SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 12
วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 1
วงดนตรีไทย
วงดนตรีไทย ที่ใช้บรรเลงเป็นระเบียบแบบแผนมาแต่โบราณจนถึง ปัจจุบันมีหลายประเภทเช่น
วงบรรเลงพิณ วงขับไม้ วงอังกะลุง วงเครื่องกลองแขกวงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย และวงมโหรี เป็นต้น
ในที่นี้จะกล่าวถึง วงดนตรีที่ใช้บรรเลงเป็นประจาในปัจจุบันคือวงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย และวงมโหรี
วงปี่พาทย์
วงปี่พาทย์คาว่า "ปี่พาทย์" หมายถึงการประสมวงที่มีปี่ และเครื่องเคาะ (ตี) ร่วมด้วย สมัยสุโขทัย
ได้เริ่มมี "วงปี่พาทย์เครื่องห้า" ขึ้นมาก่อน โดยใช้เครื่องดนตรี 5 ชิ้น คือ ปี่ ตะโพน ฆ้อง กลอง ฉิ่ง ต่อมาได้มี
วิวัฒนาการมาเป็นลาดับจนเจริญถึงขีดสุดในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ โดยมีการเพิ่มระนาดเข้าไปในภายหลัง
วงปี่พาทย์ในปัจจุบันแบ่งออกได้6 แบบ ดังนี้
1. วงปีพาทย์ชาตรี
วงปี่พาทย์โบราณที่มีเครื่องดนตรีน้อยที่สุด เป็นวงดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดงโนราห์
และหนังตะลุง เครื่องดนตรีที่ใช้ในวงดนตรีประเภทนี้ ได้แก่ ปี่นอก ฆ้องคู่ โทน 1คู่ กลองชาตรี 1 คู่
กรับ ฉิ่ง
2. วงปี่พาทย์ไม้แข็ง
วงปี่พาทย์สามัญสาหรับประกอบการแสดงโขน ละคร ลิเกและบรรเลงในงานมงคลที่มี
พิธีกรรม พิธีการ เช่น พิธีไหว้ครูดนตรี นาฏศิลป์ งานทาบุญขึ้นบ้านใหม่ งานบวช เป็นต้น มี 3 ขนาด คือ
ปี่พาทย์เครื่องห้า ปี่พาทย์เครื่องคู่ ปี่พาทย์เครื่องใหญ่
วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 2
ปี่พาทย์ไม้แข็งเครื่องห้า
ปี่ใน 1 เลา
ระนาดเอก 1 ราง
ฆ้องวงใหญ่ 1 วง
ตะโพน 1 ใบ
กลองทัด 1 คู่
ฉิ่ง 1 คู่
ปี่พาทย์ไม้แข็งเครื่องคู่
ปี่ใน 1 เลา ปีนอก 1 เลา
ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง
ฆ้องวงใหญ่ 1 วง ฆ้องวงเล็ก 1 วง
ตะโพน 1 ใบ ฉาบ 1 คู่
กลองทัด 1 คู่ กรับ 1 คู่
ฉิ่ง 1 คู่ โหม่ง 1 ใบ
วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 3
ปี่พาทย์ไม้แข็งเครื่องใหญ่
ปี่ใน 1 เลา ปีนอก 1 เลา
ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง
ระนาดเอกเหล็ก 1 ราง ระนาดทุ้มเหล็ก 1 ราง
ฆ้องวงใหญ่ 1 วง ฆ้องวงเล็ก 1 วง
ตะโพน 1 ใบ ฉาบ 1 คู่
กลองทัด 1 คู่ กรับ 1 คู่
ฉิ่ง 1 คู่ โหม่ง 1 ใบ
วงปี่พาทย์ไม้นวม
มีเครื่องดนตรีคล้ายคลึงกับวงปี่พาทย์ไม้แข็งเพียงแต่เปลี่ยนจาก ไม้ที่ใช้ตีระนาดเอก เป็นไม้นวม
เปลี่ยนจากปี่ เป็นขลุ่ย และเพิ่ม ซออู้เข้าไปบรรเลงด้วยเท่านั้น
วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 4
วงปี่พาทย์นางหงส์
ใช้เครื่องดนตรีเหมือนกับวงปี่พาทย์ไม้แข็งทุกอย่างนอกจาก
- ใช้ปี่ชวา แทน ปี่ใน
- ใช้กลองมลายู1 คู่ แทน ตะโพนและกลองทัด
วงปี่พาทย์นางหงส์นี้ใช้บรรเลงเฉพาะในงานศพเท่านั้น
วงปี่พาทย์นางหงส์เครื่องห้า
ปี่ชวา 1 เลา
ระนาดเอก 1 ราง
ฆ้องวงใหญ่ 1 วง
กลองมาลายู 1 ใบ
โหม่ง 1 คู่
ฉิ่ง 1 คู่
วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 5
วงปี่พาทย์นางหงส์เครื่องคู่
