรณานุกรม
               (๑) หนังสือหองสมุดโรงเรียนดัดดรุณี (โรงเรียนสตรีประจําจังหวัด
                   ฉะเชิงเทรา) “พระราชนิพนธในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
                   สยามบรมราชกุมารี”
               (๒) หนังสือหองสมุดจังหวัดฉะเชิงเทรา “เอกสารเกี่ยวกับจังหวัด
                   ฉะเชิงเทรา”



            เราเคยเห็นในหนังสือบางเลม
                 เทานั้นเองคะโชค



                                    ใชครับ เพราะ ..........................
                                        เติมเหตุผลใหเราดวยครับ
๔๑




                      เฉลยกรอบที่ ๒๕




                           ก็เพราะ ภาคผนวกไมใชเนือหาที่แทจริง
                                                    ้
                               ของหนังสือคะ ถูกตองไหมเอย




 ถูกตองครับ กอยคนเกง เราดีใจจัง
ที่มีเพื่อนเกง ๆ อยางเธอ พรอมจะไป
      กรอบตอไปแลวหรือยังครับ




                                 พรอมคะ เราไปกันเลยนะโชคนะ
๔๒




      กรอบที่ ๒๖



         ชื่อนี้อาจจะไมเคยไดยิน แตกไมยากครับ
                                      ็
                อภิธานศัพท (อะ-พิ-ทาน-สับ)
          เปนการรวบรวมศัพทยาก ศัพทเฉพาะ
              ศัพทเทคนิค ทีปรากฏในหนังสือ
                            ่
                     ลองดูตัวอยางนะ

                          อภิธานศัพท
กฤตภาค (Clipping) คือ สิ่งพิมพที่เลือกตัด     ฐานขอมูล (Database) คือ การรวบรวมขอมูลดิบ
         เฉพาะเรื่อง มาจากเลมเดิม เชน                  ที่มความสัมพันธกันจัดระบบใหเปน
                                                             ี
         ตัดมาจากวารสาร หนังสือพิมพ                     สารนิเทศที่เปนหมวดหมู สามารถ
         เก็บไวเฉพาะที่จะใชคนควา                     สืบคนไดงาย
คํานําทาง (Guide Word) คือ คําที่ปรากฏบริเวณ   บรรณานุกรม (Bibliography) คือ รายการ
          สวนบนหนาของหนาหนังสือ ชวยให              เอกสารอางอิงที่นําขอมูลมาจัดเขา
          การคนควาสะดวก ขึ้น                          ระบบของสถาบันใดสถาบันหนึ่ง
                            เรียงตามลําดับอักษรแบบพจนานุกรมครับ




                                               ยากเหมือนกันนะโชค แตกรูเรื่องคะ
                                                                      ็
                                                  ไปกรอบตอไปดีกวาคะโชค
๔๓




กรอบที่ ๒๗


                                        มาเลยกอย เชิงอรรถ (เชิง-อัด) ครับ คือ
                                 ขอความแสดงแหลงที่มาของขอมูล หรือหลักฐาน
                                 ที่ผูเขียนคัดลอกมาประกอบหนังสือ หรืออาจเปน
                                        ขอความที่อธิบายรายละเอียดของเนื้อหา
                                           บางตอนเพิ่มเติมก็ไดดูตัวอยางครับ


       หนังสืออางอิง๑ หมายถึง หนังสือที่ผูจัดทํามีความมุงหมายที่จะใหผูใชไดรับความ
สะดวกในการคนควา …

         ๑
         สุกานดา ดีโพธิ์กลาง และคนอื่น ๆ. ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการศึกษา
คนควา. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: หมวดวิชาศึกษาทั่วไป คณะมนุษยศาสตร
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. หนา ๙๕.


          เรื่องนี้ไมคุนก็จริง แตกงายกวา
                                     ็
                 กรอบที่แลวนะโชค
               เพราะมีใหเห็นอยูบอย ๆ




                                               กอยคนเกง ในเมื่อเห็นอยูบอย ๆ
                                                                          
                                               ลองใหความหมายของคําวา
                                               “เชิงอรรถ"”สิครับทําไดไหมเอย
๔๔




                    เฉลยกรอบที่ ๒๗




                                  สบายอยูแลวโชค ลองดูนะ
                           เชิงอรรถ คือ ขอความแสดงแหลงที่มา
                         ของขอมูลหรือหลักฐานที่ผูเขียนคัดลอกมา
                             ประกอบหนังสือหรืออาจเปนขอความ
                          ที่อธิบายรายละเอียดของเนือหาบางตอน
                                                       ้
                                        เพิ่มเติมก็ได



       เจง จริง ๆ กอย สุดยอดเลย
          ไปดูกรอบตอไปเลยนะ
           เปนเรื่องที่เธอคุนเคย
และเธอตองใชทุกครั้งในการทํารายงานเลยละ




                          ไปเร็ว ๆ เลยโชค เราอยากรูแลวละ
                                                   
๔๕




กรอบที่ ๒๘


  เรื่องบรรณานุกรม (บัน-นา-นุ-กฺรม) ครับ
 คือ รายชื่อหนังสือและวัสดุอน ๆ ที่ผูเขียนใช
                                ื่
 คนควาประกอบการเขียนหนังสือเลมนัน ๆ    ้
อาจอยูทายบทหรือทายเลมก็ได บางครั้งเรียก
           
        “เอกสารอางอิง” “หนังสืออางอิง”
             “รายการอางอิง” ก็ไดครับ




                                              นึกวาเรื่องอะไรเราพอรูบางคะ
                                              คือรายการบรรณานุกรมจะตอง
                                          จัดเรียงตามแบบพจนานุกรมใชไหมคะ




             ใชครับ กอยคนเกง
       อาว ! ลองตอบคําถามนะครับ
                บรรณานุกรม
          บางครั้งเรียกวาอะไรครับ
๔๖




                             เฉลยกรอบที่ ๒๘




                                       บรรณานุกรมบางครั้งเรียกวา
                                            “เอกสารอางอิง”
                                            “หนังสืออางอิง”
                                     “รายการอางอิง” คะ ถูกใชไหมคะ




ถูกตองครับกอย เห็นไหมไมยากเลย
และเธอก็คุนเคยกับเรื่องนี้ดีอยูแลว
ทีนี้ไปเรื่องชื่อไมคุนกันบางดีกวาครับ




                                      ไปกันเลยคะโชค สู สู
๔๗




กรอบที่ ๒๙

                            ดรรชนี (ดัด-ชะ-นี) ครับ คือ บัญชีคําหรือวลี
                             สําคัญ ๆ ทีปรากฏอยูในเนื้อหาของหนังสือ
                                           ่
                            จัดเรียงตามลําดับอักษร มีเลขหนากํากับไว
                              ชวยใหผูอานคนหาเรื่องหรือคําที่ตองการ
                                         
                              ไดอยางรวดเร็ว เปนอยางไรบาง งง ละสิ
                                        ดูตัวอยางจะไดหาย งง
                                               ดรรชนี
               -ก-                                      ฐ-ด
กฤตภาค, ความหมาย              ๑๖     ฐานขอมูล
               -ค-                            ความหมาย                    ๒๕
คํานําทาง                   ๑๗๑               ประเภท                      ๒๖


           เอ ! เหมือนหนาอะไรนะ
           คุน ๆ นึกไมออกเลยโชค


                                   ดรรชนีบอกหนาคลายสารบัญครับ
                                 เพียงแตดรรชนีเรียงคําตามลําดับอักษร
                              สวนสารบัญ เรียงตามเนื้อหาของหนังสือครับ


              ใชคะโชค ถูกตอง
           เรานึกตังนานนึกไมออก
                   ้
          พอเธอบอก เรารองออ เลย
๔๘




    กรอบที่ ๓๐

                                      เรามาถึงกรอบสุดทายแลวนะ
                                    เปนการทําแบบฝกหัดทบทวนครับ




           อาว กรอบสุดทายแลวเหรอ เร็วจัง
           เลย ใหทาแบบฝกหัดเหรอ ไดเลย
                   ํ
           คะโชค เต็มที่ สบายมากอยูแลวคะ
                                    


                                          กอยนี่ครับแบบฝกหัด แค ๘ ขอก็พอ
                                           เมื่อทําเสร็จแลว เราจะตรวจใหนะ
                                                       ลองดูนะครับ