ปี่ชวา 1 เลา ฉิ่ง 1 เลา
ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง
ฆ้องวงใหญ่ 1 วง ฆ้องวงเล็ก 1 วง
กลองมาลายู 1 ใบ ฉาบ 1 คู่
กรับ 1 คู่ โหม่ง 1 ใบ
วงปี่พาทย์นางหงส์เครื่องใหญ่
ปี่ชวา 1 เลา ฉิ่ง 1 เลา
ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง
ระนาดเอกเหล็ก 1 ราง ระนาดทุ้มเหล็ก 1 ราง
ฆ้องวงใหญ่ 1 วง ฆ้องวงเล็ก 1 วง
กลองมาลายู 1 ใบ ฉาบ 1 คู่
กรับ 1 คู่ โหม่ง 1 ใบ
วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 6
วงปี่พาทย์มอญ
ประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่ได้รับอิทธิพลมาจากมอญ ได้แก่ ปี่มอญ ฆ้องมอญ ตะโพนมอญ และ
เปิงมางคอก เครื่องดนตรีของวงปี่พาทย์มอญนี้ ปิดทองหรือทาด้วยสีทองเกือบทุกชิ้น วงปี่พาทย์มอญคล้าย
กับวงปี่พาทย์ไม้แข็ง แต่มีข้อแตกต่างกันดังนี้
ใช้ปี่มอญ แทนปี่ใน
ใช้ฆ้องมอญ แทน ฆ้องวง
ใช้ตะโพนมอญ แทน ตะโพนไทย
และ เพิ่มเปิงมางคอกเข้า
(เปิงมางคอก ใช้เปิงมาง 7 ลูกเทียบให้มีเสียงสูง - ต่า ตามลาดับผูกร้อยเข้ากับคอกเปิงมาง) วงปี่พาทย์มอญ
นิยมบรรเลงในงานศพ เพราะมีทานอง ฟังแล้วโหยหวนชวนให้เกิดความเศร้าใจ
วงปี่พาทย์มอญเครื่องห้า
ปี่มอญ 1 เลา
ระนาดเอก 1 ราง
ฆ้องมอญวงใหญ่ 1 วง
ตะโพนมอญ 1 ใบ
เปิงมางคอก 1 ชุด
ฉิ่ง,ฉาบ,กรับ 1 คู่
โหม่ง 1 คู่
วงปี่พาทย์มอญเครื่องคู่
ปี่ชวา 1 เลา
ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง
ฆ้องมอญวงใหญ่ 1 วง ฆ้องมอญวงเล็ก 1 วง
ตะโพนมอญ 1 ใบ เปิงมางคอก 1 ชุด
ฉิ่ง,ฉาบ,กรับ 1 คู่ โหม่ง 1 คู่
วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 7
วงปี่พาทย์มอญเครื่องใหญ่
ปี่ชวา 1 เลา
ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง
ระนาดเอกเหล็ก 1 ราง ระนาดทุ้มเหล็ก 1 ราง
ฆ้องมอญวงใหญ่ 1 วง ฆ้องมอญวงเล็ก 1 วง
ตะโพนมอญ 1 ใบ เปิงมางคอก 1 ชุด
กรับ 1 คู่ ฉาบ 1 คู่
โหม่ง 1 คู่
วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 8
วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์
เป็นวงปี่พาทย์ที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติติวงศ์ทรงปรับปรุงขึ้น
สาหรับ บรรเลงประกอบการแสดงละครดึกดาบรรพ์ ซึ่งเป็นละครที่เลียนแบบละครโอเปร่าของ
ชาวตะวันตกเป็นละครที่มีฉากประกอบตามเนื้อเรื่อง ตัวละครร้องเพลงเองการที่วงปี่พาทย์ชนิดนี้ ได้ชื่อว่า
ปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ เพราะเรียกตามอย่างชื่อละครดึกดาบรรพ์ที่แสดง ในโรงละครดึกดาบรรพ์ของ
เจ้าพระยา เทเวศร์วงศ์วิวัฒน์(ม.ร.ว. หลาน กุญชร)
**ปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์มีเครื่องดนตรีที่มีเสียงนุ่มนวลปราศจากเครื่องดนตรีที่มีเสียงดังแกร่งกร้าว เล็กแหลม
หรือเสียงสูงมาก ๆ
มีเครื่องดนตรี ดังนี้
ขลุ่ยเพียงออ 1 เลา ขลุ่ยอู้ 1 เลา
ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง
ฆ้องวงใหญ่ 1 วง ระนาดทุ้มเหล็ก 1 ราง
ตะโพน 1 วง กลองตะโพน 1 วง
ฆ้องหุ่ย 1 คู่ ซออู้ 1 ชุด
กลองแขก 1 คู่ ฉิ่ง 1 คู่
กรับ 1 คู่ ฉาบ 1 คู่
วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 9