คําชี้แจง ใหนักเรียนนําพยัญชนะดานขวามือมาเติมหนาตัวเลขดานซายมือใหสัมพันธกัน
….. ๑. บัญชีคา จัดเรียงตามตัวอักษร
                  ํ                                          ก. ภาพประกอบ
….. ๒. บอกแหลงที่มาของขอมูล                                ข. ตาราง
….. ๓. รายชื่อหนังสือหรือวัสดุที่ใชประกอบการเขียนหนังสือ    ค. สวนอางอิง
….. ๔. การนําเสนอขอมูลที่ไดจากการศึกษาคนควาในรูปตาราง ง. ภาคผนวก
….. ๕. รวบรวมศัพทท่ปรากฏในหนังสือ
                          ี                                  จ. อภิธานศัพท
….. ๖. การนําภาพทีเ่ กี่ยวของกับเนื้อหามาอธิบาย             ฉ. เชิงอรรถ
         เพื่อใหเขาใจงายและชัดเจนขึ้น                     ช. บรรณานุกรม
….. ๗. สวนที่รวบรวมเพิ่มเติมจากเนื้อหาของหนังสือ            ซ. ดรรชนี
….. ๘. ขอความแสดงแหลงที่มาของขอมูล
๔๙




                        เฉลยกรอบที่ ๓๐



                                    โชค ตรวจไดเลยคะ
                                    ๑. ซ          ๒.    ค
                                    ๓. ช          ๔.    ข
                                    ๕. จ          ๖.    ก
                                    ๗. ง          ๘.    ฉ



 เกงมากเลยกอย แสดงวากอยเขาใจ
     เรื่องสวนประกอบของหนังสือ
           เปนอยางดี เราถาม
       กอยตอบไดทกคําถามเลย
                    ุ


                                       โชคก็พูดเกินไป ถาไมมีโชค
                                     เราก็ยงไมเขาใจเทาไหรหรอก
                                            ั
                                      เราขอขอบคุณโชคจริง ๆ นะ
                                         ถามีเรื่องที่ไมเขาใจอีก
                                         เราถามโชคไดไหมคะ



เรายินดีมากกอยคนเกง เพื่อนยอมชวยเพือน
                                       ่
   อยาลืมทําแบบทดสอบหลังเรียนกอนละ
 เราไปละนะ แลวพบกันใหมครับ สวัสดีครับ
๕๐




                         แบบทดสอบหลังเรียน
                    เรื่อง สวนประกอบของหนังสือ


คําชี้แจง ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก ข ค หรือ ง
          ที่ถูกตองทีสุดเพียงขอเดียว
                      ่

       ๑. กระดาษหุมปกนอกของหนังสือคือสวนใดของหนังสือ
                        
          ก. ปกนอก
          ข. ใบยึดปก
          ค. ใบหุมปก
          ง. ใบรองปก
       ๒. ขอใดเปนโครงสรางของหนังสือ
          ก. บทนํา
          ข. คํานํา
          ค. คําอุทศิ
          ง. สารบัญ
       ๓. บรรณานุกรมคืออะไร
          ก. บัญชีคํา
          ข. รายชื่อเอกสาร
          ค. สวนทีอธิบายคําศัพท
                      ่
          ง. แหลงที่มาของขอความ
๕๑




๔. หนาประกาศคุณูปการบางสถาบันเรียกวาหนาอะไร
   ก. คํานํา
   ข. คําอุทิศ
   ค. ปลิขสิทธิ์
   ง. กิตติกรรมประกาศ
๕. สวนใดของหนังสือที่ดึงดูดความสนใจของผูอาน
   ก. ปกใน
   ข. เนื้อเรื่อง
   ค. ใบหุมปก
   ง. บรรณานุกรม
๖. ใบหุมปกมีประโยชนอยางไร
   ก. ทําใหหนังสือแข็งแรงขึ้น
   ข. ชวยยึดตัวเลมของหนังสือ
   ค. ชวยดึงดูดความสนใจของผูอาน
   ง. ชวยยึดปกหนาและปกหลังใหติดกัน
๗. ทําไมปกนอกจึงมีประโยชน
   ก. เพราะทําใหหนังสือแข็งแรงขึ้น
   ข. เพราะชวยยึดตัวเลมของหนังสือ
   ค. เพราะชวยดึงดูดความสนใจของผูอาน
                                     
   ง. เพราะชวยยึดปกหนาและปกหลังใหติดกัน
๕๒




      ๘. หนาใดของหนังสือที่นามาเขียนบรรณานุกรมในการทํารายงาน
                             ํ
8. หนาใดของหนังสือทีนามาเขียนบรรณานุกรมในการทํารายงาน
                           ่ ํ
          ก. ปกใน
       ก. หนาปกใน
          ข. ชื่อเรื่อง
       ข. ค. าชืล่อเรืทธิ์
          หน ป ิขสิ ่อง
       ค. ง. าปลิขสิศษ ์
          หน ภาพพิเ ทธิ
       ๙. ขอใดคือหนาเที่ของใบยึดปก
       ง. หนาภาพพิ ศษ
          ก. ทําใหหนังสือแข็งแรงขึ้น
9. หนาประกาศคุณูปการบางสถาบันเรียกวาหนาอะไร
       จ. ข. ชวยยึนํา วเลมของหนังสือ
          หนาคํา ดตั
       ฉ. ค. ชวยดึงทิศความสนใจของผูอาน
          หนาคําอุ ดูด
          ง. ชวยยึดปกหนาและปกหลังใหติดกัน
       ช. หนาปลิขสิทธิ์
       ๑๐.สวนใดเปนการอธิบายสาเหตุในการเขียนของผูแตง
   ง. กิตติกรรมประกาศ
          ก. หนาคํานํา
10.บรรณานุกรมคืคําอุทิศ
          ข. หนา ออะไร
   ก. บัญค.คหนาปลขสิทธิ์
           ชี ํา ิ
   ข. รายชื่อหนาประกาศคุณูปการ
          ง. เอกสาร
   ค. สวนที่อธิบายคําศัพท
   ง. แหลงที่มาของขอความ
๕๓




 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เรื่องสวนประกอบของหนังสือ




     ขอ        คําตอบ
      ๑            ค
     ๒             ก
     ๓             ข
     ๔             ง
     ๕             ค
     ๖             ค
     ๗             ข
     ๘             ก
     ๙             ก
     ๑๐            ก
๕๔




                                  บรรณานุกรม

กรมวิชาการ. การอนุรกษหนังสือ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพครุสภาลาดพราว, ๒๕๔๑.
                          ั                            ุ
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร
         มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. การใชหองสมุดและทักษะการเรียน.
                                                
         พิมพครั้งที่ ๓. ปตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, ๒๕๓๘.
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. การคนควาและ
         การเขียนรายงาน. พิมพครั้งที่ ๘. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผลงานวิชาการ
         คณะอักษรศาสตร, ๒๕๕๐.
ลมุล รัตตากร. การใชหองสมุด. พิมพครั้งที่ ๘ แกไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน,
         ๒๕๓๙.
วัลลภ สวัสดิวัลลภ. คูมืองานเทคนิคและการฝกงานหองสมุด. กรุงเทพฯ:
         บรรณกิจเทรดดิ้ง, ๒๕๓๖.
สุทธิลักษณ อําพันวงศ. การใชบริการหองสมุด และเขียนรายงานการคนควา.
         พิมพครั้งที่ ๑๓. กรุงเทพฯ: โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด, ๒๕๔๓.
อาภากร ธาตุโลหะ. ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการคนควา. ชลบุรี: พี.เค.กราฟฟค พริ้นต,
         ๒๕๔๗.
อําไพวรรณ ทัพเปนไทย. การเขียนรายงานและการใชหองสมุด. กรุงเทพฯ:
         โอเดียนสโตร, ๒๕๔๙.
เอื้อมพร ทัศนประสิทธิผล. สารนิเทศเพือการศึกษาคนควา. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน,
                                          ่
         ๒๕๔๒.
๕๕
๕๖
๕๗

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
พัน พัน
 
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือเฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
Supaporn Khiewwan
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
krujee
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
krujee
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
Supaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
Chuleekorn Rakchart
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุด
Supaporn Khiewwan
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
พัน พัน
 

Was ist angesagt? (20)

LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือLibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
 
3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือ3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือ
 
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือเฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุดLibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
 
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุด
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
 

Ähnlich wie ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์

หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
krujee
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
krujee
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
krujee
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
krujee
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
krujee
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
krujee
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
krujee
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
krujee
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
krujee
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
krujee
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
krujee
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือ
krujee
 