วงเครื่องสาย
วงเครื่องสายประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่มีสายซึ่งมีเครื่องดีด และเครื่องสีเป็นหลักนาวงโดยซอด้วง
แบ่งออกเป็น
วงเครื่องสายวงเล็ก หรือ วงเครื่องสายเครื่องเดี่ยว
จะเข้ 1 ตัว
ซอด้วง 1 คัน
ซออู้ 1 คัน
ขลุ่ยเพียงออ 1 เลา
โทน – รามะนา
ฉิ่ง,ฉาบ,กรับ
โหม่ง
วงเครื่องสายเครื่องคู่
จะเข้ 2 ตัว
ซอด้วง 2 คัน
ซออู้ 2 คัน
ขลุ่ยเพียงออ 1 เลา
ขลุ่ยหลิบ 1 เลา
โทน – รามะนา
ฉิ่ง,ฉาบ,กรับ
โหม่ง
วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 10
วงเครื่องสายผสม
ได้แก่วงเครื่องสาย ที่นาเอาเครื่องดนตรีอื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมา โดยนาเอาเครื่องดนตรี
พื้นเมือง หรือของชาติอื่นเข้ามาร่วมบรรเลงด้วย เช่น แคน,ระนาด,ขิม,ออร์แกน,เปียโน,หีบเพลงชัก
,ไวโอลิน หากนาเครื่องดนตรีชนิดใดมาผสมก็เรียกวงเครื่องสายผสมนั้นเช่น วงเครื่องสายผสมขิม, วง
เครื่องสายผสมออร์แกน เป็นต้น
วงมโหรี
ในสมัยอยุธยาวงมโหรีเกิดขึ้นมาจากการดัดแปลงวงขับไม้ในอดีตโดยนาพิณมาร่วมบรรเลงดัวยซึ่ง
เดิมมีีเครื่องดนตรีเพียง2 ชิ้น แล้วเปลี่ยนคนขับลานามาเป็นคนร้อง และตีกรับพวง เปลี่ยนจากบัณเฑาะว์เป็น
โทน พร้อมกับเพิ่มรามะนา และขลุ่ยไปประสมร่วมปัจจุบันวงมโหรีจะมีเครื่องดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่อง
ดีด สี ตี เป่า รวมกันเป็นการนาเอาวงปี่พาทย์ไม้นวม และวงเครื่องสายมาบรรเลงร่วมกันและเพิ่ม ซอสาม
สาย ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีสาคัญในวงมโหรีเข้าด้วยกัน ส่วนเครื่องดนตรีในวงปี่พาทย์ซึ่งได้แก่ระนาดและ
ฆ้องวงได้ทาการประดิษฐ์ให้มีขนาดเล็กลงเรียกว่าระนาดมโหรี และฆ้องมโหรี หรือฆ้องกลางวงมโหรีใน
ปัจจุบันมี 3 ขนาด
วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 11
วงมโหรีเครื่องเล็ก หรือวงมโหรีเครื่องเดี่ยว
ซอสามสาย 1 คัน
ระนาดเอก 1 ราง
ฆ้องกลาง 1 วง
จะเข้ 1 ตัว
ซอด้วง 1 คัน
ซออู้ 1 คัน
ขลุ่ยเพียงออ 1 เลา
โทนมโหรี 1 ใบ
รามะนามโหรี 1 ใบ
ฉิ่ง,ฉาบ,กรับ,โหม่ง
วงมโหรีเครื่องคู่
ซอสามสาย 1 คัน ซอสามสายหลิบ 1 คัน
ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง
ฆ้องกลาง 1 วง ฆ้องวงเล็ก 1 วง
ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน
จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ 1 เลา
ขลุ่ยหลิบ 1 เลา โทนมโหรี 1 ใบ
รามะนามโหรี 1 ใบ ฉิ่ง,ฉาบ,กรับ,โหม่ง
วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 12
วงมโหรีเครื่องใหญ่
ซอสามสาย 1 คัน ซอสามสายหลิบ 1 คัน
ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง
ระนาดเอกเหล็ก 1 ราง ระนาดทุ้มเหล็ก 1 ราง
ฆ้องกลาง 1 วง ฆ้องวงเล็ก 1 วง
ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน
จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ 1 เลา
ขลุ่ยหลิบ 1 เลา โทน-รามะนามโหรี 1 ใบ
รามะนามโหรี 1 ใบ ฉิ่ง,ฉาบ,กรับ,โหม่ง
ที่มา http://www.patakorn.com/modules.php?name=News&file=article&sid=43
http://krutri.samroiwit.ac.th

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลKittayaporn Changpan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)Panomporn Chinchana
 
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษาครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษาKrungao1
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์Kruple Ratchanon
 

Was ist angesagt? (20)

ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษาครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์
 

Ähnlich wie วงดนตรีไทย ม.2 56

ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจPata_tuo
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
การแสดงพื้นบ้านภาคกลาง
การแสดงพื้นบ้านภาคกลางการแสดงพื้นบ้านภาคกลาง
การแสดงพื้นบ้านภาคกลางYhee Spuj
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลPasit Suwanichkul
 
วิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptxวิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptxssuser5334dc
 
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docxการสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docxleemeanshun minzstar
 
ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docpinglada1
 
พิณ
พิณพิณ
พิณbawtho
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56อำนาจ ศรีทิม
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานพัน พัน
 

Ähnlich wie วงดนตรีไทย ม.2 56 (20)

Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจ
 
05 mf
05 mf05 mf
05 mf
 
Profileติดดิน
ProfileติดดินProfileติดดิน
Profileติดดิน
 
Music
MusicMusic
Music
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
การแสดงพื้นบ้านภาคกลาง
การแสดงพื้นบ้านภาคกลางการแสดงพื้นบ้านภาคกลาง
การแสดงพื้นบ้านภาคกลาง
 
TeST
TeSTTeST
TeST
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
วิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptxวิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptx
 
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docxการสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
 
2553
25532553
2553
 
ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.doc
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
พิณ
พิณพิณ
พิณ
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 

Mehr von อำนาจ ศรีทิม

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบอำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินอำนาจ ศรีทิม
 

Mehr von อำนาจ ศรีทิม (20)

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
การป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุ
 
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
 
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
 
Picasa[1]
Picasa[1]Picasa[1]
Picasa[1]
 
Google docs[1]
Google docs[1]Google docs[1]
Google docs[1]
 