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
Jiraprapa Suwannajak
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
0894239045
 
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
watdang
 
การใช้โปรแกรม Pls
การใช้โปรแกรม Plsการใช้โปรแกรม Pls
การใช้โปรแกรม Pls
krujee
 
ลิงกับจระเข้
ลิงกับจระเข้ลิงกับจระเข้
ลิงกับจระเข้
kroosomsri
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
panneem
 

Ähnlich wie ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ (20)

หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือ
 
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านเล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
บทเรียนสำเร็จรูป การกางเต็นท์
 
การใช้โปรแกรม Pls
การใช้โปรแกรม Plsการใช้โปรแกรม Pls
การใช้โปรแกรม Pls
 
ลิงกับจระเข้
ลิงกับจระเข้ลิงกับจระเข้
ลิงกับจระเข้
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 

ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์

  • 1. คําแนะนําในการเรียน บทเรียนนี้เปนบทเรียนโปรแกรม จัดทําขึนเพื่อใหนกเรียนศึกษาดวยตนเอง ้ ั โปรดอานคําแนะนํากอนศึกษาบทเรียน ดังตอไปนี้ ๑. บทเรียนนี้เปนบทเรียนสําเร็จรูปมีทั้งหมด ๓๐ กรอบ ใชเวลาในการเรียน ๒ ชัวโมง ่ ๒. ศึกษาจุดประสงคการเรียนรู แลวนักเรียน จะทราบวา เมือเรียนจบแลวนักเรียนจะไดความรูอะไร ่ ๓. ทําแบบทดสอบกอนเรียนตามความเขาใจ ของนักเรียน ตอบผิดไมเปนอะไร เพราะถาศึกษาเอกสารตอไป จะตอบไดถูกตองในภายหลัง ๔. บทเรียนนี้ไมใชขอทดสอบ ไมตองกังวลใจ ทําไปชา ๆ ทีละกรอบ นักเรียนจะไดรับความรู ไดทําแบบฝกหัดและไดทํากิจกรรมตาง ๆ ดวยตัวเอง ๕. ขณะศึกษาบทเรียนและปฏิบัติกิจกรรม ไมดูเฉลย เมื่อตอบผิดใหกลับไปศึกษาเนื้อหา ในกรอบเดิมแลวลองตอบคําถามใหม ๖. เมื่อศึกษาครบทุกกรอบแลว ใหทาแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความเขาใจอีกครั้งหนึ่ง ํ ๗. เมื่อเขาใจดีแลวศึกษาบทเรียนไดเลย
  • 2. สาระสําคัญ การทีเ่ ราจะใชประโยชน จากหนังสือไดเต็มที่ เราจะตองทราบถึง สวนประกอบของหนังสือ ซึงจะมีสวนชวยใหเกิด ่ ความชืนชม และตระหนัก ่ ในคุณคาของหนังสือมากขึน ้
  • 3. แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง สวนประกอบของหนังสือ คําชี้แจง ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก ข ค หรือ ง ที่ถกตองที่สุด ู เพียงขอเดียว ๑. กระดาษหุมปกนอกของหนังสือคือสวนใดของหนังสือ  ก. ปกนอก ข. ใบยึดปก ค. ใบหุมปก ง. ใบรองปก ๒. ใบหุมปกมีประโยชนอยางไร ก. ทําใหหนังสือแข็งแรงขึ้น ข. ชวยยึดตัวเลมของหนังสือ ค. ชวยดึงดูดความสนใจของผูอาน ง. ชวยยึดปกหนาและปกหลังใหติดกัน ๓. ทําไมปกนอกจึงมีประโยชน ก. เพราะทําใหหนังสือแข็งแรงขึ้น ข. เพราะชวยยึดตัวเลมของหนังสือ ค. เพราะชวยดึงดูดความสนใจของผูอาน  ง. เพราะชวยยึดปกหนาและปกหลังใหติดกัน
  • 4. ๔ ๔. ขอใดคือหนาที่ของใบยึดปก ก. ทําใหหนังสือแข็งแรงขึ้น ข. ชวยยึดตัวเลมของหนังสือ ค. ชวยดึงดูดความสนใจของผูอาน ง. ชวยยึดปกหนาและปกหลังใหติดกัน ๕. สวนใดของหนังสือเปนการอธิบายสาเหตุในการเขียนของผูแตง ก. หนาคํานํา ข. หนาคําอุทิศ ค. หนาปลิขสิทธิ์ ง. หนาประกาศคุณูปการ ๖. ขอใดเปนโครงสรางของหนังสือ ก. บทนํา ข. คํานํา ค. คําอุทิศ ง. สารบัญ ๗. สวนใดของหนังสือที่ดึงดูดความสนใจของผูอาน ก. ปกใน ข. เนื้อเรื่อง ค. ใบหุมปก ง. บรรณานุกรม
  • 5. ๘. หนาใดของหนังสือที่นามาเขียนบรรณานุกรมในการทํารายงาน ํ 8. หนาใดของหนังสือทีนามาเขียนบรรณานุกรมในการทํารายงาน ่ ํ ก. ปกใน ง. หนาปกใน ข. ชื่อเรื่อง ค. ปลิขสิทธิเรื่อง จ. หนาชื่อ ์ ง. ภาพพิเลิขสิทธิ์ ฉ. หนาป ศษ ช. หนาภาพพิเศษ ๙. หนาประกาศคุณูปการบางสถาบันเรียกวาหนาอะไร 9. หนาก. คํานํา ณูปการบางสถาบันเรียกวาหนาอะไร ประกาศคุ ข. คําอุาทิศานํา ซ. หน คํ ค. ปลิขสิทธิ์ ทิศ ฌ. หนาคําอุ ง. กิตติกรรมประกาศ ญ. หนาปลิขสิทธิ์ ๑๐.บรรณานุกรมคืออะไร ง. กิตติกรรมประกาศ ก. บัญชีคา ํ 10.บรรณานุกรมคืออะไร ข. รายชื่อเอกสาร ก. บัญสวนที่อธิบายคําศัพท ค. ชีคํา ข. รายชื่อเอกสาร อความ ง. แหลงที่มาของข ค. สวนที่อธิบายคําศัพท ง. แหลงที่มาของขอความ
  • 6. ๖ เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน เรื่องสวนประกอบของหนังสือ ขอ คําตอบ ๑ ค ๒ ค ๓ ข ๔ ก ๕ ก ๖ ก ๗ ค ๘ ก ๙ ง ๑๐ ข
  • 7. ผลการเรียนรูทคาดหวัง ี่ นักเรียนมีความรูความเขาใจสวนประกอบของหนังสือ จุดประสงคการเรียนรู ๑. นักเรียนบอกสวนประกอบของหนังสือได ๒. นักเรียนบอกประโยชนของแตละสวนได
  • 8. สวนประกอบของหนังสือ กรอบที่ ๑ สวัสดีครับกอย ทําความเขาใจกับเรื่องสวนประกอบ ของหนังสือหรือยังครับ จะสอบแลวนะ ยังเลยคะ เจอโชคพอดีเลยคะ เพราะคิดวาจะใหโชคอธิบายใหฟง  โชคพอจะวางไหมคะ วางครับ ดีเหมือนกัน เพราะเปนการทบทวนไปดวย เราไปโรงเรียนพรอมกันเลยนะ ตกลงคะ เราไปกันเลย เดินไปคุยไปเรื่อย ๆ ก็แลวกัน