วงดนตรีไทย ม.2 56

  • 1. วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 1 วงดนตรีไทย วงดนตรีไทย ที่ใช้บรรเลงเป็นระเบียบแบบแผนมาแต่โบราณจนถึง ปัจจุบันมีหลายประเภทเช่น วงบรรเลงพิณ วงขับไม้ วงอังกะลุง วงเครื่องกลองแขกวงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย และวงมโหรี เป็นต้น ในที่นี้จะกล่าวถึง วงดนตรีที่ใช้บรรเลงเป็นประจาในปัจจุบันคือวงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย และวงมโหรี วงปี่พาทย์ วงปี่พาทย์คาว่า "ปี่พาทย์" หมายถึงการประสมวงที่มีปี่ และเครื่องเคาะ (ตี) ร่วมด้วย สมัยสุโขทัย ได้เริ่มมี "วงปี่พาทย์เครื่องห้า" ขึ้นมาก่อน โดยใช้เครื่องดนตรี 5 ชิ้น คือ ปี่ ตะโพน ฆ้อง กลอง ฉิ่ง ต่อมาได้มี วิวัฒนาการมาเป็นลาดับจนเจริญถึงขีดสุดในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ โดยมีการเพิ่มระนาดเข้าไปในภายหลัง วงปี่พาทย์ในปัจจุบันแบ่งออกได้6 แบบ ดังนี้ 1. วงปีพาทย์ชาตรี วงปี่พาทย์โบราณที่มีเครื่องดนตรีน้อยที่สุด เป็นวงดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดงโนราห์ และหนังตะลุง เครื่องดนตรีที่ใช้ในวงดนตรีประเภทนี้ ได้แก่ ปี่นอก ฆ้องคู่ โทน 1คู่ กลองชาตรี 1 คู่ กรับ ฉิ่ง 2. วงปี่พาทย์ไม้แข็ง วงปี่พาทย์สามัญสาหรับประกอบการแสดงโขน ละคร ลิเกและบรรเลงในงานมงคลที่มี พิธีกรรม พิธีการ เช่น พิธีไหว้ครูดนตรี นาฏศิลป์ งานทาบุญขึ้นบ้านใหม่ งานบวช เป็นต้น มี 3 ขนาด คือ ปี่พาทย์เครื่องห้า ปี่พาทย์เครื่องคู่ ปี่พาทย์เครื่องใหญ่
  • 2. วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 2 ปี่พาทย์ไม้แข็งเครื่องห้า ปี่ใน 1 เลา ระนาดเอก 1 ราง ฆ้องวงใหญ่ 1 วง ตะโพน 1 ใบ กลองทัด 1 คู่ ฉิ่ง 1 คู่ ปี่พาทย์ไม้แข็งเครื่องคู่ ปี่ใน 1 เลา ปีนอก 1 เลา ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง ฆ้องวงใหญ่ 1 วง ฆ้องวงเล็ก 1 วง ตะโพน 1 ใบ ฉาบ 1 คู่ กลองทัด 1 คู่ กรับ 1 คู่ ฉิ่ง 1 คู่ โหม่ง 1 ใบ
  • 3. วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 3 ปี่พาทย์ไม้แข็งเครื่องใหญ่ ปี่ใน 1 เลา ปีนอก 1 เลา ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง ระนาดเอกเหล็ก 1 ราง ระนาดทุ้มเหล็ก 1 ราง ฆ้องวงใหญ่ 1 วง ฆ้องวงเล็ก 1 วง ตะโพน 1 ใบ ฉาบ 1 คู่ กลองทัด 1 คู่ กรับ 1 คู่ ฉิ่ง 1 คู่ โหม่ง 1 ใบ วงปี่พาทย์ไม้นวม มีเครื่องดนตรีคล้ายคลึงกับวงปี่พาทย์ไม้แข็งเพียงแต่เปลี่ยนจาก ไม้ที่ใช้ตีระนาดเอก เป็นไม้นวม เปลี่ยนจากปี่ เป็นขลุ่ย และเพิ่ม ซออู้เข้าไปบรรเลงด้วยเท่านั้น
  • 4. วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 4 วงปี่พาทย์นางหงส์ ใช้เครื่องดนตรีเหมือนกับวงปี่พาทย์ไม้แข็งทุกอย่างนอกจาก - ใช้ปี่ชวา แทน ปี่ใน - ใช้กลองมลายู1 คู่ แทน ตะโพนและกลองทัด วงปี่พาทย์นางหงส์นี้ใช้บรรเลงเฉพาะในงานศพเท่านั้น วงปี่พาทย์นางหงส์เครื่องห้า ปี่ชวา 1 เลา ระนาดเอก 1 ราง ฆ้องวงใหญ่ 1 วง กลองมาลายู 1 ใบ โหม่ง 1 คู่ ฉิ่ง 1 คู่
  • 5. วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 5 วงปี่พาทย์นางหงส์เครื่องคู่ ปี่ชวา 1 เลา ฉิ่ง 1 เลา ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง ฆ้องวงใหญ่ 1 วง ฆ้องวงเล็ก 1 วง กลองมาลายู 1 ใบ ฉาบ 1 คู่ กรับ 1 คู่ โหม่ง 1 ใบ วงปี่พาทย์นางหงส์เครื่องใหญ่ ปี่ชวา 1 เลา ฉิ่ง 1 เลา ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง ระนาดเอกเหล็ก 1 ราง ระนาดทุ้มเหล็ก 1 ราง ฆ้องวงใหญ่ 1 วง ฆ้องวงเล็ก 1 วง กลองมาลายู 1 ใบ ฉาบ 1 คู่ กรับ 1 คู่ โหม่ง 1 ใบ
  • 6. วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 6 วงปี่พาทย์มอญ ประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่ได้รับอิทธิพลมาจากมอญ ได้แก่ ปี่มอญ ฆ้องมอญ ตะโพนมอญ และ เปิงมางคอก เครื่องดนตรีของวงปี่พาทย์มอญนี้ ปิดทองหรือทาด้วยสีทองเกือบทุกชิ้น วงปี่พาทย์มอญคล้าย กับวงปี่พาทย์ไม้แข็ง แต่มีข้อแตกต่างกันดังนี้ ใช้ปี่มอญ แทนปี่ใน ใช้ฆ้องมอญ แทน ฆ้องวง ใช้ตะโพนมอญ แทน ตะโพนไทย และ เพิ่มเปิงมางคอกเข้า (เปิงมางคอก ใช้เปิงมาง 7 ลูกเทียบให้มีเสียงสูง - ต่า ตามลาดับผูกร้อยเข้ากับคอกเปิงมาง) วงปี่พาทย์มอญ นิยมบรรเลงในงานศพ เพราะมีทานอง ฟังแล้วโหยหวนชวนให้เกิดความเศร้าใจ วงปี่พาทย์มอญเครื่องห้า ปี่มอญ 1 เลา ระนาดเอก 1 ราง ฆ้องมอญวงใหญ่ 1 วง ตะโพนมอญ 1 ใบ เปิงมางคอก 1 ชุด ฉิ่ง,ฉาบ,กรับ 1 คู่ โหม่ง 1 คู่ วงปี่พาทย์มอญเครื่องคู่ ปี่ชวา 1 เลา ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง ฆ้องมอญวงใหญ่ 1 วง ฆ้องมอญวงเล็ก 1 วง ตะโพนมอญ 1 ใบ เปิงมางคอก 1 ชุด ฉิ่ง,ฉาบ,กรับ 1 คู่ โหม่ง 1 คู่
  • 7. วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 7 วงปี่พาทย์มอญเครื่องใหญ่ ปี่ชวา 1 เลา ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง ระนาดเอกเหล็ก 1 ราง ระนาดทุ้มเหล็ก 1 ราง ฆ้องมอญวงใหญ่ 1 วง ฆ้องมอญวงเล็ก 1 วง ตะโพนมอญ 1 ใบ เปิงมางคอก 1 ชุด กรับ 1 คู่ ฉาบ 1 คู่ โหม่ง 1 คู่
  • 8. วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 8 วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ เป็นวงปี่พาทย์ที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติติวงศ์ทรงปรับปรุงขึ้น สาหรับ บรรเลงประกอบการแสดงละครดึกดาบรรพ์ ซึ่งเป็นละครที่เลียนแบบละครโอเปร่าของ ชาวตะวันตกเป็นละครที่มีฉากประกอบตามเนื้อเรื่อง ตัวละครร้องเพลงเองการที่วงปี่พาทย์ชนิดนี้ ได้ชื่อว่า ปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ เพราะเรียกตามอย่างชื่อละครดึกดาบรรพ์ที่แสดง ในโรงละครดึกดาบรรพ์ของ เจ้าพระยา เทเวศร์วงศ์วิวัฒน์(ม.ร.ว. หลาน กุญชร) **ปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์มีเครื่องดนตรีที่มีเสียงนุ่มนวลปราศจากเครื่องดนตรีที่มีเสียงดังแกร่งกร้าว เล็กแหลม หรือเสียงสูงมาก ๆ มีเครื่องดนตรี ดังนี้ ขลุ่ยเพียงออ 1 เลา ขลุ่ยอู้ 1 เลา ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง ฆ้องวงใหญ่ 1 วง ระนาดทุ้มเหล็ก 1 ราง ตะโพน 1 วง กลองตะโพน 1 วง ฆ้องหุ่ย 1 คู่ ซออู้ 1 ชุด กลองแขก 1 คู่ ฉิ่ง 1 คู่ กรับ 1 คู่ ฉาบ 1 คู่