  • 9. ๙ กรอบที่ ๒ เราเริ่มเลยนะสวนประกอบของหนังสือ แบงออกเปนสวนใหญ ๆ ได ๓ สวน มีอะไรบางคะ กอยคิดวา ตองมี “ปก” แนๆ เลยใชไหมคะ ใชครับ ปกเปนสวนหนึ่งเทานั้น กอยเกงจริง ๆ เลยมีดงนีนะ จะมีสวนตนเลม ั ้  สวนเนื้อเรื่องหรือเนื้อหาแลวก็สวนทายเลม ครับ ลองตอบคําถามดูนะไมยากหรอก เปนการทบทวนเทานันเอง สวนประกอบ ้ ของหนังสือมี ๓ สวนอะไรบาง โอโฮ ! ใสเปนชุดเลย คําถาม ไมยากจริง ๆ ดวย โชคลอง ฟงคําตอบเรานะ
  • 10. ๑๐ เฉลยกรอบที่ ๒ สวนประกอบของหนังสือมี ๓ สวน คือ ๑. สวนตนเลม ๒. สวนเนื้อเรื่องหรือเนื้อหา ๓. สวนทายเลมคะ ตอบถูกใชไหมคะโชค ถูกตองครับ เมื่อตอบถูกแลว ไปกรอบที่ ๓ เพื่อทําความเขาใจทีละสวน กันดีกวานะครับ เราไปกันเลย ไดเลยคะคุณครูโชค
  • 11. ๑๑ กรอบที่ ๓ แหม ! เรียกซะเขินเลย เริ่มเรื่องนะ สวนตนเลม ประกอบดวย ๑๑ สวน ไดแก ๑. ใบหุมปก ๗. หนาลิขสิทธิ์ (ลิก-ขะ-สิด) ๒. ปกนอก ๘. หนาคําอุทิศ ๓. สันหนังสือ ๙. คํานํา ๔. ใบยึดปก ๑๐. หนาประกาศคุณูปการ ๕. หนาชื่อเรือง ่ (คุ-นู-ปะ-กาน) ๖. หนาปกใน ๑๑. สารบัญ โอโฮหลายสวนจังเลย แลวใบหุมปกคืออะไรคะโชค
  • 12. ๑๒ กรอบที่ ๔ ใบหุมปก คือ กระดาษปกนอกของหนังสือ มีสีสันสวยงาม สวนใหญมรายละเอียด ี เพียงชื่อหนังสือและชื่อผูแตง บางเลม พิมพประวัติยอของผูแตงและเนื้อเรื่องยอ  ในสวนที่พับหุมปกแข็งเขามา ลองดูตวอยางนะ  ั ใบหุมปก มีตัวอยางดวย อยางนี้ไมยากคะ เพราะโชคอธิบายพรอมตัวอยาง คนเกง เมื่อไมยาก ก็ชวยตอบโชคนะ  ใบหุมปกคืออะไร
  • 13. ๑๓ เฉลยกรอบที่ ๔ โชคฟงเลยนะคะ ใบหุมปก คือ กระดาษ หุมปกนอกของหนังสือ มีสีสนสวยงาม ั มีรูปภาพหรือไมก็ได สวนใหญ จะมีชื่อหนังสือและชื่อผูแตง เกงมากกอย แสดงวาเขาใจ และกอยรูไหมวาใบหุมปกมีประโยชนอยางไร  เราคิดวาเพื่อความสวยงาม ไมแนใจนะ โชคบอกเราเลยดีกวา
  • 14. ๑๔ กรอบที่ ๕ มีมากกวาทีกอยบอกครับ ประโยชนของ ่ ใบหุมปกก็คือ ชวยดึงดูดความสนใจของผูอาน  และชวยรักษาปกนอกใหใหมอยูเสมอ หรือ หองสมุดอาจเก็บไวจัดนิทรรศการ (นิ-ทัด-สะ-กาน) ก็ไดครับ ใบหุมปกใชจดนิทรรศการไดดวย ั ดีจริง ๆ เลยคะโชค เมื่อกอยรูแลวลองบอกถึงประโยชนของ ใบหุมปกใหเราฟงอีกครั้งเพือเปนการย้ําวา ่ กอยรูจริงนะครับ
  • 15. ๑๕ เฉลยกรอบที่ ๕ ไดเลยคะโชค ฟงดี ๆ นะ ประโยชนของ ใบหุมปก คือ ชวยดึงดูดความสนใจ และ ชวยรักษาปกนอกใหใหมอยูเสมอ และ หองสมุดอาจนําไปใชจัดนิทรรศการก็ได เยี่ยมจริง ๆ เลยเพื่อนเรา เรื่องตอไปเลย ดีกวา แตกอยวาเปนเรื่องอะไรนะ ที่อยูตอ  จากใบหุมปก ออ ก็ปกนะสิ โชคเราอยากรูแลวละ รีบไปนะ
  • 16. ๑๖ กรอบที่ ๖ ง เกงมากกอย ปก มีทั้งปกหนาและปกหลัง โดยมีสันหนังสือเปนสวนชวยยึดใหปกหนาและปกหลัง เขาดวยกัน จะเปนปกแข็งหรือปกออนก็ได และยังชวยรักษา รูปทรงของหนังสือใหคงทน ขอมูลที่ปรากฏไดแก สํานักพิมพ ชื่อหนังสือ ชื่อผูแตง เขาใจแลวคะ และรูดวยวาจะใหเรา บอกถึงประโยชนของปกใชไหมละคะ รูไดอยางไรนี่ เมื่อรูแลวก็ บอกประโยชนของปกเลย
  • 17. ๑๗ เฉลยกรอบที่ ๖ สบายมาก เพราะเรารอตั้งรับอยู ปกมีประโยชนคือ เปนสวนที่รักษา รูปทรงของหนังสือใหคงทน หยิบงาย ใชสะดวก อยางนี้สิ ถึงไดเรียกวา เกงจริง ๆ เกงจริง ๆ เหนื่อยไหมครับ จะไปเรื่องใบยึดปกไหวไหม เราจะนําหนาไปกอนนะ ไหวอยูแลว รอดวยคะ ไปพรอม ๆ กัน ไมเหงาดีคะ
  • 18. ๑๘ กรอบที่ ๗ ไดเลยตามมานะ ใบยึดปก ครับ เปนกระดาษทีมีความเหนียวทนทาน ่ เปนพิเศษ ปะติดกับปกนอกดานใน และปกหลัง เมื่อเปนอยางนี้ ใบยึดปกทําหนาที่อะไรคะ และมีอะไรพิเศษไหมคะ มีอยูแลว คือ ยึดปกกับตัวหนังสือไวดวยกัน  ทําใหหนังสือมีความแข็งแรงขึ้น และความพิเศษ มีกับหนังสือบางเลมครับ คืออาจจะมีสูตรเคมี หรือแผนที,่ แผนภูมิ, สถิติตาง ๆ ครับ พิเศษจริง ๆ ดวยสิ เขาใจแลวละโชค เรื่องตอไปไดเลยคะ
  • 19. ๑๙ กรอบที่ ๘ เรื่อง ใบรองปก ครับ มีทั้งรองปกหนาและ ปกหลัง อยูตอจากใบยึดปกครับ เปนกระดาษสีพน ื้ มีคุณภาพดี ทนทานเปนพิเศษ หนังสือปกออนไมมีใบรองปกครับ โชคเราเคยเห็นในหองสมุด เปนกระดาษสีขาว สงสัยวาทําไมกระดาษหนามาก เราเลย ถามบรรณารักษไดรับคําตอบวา เปนกระดาษ๑๐๐ ปอนดคะ กอยนี่ชางสังเกตจริง ๆ นี่แหละที่เรียกวา  มีแววฉลาดละ ไปหนาชื่อเรื่องเลยดีกวาคนเกง
  • 20. ๒๐ กรอบที่ ๙ หนาชื่อเรื่อง คือ หนาทีมีขอความเฉพาะชื่อเรื่อง ่ ของหนังสือเทานัน แตถาหากเปนหนังสือชุด ้  ก็จะบอกชื่อชุดหนังสือ ไวในหนานี้ โชคหนาชื่อเรืองมีหนาทีพิเศษ ่ ่ อะไรไหมคะ จะบอกอยูพอดีเลยครับ มีครับ  หนาบอกชื่อเรืองจะทําหนาที่แทนปก ่ ชั่วคราวเมื่อปกหลุด หนังสือบางเลม ไมมีหนาชื่อเรืองครับ สวนตอไปเปน ่ หนาปกในครับ นาสนใจไมแพกัน
  • 21. ๒๑ กรอบที่ ๑๐ หนาปกใน เปนหนาที่สําคัญที่สุด ของหนังสือ เพราะจะใหรายละเอียด ตาง ๆ เกี่ยวกับหนังสือไวอยางสมบูรณ ดังนี้ โครงการเผยแพรผลงานวิชาการ ชุด พื้นฐานมนุษยศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ลําดับที่ 2 ลําดับที่ 50 ชื่อสํานักพิมพ ชื่อหนังสือ พิมพครั้งที่ 8 ครั้งที่พิมพ ภาควิชาบรรณารักษศาสตร ชื่อผูแตง คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร ปที่พิมพ 2550 หนาปกในนี้ใหรายละเอียดเกี่ยวกับ หนังสือดีจริง ๆ เลย
  • 22. ๒๒ กรอบที่ ๑๑ มาถึงหนาลิขสิทธิ์นะครับ หนาลิขสิทธิ์ใหขอมูลอะไรนะ หนาลิขสิทธิ์ (ลิก-ขะ–สิด) ใหขอมูล เกี่ยวกับลิขสิทธิ์ของหนังสือเลมนั้น ๆ ดูตัวอยางนะครับ จะไดเขาใจขึ้น การคนควาและการเขียนรายงาน/ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.- - พิมพครั้งที่ 8. - - กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร, 2550. 200 หนา : ภาพประกอบ. ISBN 974-13-2715-3 เลขมาตรฐานหนังสือสากล รายการ 1. การเขียนรายงาน. 2. การคนขอสนเทศ. 3. บรรณานุกรม. เกี่ยวกับ บัตร Z665 028.7 รายการ พิมพครั้งที่ 1 พ.ศ.2538 จํานวน 1,000 เลม จํานวนที่พิมพ พิมพครั้งที่ 8 พ.ศ.2550 จํานวน 2,000 เลม ครั้ง ลิขสิทธิ์ของโครงการเผยแพรผลงานวิชาการ ที่ ขอมูลเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พิมพ ผูอํานวยการ : อาจารย ดร.ธีรนุช โชคสุวณิช (0-2218-4888)
  • 23. ๒๓ กรอบที่ ๑๒ กอยเคยไดยินคําวา “เลขมาตรฐาน หนังสือสากล หรือ ISBN” ไหมครับ ไมเคยคะ และยังสงสัยอยูเหมือนกัน เราจะอธิบายใหฟงนะครับ  เมื่อเขาใจแลวตอบคําถามดวย นะครับวา เลขมาตรฐานหนังสือ สากลของประเทศไทย คือ ........... เลขมาตรฐานหนังสือสากล (International Standard Book Number = ISBN) คือ เลขสากลที่กําหนดขึ้น ใชสําหรับสิงพิมพประเภทหนังสือ มีจุดมุงหมายเพื่อให ่  เปนเอกลักษณของหนังสือแตละเลมและเพื่อความสะดวก รวดเร็วและถูกตองในดานการสั่งซื้อ เลขมาตรฐานหนังสือสากลประกอบดวยเลข ๑๐ ตัว แบงเปน ๔ กลุม เชน ISBN  974-246-478-2 974 หมายถึง รหัสของชื่อประเทศ (974 = ประเทศไทย) 246 หมายถึง รหัสของสํานักพิมพ 478 หมายถึง รหัสชื่อหนังสือ 2 หมายถึง รหัสตรวจสอบความถูกตอง
  • 24. ๒๔ เฉลยกรอบที่ ๑๒ เลขมาตรฐานหนังสือสากล ของประเทศไทย คือ ๙๗๔ คะ ขนาดไมเคยไดยินนะ ยังตอบไดแสดงวา เราอธิบายแลวเธอเขาใจไดดี ก็โชครูจักวิธีอธิบายใหเราฟงนี่คะ เชน อธิบายเนื้อหาเรียบรอยแลว มีตัวอยาง ใหดูอีก พอดูตัวอยางทําใหเขาใจดีขึ้นคะ เราไปเรื่องหนาคําอุทศกันดีกวา ิ เธอเกงแบบนี้เราไปไดเร็วแน ๆ เลย
  • 25. ๒๕ กรอบที่ ๑๓ คําอุทิศเหรอ งง อีกแลวละสิ ชื่อไมคุนหูเลย เราจะพูดใหฟง หนาคําอุทศ  ิ เปนขอเขียนทีผูแตงอุทิศความดีหรือ ่ มอบคุณคาของหนังสือเลมนัน ๆ ใหแก ้ บุคคลใดบุคคลหนึง ดูตัวอยางครับ ่ แด พอ – แม ครู อาจารย ความดีของหนังสือเลมนี้ โดยเฉพาะบูชาคุณ “ครู” ผูลวงลับ  ขอนอมมอบแด ผูชวยศาสตราจารย   พอ แม และบูรพาจารย ดร.มล.จอย นันทิวชรินทร ั ออ ! ขอความแบบนี้เรียกวา .. คําอุทิศเหรอโชค ตอไปหนาอะไรคะ
  • 26. ๒๖ กรอบที่ ๑๔ กอยรูไหมวาตองเขียน ”คํานํา” อยางไร เราไมทราบหรอกคะ แตเรานึก จะเขียนอะไรเราก็เขียน ถาตองมี หลักเกณฑก็ชวยบอกเราดวยนะคะ  หนาคํานํา เปนขอความแจงใหทราบถึง ขอบเขตเนื้อหาของหนังสือ เหตุผลในการเขียน ลักษณะพิเศษและวิธีใชหนังสือ รวมถึง กลาวขอบคุณผูใหความชวยเหลือ ในการจัดทําหนังสือเลมนัน ตัวอยางครับ ้ คํานํา หนังสือ “การคนควาและการเขียนรายงาน” นี้ เปนตํารา ซึ่งเรียบเรียงโดยคณาจารยภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะ อักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อใชประกอบการเรียน รายวิชา 2206 102 การคนควาและการเขียนรายงานของนิสิต ฐานะชั้นปที่ 1 คณะอักษรศาสตร … การจัดพิมพครั้งนี้เปนการพิมพครั้งที่ 8 ภาควิชา บรรณารักษศาสตรหวังวาหนังสือเลมนี้คงจะอํานวยประโยชนตอ การทํารายงานประกอบการเรียนของนิสิตไดในเบื้องตน คณาจารยภาควิชาบรรณารักษศาสตร โชคเมื่อมีความสําคัญอยางนี้ เราก็ไมควรเปดผานเลยไป แตเราตองอานอยางละเอียดเลยนะ
  • 27. ๒๗ กรอบที่ ๑๕ หนาประกาศคุณูปการบาง เคยไดยินไหมครับ ไมเคยไดยินคะ แตฟงดูแลวเหมือน เปนการแสดงความเคารพอยางสูงเลย เธอชวยอธิบายใหเราฟงดวยนะคะ หนาประกาศคุณปการ บางสถาบัน ู เรียกวา หนากิตติกรรมประกาศ เปน หนาที่เขียนขอบคุณผูที่ใหความชวยเหลือ ในการจัดทําจากบุคคลในหลายดาน สวนมากจะใชกับวิทยานิพนธ ใชกับวิทยานิพนธเหรอ ฉะนั้นเราก็ตองเรียนตอปริญญาใหไดเลย
  • 28. ๒๘ กรอบที่ ๑๖ กรอบนี้หนาอะไรคะ หนา สารบัญ ครับ เปนหนาที่บอกใหทราบถึงเคาโครง ของหนังสือ และเลขหนา ดังตัวอยาง สารบัญ หนา คํานํา (1) บทนํา 1 บทที่ 1 การคนควาวิจัย 3 ความหมาย 3 เคาโครง ประเภท 3 บอกเลขหนา ของหนังสือ การวางแผน 16 บทที่ 2 แหลงและทรัพยากร สารนิเทศ 17 บรรณานุกรม 184 ภาคผนวก ก 185 ภาคผนวก ข 194 เมื่อกอยรูแลวแตเปนการยืนยันวารูจริง ตอบคําถามเรานะวา หนาสารบัญเรียกอีกอยางวา….................
  • 29. ๒๙ เฉลยกรอบที่ ๑๖ ร สบายมากโชค หนาสารบัญ เรียกอีกอยางหนึงวา “เคาโครงหนังสือ” คะ ่ แสดงวากอยรูจริง อยากไดอะไรเปนรางวัลไหมครับ เธออธิบายใหเราฟง ก็ถือวาเปนรางวัลแลวละ แตเราอยากใหเธอสรุปใหเราฟงกอน กันลืมนะคะ