  • 9. วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 9 วงเครื่องสาย วงเครื่องสายประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่มีสายซึ่งมีเครื่องดีด และเครื่องสีเป็นหลักนาวงโดยซอด้วง แบ่งออกเป็น วงเครื่องสายวงเล็ก หรือ วงเครื่องสายเครื่องเดี่ยว จะเข้ 1 ตัว ซอด้วง 1 คัน ซออู้ 1 คัน ขลุ่ยเพียงออ 1 เลา โทน – รามะนา ฉิ่ง,ฉาบ,กรับ โหม่ง วงเครื่องสายเครื่องคู่ จะเข้ 2 ตัว ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน ขลุ่ยเพียงออ 1 เลา ขลุ่ยหลิบ 1 เลา โทน – รามะนา ฉิ่ง,ฉาบ,กรับ โหม่ง
  • 10. วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 10 วงเครื่องสายผสม ได้แก่วงเครื่องสาย ที่นาเอาเครื่องดนตรีอื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมา โดยนาเอาเครื่องดนตรี พื้นเมือง หรือของชาติอื่นเข้ามาร่วมบรรเลงด้วย เช่น แคน,ระนาด,ขิม,ออร์แกน,เปียโน,หีบเพลงชัก ,ไวโอลิน หากนาเครื่องดนตรีชนิดใดมาผสมก็เรียกวงเครื่องสายผสมนั้นเช่น วงเครื่องสายผสมขิม, วง เครื่องสายผสมออร์แกน เป็นต้น วงมโหรี ในสมัยอยุธยาวงมโหรีเกิดขึ้นมาจากการดัดแปลงวงขับไม้ในอดีตโดยนาพิณมาร่วมบรรเลงดัวยซึ่ง เดิมมีีเครื่องดนตรีเพียง2 ชิ้น แล้วเปลี่ยนคนขับลานามาเป็นคนร้อง และตีกรับพวง เปลี่ยนจากบัณเฑาะว์เป็น โทน พร้อมกับเพิ่มรามะนา และขลุ่ยไปประสมร่วมปัจจุบันวงมโหรีจะมีเครื่องดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่อง ดีด สี ตี เป่า รวมกันเป็นการนาเอาวงปี่พาทย์ไม้นวม และวงเครื่องสายมาบรรเลงร่วมกันและเพิ่ม ซอสาม สาย ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีสาคัญในวงมโหรีเข้าด้วยกัน ส่วนเครื่องดนตรีในวงปี่พาทย์ซึ่งได้แก่ระนาดและ ฆ้องวงได้ทาการประดิษฐ์ให้มีขนาดเล็กลงเรียกว่าระนาดมโหรี และฆ้องมโหรี หรือฆ้องกลางวงมโหรีใน ปัจจุบันมี 3 ขนาด
  • 11. วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 11 วงมโหรีเครื่องเล็ก หรือวงมโหรีเครื่องเดี่ยว ซอสามสาย 1 คัน ระนาดเอก 1 ราง ฆ้องกลาง 1 วง จะเข้ 1 ตัว ซอด้วง 1 คัน ซออู้ 1 คัน ขลุ่ยเพียงออ 1 เลา โทนมโหรี 1 ใบ รามะนามโหรี 1 ใบ ฉิ่ง,ฉาบ,กรับ,โหม่ง วงมโหรีเครื่องคู่ ซอสามสาย 1 คัน ซอสามสายหลิบ 1 คัน ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง ฆ้องกลาง 1 วง ฆ้องวงเล็ก 1 วง ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ 1 เลา ขลุ่ยหลิบ 1 เลา โทนมโหรี 1 ใบ รามะนามโหรี 1 ใบ ฉิ่ง,ฉาบ,กรับ,โหม่ง
  • 12. วงดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ หน้า 12 วงมโหรีเครื่องใหญ่ ซอสามสาย 1 คัน ซอสามสายหลิบ 1 คัน ระนาดเอก 1 ราง ระนาดทุ้ม 1 ราง ระนาดเอกเหล็ก 1 ราง ระนาดทุ้มเหล็ก 1 ราง ฆ้องกลาง 1 วง ฆ้องวงเล็ก 1 วง ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คัน จะเข้ 2 ตัว ขลุ่ยเพียงออ 1 เลา ขลุ่ยหลิบ 1 เลา โทน-รามะนามโหรี 1 ใบ รามะนามโหรี 1 ใบ ฉิ่ง,ฉาบ,กรับ,โหม่ง ที่มา http://www.patakorn.com/modules.php?name=News&file=article&sid=43 http://krutri.samroiwit.ac.th