  • 30. ๓๐ กรอบที่ ๑๗ ไดเลย เราจะสรุปเปน แบบฝกหัดชนิดจับคูใหเธอลองทําดู คําชี้แจง ใหนําตัวเลือกดานลางมาเติมหนาหมายเลขขอดานซายมือใหสัมพันธกัน ………. ๑. เปนขอเขียนทีผเขียนมอบคุณคาของหนังสือเลมนันใหแก พอแม ครู ่ ู ้ ………. ๒. ทําหนาที่ยึดใหปกหนังสือติดกับตัวเลม ………. ๓. เปนสิ่งดึงดูดสายตาผูพบเห็นใหสนใจหนังสือ  ………. ๔. แจงใหทราบถึงขอบเขตเนื้อหาของหนังสือ ………. ๕. มีแตชื่อเรื่องของหนังสือเทานัน ้ ………. ๖. ใหขอมูลเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ของหนังสือเลมนัน ้ ………. ๗. เปนสวนที่รกษารูปทรงของหนังสือใหคงทน ั ………. ๘. เปนหนาที่ใหรายละเอียดตาง ๆ เกี่ยวกับหนังสืออยางสมบูรณ ………. ๙. ชวยใหผูอานทราบเนื้อเรื่องของหนังสือโดยสังเขป  …….. ๑๐. เปนกระดาษสีพื้นมีคุณภาพดีทนทานเปนพิเศษหนังสือปกออนจะไมมี ก. ใบหุมปก  ง. ใบรองปก ช. หนาลิขสิทธิ์ ญ. หนาสารบัญ ข. ปก จ. หนาชื่อเรื่อง ซ. หนาคําอุทศ ิ ค. ใบยึดปก ฉ. หนาปกใน ฌ. หนาคํานํา เมื่อเราทําเสร็จแลว เธอชวยตรวจคําตอบ ใหเราดวยนะคะ เราก็ไมคอยมั่นใจเทาไหรคะ
  • 31. ๓๑ เฉลยกรอบที่ ๑๗ ฟงคําตอบดี ๆ นะคะโชค ๑. ซ ๒. ค ๓. ก ๑๐. ง ๔. ฌ ๕. จ ๖. ช ๗. ข ๘. ฉ ๙. ญ เดี๋ยวใหเราเช็คดูกอนนะครับ เกงมากครับ ถูกทุกขอเลย เราจบสวนตนเลมแลวนะครับ ไปพักดื่มน้ากันกอนนะ เดี๋ยวมาเริ่ม ํ ในสวนตอไปกันนะครับกอย พักสมองสักประเดี๋ยวก็ดีเหมือนกัน เราไปเติมพลังสมองดวยการดื่มน้ําเย็น ๆ สักแกวนะ
  • 32. ๓๒ กรอบที่ ๑๘ กอย หายเหนือยหรือยัง ่ เรามาฟนความจําในสวนตนเลม กันกอนนะครับ เราจะทําเปนสวนใหดนะ ู ดีคะโชค จะไดจําไดงาย ๆ เธอนี่เขาใจวิธการอธิบายจริง ๆ เลย ี เราตั้งใจฟงแลวคะ เริ่มไดคะ สวนตนเลมเรียงตามลําดับดังนี้ หนาสารบัญ หนาประกาศคุณูปการ หนาคํานํา หนาคําอุทิศ หนาลิขสิทธิ์ หนาปกใน หนาชื่อเรื่อง ใบรองปก ใบยึดปก ปก ใบหุมปก โอโฮมากจังเลย ฟง ๆ ไป ไมรูเลยวามากขนาดนี้
  • 33. ๓๓ กรอบที่ ๑๙ กรอบนี้เปนการสรุปเนื้อหาแตละหัวขอ นะครับกอย ลองดูนะ ใบหุมปก คือ กระดาษหุมปกนอกของหนังสือ มีสีสนสวยงาม ั ปกนอก ชวยยึดตัวเลมหนังสือไวใหหยิบจับไดสะดวก ใบยึดปก เปนกระดาษที่ปะติดกับปกนอกดานใน ทําใหหนังสือแข็งแรงขึ้น ใบรองปก เปนหนาแรกและหนาสุดทายของหนังสือ หนาชื่อเรื่อง คือ หนาที่บอกชื่อเรื่อง และถามีชื่อชุดก็บอกดวย หนาปกใน เปนหนาที่สาคัญ เพราะมีขอความเกี่ยวกับหนังสืออยางสมบูรณ ํ หนาลิขสิทธิ์ คือ ใหขอมูลเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ของหนังสือเลมนั้น หนาคําอุทิศ เปนการกลาวคําอุทิศหนังสือเลมนันใหแกบุคคลใดบุคคลหนึง ้ ่ หนาคํานํา คือ หนาที่ผูเขียนอธิบายสาเหตุในการเขียน ขอบเขตเนื้อหาของหนังสือ หนาประกาศคุณปการ คือ คําที่ผูแตงกลาวขอบคุณผูทใหความชวยเหลือ ู ี่ จากบุคคลหลายดาน ใชกับวิทยานิพนธ หนาสารบัญ เปนสวนที่บอกใหทราบถึงเคาโครงของหนังสือ คะ ดีมากคะทําใหเราเขาใจ และใชไดถูกตองมากขึ้น โชค ขึ้นสวนที่ ๒ กันเถอะ อยากรูเร็ว ๆ นะ
  • 34. ๓๔ กรอบที่ ๒๐ ไดเลยกอย มาสวนที่ ๒ นะครับ คือ สวนเนื้อเรืองหรือเนื้อหา ่ สวนนี้เปนสวนที่สาคัญที่สดของหนังสือ ํ ุ เพราะใหรายละเอียดของหนังสือเลมนั้น อาจแบงเปนบทหรือตอนตามที่แจงไวในสารบัญ สวนเนื้อเรื่องประกอบดวยอะไรบางคะโชค ใจรอนจังเลยนะกอย สวนเนื้อเรื่องประกอบดวย ๑. ภาพประกอบ ๒. ตาราง ๓. สวนอางอิง เราจะอธิบายใหฟงเปนขอ ๆ นะครับ  ตามเราไปกรอบตอไปเลยครับ
  • 35. ๓๕ กรอบที่ ๒๑ ตั้งใจฟงนะครับ ภาพประกอบ คือ การนําภาพ ที่เกี่ยวของกับเนื้อหามาอธิบายประกอบ เพื่อใหเขาใจงาย และชัดเจนขึ้น ภาพประกอบอาจเปนภาพวาด แผนภูมิ และบอกหมายเลขกํากับภาพ ชื่อภาพ และคําอธิยาย เรามีภาพประกอบใหดูจะไดเขาใจงาย สวนประกอบมากจังเลย จะจําหมดไหมเนี่ย แตเมื่อดูภาพประกอบแลวก็เขาใจคะโชค
  • 36. ๓๖ กรอบที่ ๒๒ ตอมาเรื่อง ตาราง นะครับคือ การนําเสนอขอมูล ที่ไดจากการศึกษาคนควาในรูปของตารางอาจเปน ตัวเลขที่ใหคารอยละ คาเฉลีย เสนบนสุดของตาราง  ่ นิยมใชเสนคูหรือเสนหนา พิมพหมายเลขกํากับ และมีชื่อตารางไวบน สวนการอางถึงแหลงที่มาของ ตารางใหระบุไวดานลางของตารางดังตัวอยาง ตารางที่ 3 รอยละของเด็กที่แสดงอาการผิดปกติทางอารมณเนื่องมาจาก วิธการฝกหัดการใชสวม ี ความแตกตาง วิธีฝกหัดฯ แมที่อบอุน แมที่เย็นชา ในแนวนอน วิธีที่นุมนวล 21 11 ไมมีนัยสําคัญ วิธีที่รุนแรง 23 43 ความแตกตางในแนวตั้ง ไมมีนัยสําคัญ ที่มา : พิชิต พิทักษเทพสมบัติ 2536 : 17 เรื่องตารางเราเคยเห็นในหนังสือ ไมยากคะ ตอไปเปนเรื่องสุดทายของสวนเนื้อเรื่องแลวละสิ แต เอ! เปนเรืองอะไรนะโชค ชวยบอกเราทีสิ ่
  • 37. ๓๗ กรอบที่ ๒๓ ก็ สวนอางอิง อยางไรละ เปนสวนที่ปรากฏ ควบคูไปกับเนือหา เพื่อบอกใหทราบวาขอมูล ้ ที่นามานันไดมาจากแหลงใด คือ ที่เรารูจกกันใน ํ ้ ั นามเชิงอรรถ (เชิง-อัด) และบรรณานุกรมนั่นเอง ลองดูตัวอยางนะกอย ตัวอยางการอางอิงแทรกในเนือหา ้ … หนังสืออางอิง คือ หนังสือที่รวมขอเท็จจริง ซึ่งรวบรวมมาจากแหลงตาง ๆ นํามาเรียบเรียงเขาดวยกันเพื่อใชประโยชนไดอยางรวดเร็ว เปนหนังสือที่ผูใชจะอาน เฉพาะตอนที่ตองการ … (สุทธิลักษณ อําพันวงศ 2534: 38) เปนอยางนี้นี่เอง เราจะลองทําดูนะโชค แตถาทําไมไดเธอตองบอกเรานะ ถากอยอยากทําได ตองบอกเรา หนอยสิวา สวนอางอิง คือ ……….
  • 38. ๓๘ เฉลยกรอบที่ ๒๓ จะลองตอบดูนะ สวนอางอิง คือ สวนที่บอก ใหทราบวาขอมูลที่นามานันไดมาจากแหลงใด ํ ้ โอโฮ ขนาดลองตอบนะเนี่ย ตอบถูกครับกอยคนเกง คนเกงเราจะไปกรอบสุดทาย ของสวนเนื้อเรืองกันแลวนะ ่ อะไรกรอบสุดทายแลวเหรอ เร็วจังเลย
  • 39. ๓๙ กรอบที่ ๒๔ กรอบนี้จะกลาวถึงสวนทายเลมครับ สวนทายเลมแลวเหรอ จะสนุกไหมโชค สวนทายเลมประกอบดวยอะไรบางคะ สวนทายเลม ประกอบดวย ๑. ภาคผนวก (พาก-ผะ-หฺนวก) ๒. อภิธานศัพท (อะ-พิ-ทาน-สับ) ๓. เชิงอรรถ ๔. บรรณานุกรม ๕. ดรรชนี (ดัด-ชะ-นี) เราจะศึกษารายละเอียด ในกรอบตอไปนะครับ
  • 40. ๔๐ กรอบที่ ๒๕ เริ่มเรื่องแรกเลยนะ ภาคผนวก คือสวนที่ รวบรวมขึ้นเพิมเติมจากเนื้อหาของหนังสือ ่ ไมใชเนื้อหาที่แทจริง อาจเปนการขยายความ เนื้อเรื่องบางตอน หรือมีความสัมพันธเกียวโยง ่ กับเนื้อเรื่อง เชน สถิติ แบบสอบถาม ดูตัวอยางนะ ภาคผนวก ภาคผนวก ก ระเบียบการใชหองสมุดสถาบันราชภัฏราชนครินทร ภาคผนวก ข บรรณานุกรม (๑) หนังสือหองสมุดโรงเรียนดัดดรุณี (โรงเรียนสตรีประจําจังหวัด ฉะเชิงเทรา) “พระราชนิพนธในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” (๒) หนังสือหองสมุดจังหวัดฉะเชิงเทรา “เอกสารเกี่ยวกับจังหวัด ฉะเชิงเทรา” เราเคยเห็นในหนังสือบางเลม เทานั้นเองคะโชค ใชครับ เพราะ .......................... เติมเหตุผลใหเราดวยครับ
  • 41. ๔๑ เฉลยกรอบที่ ๒๕ ก็เพราะ ภาคผนวกไมใชเนือหาที่แทจริง ้ ของหนังสือคะ ถูกตองไหมเอย ถูกตองครับ กอยคนเกง เราดีใจจัง ที่มีเพื่อนเกง ๆ อยางเธอ พรอมจะไป กรอบตอไปแลวหรือยังครับ พรอมคะ เราไปกันเลยนะโชคนะ
  • 42. ๔๒ กรอบที่ ๒๖ ชื่อนี้อาจจะไมเคยไดยิน แตกไมยากครับ ็ อภิธานศัพท (อะ-พิ-ทาน-สับ) เปนการรวบรวมศัพทยาก ศัพทเฉพาะ ศัพทเทคนิค ทีปรากฏในหนังสือ ่ ลองดูตัวอยางนะ อภิธานศัพท กฤตภาค (Clipping) คือ สิ่งพิมพที่เลือกตัด ฐานขอมูล (Database) คือ การรวบรวมขอมูลดิบ เฉพาะเรื่อง มาจากเลมเดิม เชน ที่มความสัมพันธกันจัดระบบใหเปน ี ตัดมาจากวารสาร หนังสือพิมพ สารนิเทศที่เปนหมวดหมู สามารถ เก็บไวเฉพาะที่จะใชคนควา สืบคนไดงาย คํานําทาง (Guide Word) คือ คําที่ปรากฏบริเวณ บรรณานุกรม (Bibliography) คือ รายการ สวนบนหนาของหนาหนังสือ ชวยให เอกสารอางอิงที่นําขอมูลมาจัดเขา การคนควาสะดวก ขึ้น ระบบของสถาบันใดสถาบันหนึ่ง เรียงตามลําดับอักษรแบบพจนานุกรมครับ ยากเหมือนกันนะโชค แตกรูเรื่องคะ ็ ไปกรอบตอไปดีกวาคะโชค
  • 43. ๔๓ กรอบที่ ๒๗ มาเลยกอย เชิงอรรถ (เชิง-อัด) ครับ คือ ขอความแสดงแหลงที่มาของขอมูล หรือหลักฐาน ที่ผูเขียนคัดลอกมาประกอบหนังสือ หรืออาจเปน ขอความที่อธิบายรายละเอียดของเนื้อหา บางตอนเพิ่มเติมก็ไดดูตัวอยางครับ หนังสืออางอิง๑ หมายถึง หนังสือที่ผูจัดทํามีความมุงหมายที่จะใหผูใชไดรับความ สะดวกในการคนควา … ๑ สุกานดา ดีโพธิ์กลาง และคนอื่น ๆ. ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการศึกษา คนควา. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: หมวดวิชาศึกษาทั่วไป คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. หนา ๙๕. เรื่องนี้ไมคุนก็จริง แตกงายกวา ็ กรอบที่แลวนะโชค เพราะมีใหเห็นอยูบอย ๆ กอยคนเกง ในเมื่อเห็นอยูบอย ๆ  ลองใหความหมายของคําวา “เชิงอรรถ"”สิครับทําไดไหมเอย
  • 44. ๔๔ เฉลยกรอบที่ ๒๗ สบายอยูแลวโชค ลองดูนะ เชิงอรรถ คือ ขอความแสดงแหลงที่มา ของขอมูลหรือหลักฐานที่ผูเขียนคัดลอกมา ประกอบหนังสือหรืออาจเปนขอความ ที่อธิบายรายละเอียดของเนือหาบางตอน ้ เพิ่มเติมก็ได เจง จริง ๆ กอย สุดยอดเลย ไปดูกรอบตอไปเลยนะ เปนเรื่องที่เธอคุนเคย และเธอตองใชทุกครั้งในการทํารายงานเลยละ ไปเร็ว ๆ เลยโชค เราอยากรูแลวละ 
  • 45. ๔๕ กรอบที่ ๒๘ เรื่องบรรณานุกรม (บัน-นา-นุ-กฺรม) ครับ คือ รายชื่อหนังสือและวัสดุอน ๆ ที่ผูเขียนใช ื่ คนควาประกอบการเขียนหนังสือเลมนัน ๆ ้ อาจอยูทายบทหรือทายเลมก็ได บางครั้งเรียก  “เอกสารอางอิง” “หนังสืออางอิง” “รายการอางอิง” ก็ไดครับ นึกวาเรื่องอะไรเราพอรูบางคะ คือรายการบรรณานุกรมจะตอง จัดเรียงตามแบบพจนานุกรมใชไหมคะ ใชครับ กอยคนเกง อาว ! ลองตอบคําถามนะครับ บรรณานุกรม บางครั้งเรียกวาอะไรครับ
  • 46. ๔๖ เฉลยกรอบที่ ๒๘ บรรณานุกรมบางครั้งเรียกวา “เอกสารอางอิง” “หนังสืออางอิง” “รายการอางอิง” คะ ถูกใชไหมคะ ถูกตองครับกอย เห็นไหมไมยากเลย และเธอก็คุนเคยกับเรื่องนี้ดีอยูแลว ทีนี้ไปเรื่องชื่อไมคุนกันบางดีกวาครับ ไปกันเลยคะโชค สู สู
  • 47. ๔๗ กรอบที่ ๒๙ ดรรชนี (ดัด-ชะ-นี) ครับ คือ บัญชีคําหรือวลี สําคัญ ๆ ทีปรากฏอยูในเนื้อหาของหนังสือ ่ จัดเรียงตามลําดับอักษร มีเลขหนากํากับไว ชวยใหผูอานคนหาเรื่องหรือคําที่ตองการ  ไดอยางรวดเร็ว เปนอยางไรบาง งง ละสิ ดูตัวอยางจะไดหาย งง ดรรชนี -ก- ฐ-ด กฤตภาค, ความหมาย ๑๖ ฐานขอมูล -ค- ความหมาย ๒๕ คํานําทาง ๑๗๑ ประเภท ๒๖ เอ ! เหมือนหนาอะไรนะ คุน ๆ นึกไมออกเลยโชค ดรรชนีบอกหนาคลายสารบัญครับ เพียงแตดรรชนีเรียงคําตามลําดับอักษร สวนสารบัญ เรียงตามเนื้อหาของหนังสือครับ ใชคะโชค ถูกตอง เรานึกตังนานนึกไมออก ้ พอเธอบอก เรารองออ เลย
  • 48. ๔๘ กรอบที่ ๓๐ เรามาถึงกรอบสุดทายแลวนะ เปนการทําแบบฝกหัดทบทวนครับ อาว กรอบสุดทายแลวเหรอ เร็วจัง เลย ใหทาแบบฝกหัดเหรอ ไดเลย ํ คะโชค เต็มที่ สบายมากอยูแลวคะ  กอยนี่ครับแบบฝกหัด แค ๘ ขอก็พอ เมื่อทําเสร็จแลว เราจะตรวจใหนะ ลองดูนะครับ คําชี้แจง ใหนักเรียนนําพยัญชนะดานขวามือมาเติมหนาตัวเลขดานซายมือใหสัมพันธกัน ….. ๑. บัญชีคา จัดเรียงตามตัวอักษร ํ ก. ภาพประกอบ ….. ๒. บอกแหลงที่มาของขอมูล ข. ตาราง ….. ๓. รายชื่อหนังสือหรือวัสดุที่ใชประกอบการเขียนหนังสือ ค. สวนอางอิง ….. ๔. การนําเสนอขอมูลที่ไดจากการศึกษาคนควาในรูปตาราง ง. ภาคผนวก ….. ๕. รวบรวมศัพทท่ปรากฏในหนังสือ ี จ. อภิธานศัพท ….. ๖. การนําภาพทีเ่ กี่ยวของกับเนื้อหามาอธิบาย ฉ. เชิงอรรถ เพื่อใหเขาใจงายและชัดเจนขึ้น ช. บรรณานุกรม ….. ๗. สวนที่รวบรวมเพิ่มเติมจากเนื้อหาของหนังสือ ซ. ดรรชนี ….. ๘. ขอความแสดงแหลงที่มาของขอมูล
  • 49. ๔๙ เฉลยกรอบที่ ๓๐ โชค ตรวจไดเลยคะ ๑. ซ ๒. ค ๓. ช ๔. ข ๕. จ ๖. ก ๗. ง ๘. ฉ เกงมากเลยกอย แสดงวากอยเขาใจ เรื่องสวนประกอบของหนังสือ เปนอยางดี เราถาม กอยตอบไดทกคําถามเลย ุ โชคก็พูดเกินไป ถาไมมีโชค เราก็ยงไมเขาใจเทาไหรหรอก ั เราขอขอบคุณโชคจริง ๆ นะ ถามีเรื่องที่ไมเขาใจอีก เราถามโชคไดไหมคะ เรายินดีมากกอยคนเกง เพื่อนยอมชวยเพือน ่ อยาลืมทําแบบทดสอบหลังเรียนกอนละ เราไปละนะ แลวพบกันใหมครับ สวัสดีครับ
  • 50. ๕๐ แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง สวนประกอบของหนังสือ คําชี้แจง ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก ข ค หรือ ง ที่ถูกตองทีสุดเพียงขอเดียว ่ ๑. กระดาษหุมปกนอกของหนังสือคือสวนใดของหนังสือ  ก. ปกนอก ข. ใบยึดปก ค. ใบหุมปก ง. ใบรองปก ๒. ขอใดเปนโครงสรางของหนังสือ ก. บทนํา ข. คํานํา ค. คําอุทศิ ง. สารบัญ ๓. บรรณานุกรมคืออะไร ก. บัญชีคํา ข. รายชื่อเอกสาร ค. สวนทีอธิบายคําศัพท ่ ง. แหลงที่มาของขอความ
  • 51. ๕๑ ๔. หนาประกาศคุณูปการบางสถาบันเรียกวาหนาอะไร ก. คํานํา ข. คําอุทิศ ค. ปลิขสิทธิ์ ง. กิตติกรรมประกาศ ๕. สวนใดของหนังสือที่ดึงดูดความสนใจของผูอาน ก. ปกใน ข. เนื้อเรื่อง ค. ใบหุมปก ง. บรรณานุกรม ๖. ใบหุมปกมีประโยชนอยางไร ก. ทําใหหนังสือแข็งแรงขึ้น ข. ชวยยึดตัวเลมของหนังสือ ค. ชวยดึงดูดความสนใจของผูอาน ง. ชวยยึดปกหนาและปกหลังใหติดกัน ๗. ทําไมปกนอกจึงมีประโยชน ก. เพราะทําใหหนังสือแข็งแรงขึ้น ข. เพราะชวยยึดตัวเลมของหนังสือ ค. เพราะชวยดึงดูดความสนใจของผูอาน  ง. เพราะชวยยึดปกหนาและปกหลังใหติดกัน
  • 52. ๕๒ ๘. หนาใดของหนังสือที่นามาเขียนบรรณานุกรมในการทํารายงาน ํ 8. หนาใดของหนังสือทีนามาเขียนบรรณานุกรมในการทํารายงาน ่ ํ ก. ปกใน ก. หนาปกใน ข. ชื่อเรื่อง ข. ค. าชืล่อเรืทธิ์ หน ป ิขสิ ่อง ค. ง. าปลิขสิศษ ์ หน ภาพพิเ ทธิ ๙. ขอใดคือหนาเที่ของใบยึดปก ง. หนาภาพพิ ศษ ก. ทําใหหนังสือแข็งแรงขึ้น 9. หนาประกาศคุณูปการบางสถาบันเรียกวาหนาอะไร จ. ข. ชวยยึนํา วเลมของหนังสือ หนาคํา ดตั ฉ. ค. ชวยดึงทิศความสนใจของผูอาน หนาคําอุ ดูด ง. ชวยยึดปกหนาและปกหลังใหติดกัน ช. หนาปลิขสิทธิ์ ๑๐.สวนใดเปนการอธิบายสาเหตุในการเขียนของผูแตง ง. กิตติกรรมประกาศ ก. หนาคํานํา 10.บรรณานุกรมคืคําอุทิศ ข. หนา ออะไร ก. บัญค.คหนาปลขสิทธิ์ ชี ํา ิ ข. รายชื่อหนาประกาศคุณูปการ ง. เอกสาร ค. สวนที่อธิบายคําศัพท ง. แหลงที่มาของขอความ
  • 53. ๕๓ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่องสวนประกอบของหนังสือ ขอ คําตอบ ๑ ค ๒ ก ๓ ข ๔ ง ๕ ค ๖ ค ๗ ข ๘ ก ๙ ก ๑๐ ก
  • 54. ๕๔ บรรณานุกรม กรมวิชาการ. การอนุรกษหนังสือ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพครุสภาลาดพราว, ๒๕๔๑. ั ุ ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. การใชหองสมุดและทักษะการเรียน.  พิมพครั้งที่ ๓. ปตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, ๒๕๓๘. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. การคนควาและ การเขียนรายงาน. พิมพครั้งที่ ๘. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร, ๒๕๕๐. ลมุล รัตตากร. การใชหองสมุด. พิมพครั้งที่ ๘ แกไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน, ๒๕๓๙. วัลลภ สวัสดิวัลลภ. คูมืองานเทคนิคและการฝกงานหองสมุด. กรุงเทพฯ: บรรณกิจเทรดดิ้ง, ๒๕๓๖. สุทธิลักษณ อําพันวงศ. การใชบริการหองสมุด และเขียนรายงานการคนควา. พิมพครั้งที่ ๑๓. กรุงเทพฯ: โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด, ๒๕๔๓. อาภากร ธาตุโลหะ. ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการคนควา. ชลบุรี: พี.เค.กราฟฟค พริ้นต, ๒๕๔๗. อําไพวรรณ ทัพเปนไทย. การเขียนรายงานและการใชหองสมุด. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, ๒๕๔๙. เอื้อมพร ทัศนประสิทธิผล. สารนิเทศเพือการศึกษาคนควา. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน, ่ ๒๕๔๒.