SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 3
Downloaden Sie, um offline zu lesen
รายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา ศ22101 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จานวน 1 หน่วยกิต
ศึกษาเปรียบเทียบการใช้องค์ประ กอบดนตรี บทบาท อิทธิพลของดนตรีในวัฒนธรรมของ
ประเทศต่างๆ พร้อมบรรยาย วัฒนธรรมและเหตุการณ์ ในประวัติศาสตร์กับการเปลี่ยนแปลงทาง ดนตรีใน
ประเทศไทย สามารถอ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากลที่มีเครื่องหมายแปลงเสียง สามารถระบุปัจจัย
สาคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี และร้องเพลง เล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงได้พร้อมบรรยาย
อารมณ์ของเพลงและความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง ประเมินและพัฒนาความสามารถทางดนตรี
สามารถระบุงานอาชีพต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง
สร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์และการละคร พร้อมเสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการ
แสดง โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์ การแสดง และเชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฏศิลป์ และการละครกับ
สาระการเรียนรู้อื่นๆ สามารถเปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองจากวัฒนธรรม
ต่างๆ ระบุหรือแสดงนาฏศิลป์ พื้นบ้าน ละครไทย ละครพื้นบ้าน อธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลต่อ
เนื้อหาของละครสมัยต่างๆ
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลป์ ในการแสดงออกทางดน ตรีและนาฏศิลป์ อย่าง
สร้างสรรค์การวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์
เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์ ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเข้าใจ
ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี- นาฏศิลป์ กับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม และการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจาวัน
ตัวชี้วัด
ศ 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7
ศ 2.2 ม.2/1, ม.2/2
ศ 3.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5
ศ 3.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3
รวม 17 ตัวชี้วัด
คาอธิบายรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ลาดับที่
ชื่อหน่วย
การเรียนรู้
มาตรฐาน
การเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
น้าหนัก
คะแนน
1 ดนตรีกับสังคม
และวัฒนธรรม
ศ 2.1 ม.2/1
ศ 2.2 ม.2/1
ม.2/2
ดนตรีมีบทบาทและอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
ของประเทศต่างๆ มีองค์ประกอบของดนตรี
ต่างกันไปตามวัฒนธรรม ในประเทศไทย
วิวัฒนาการและเหตุการณ์ประวัติศาสตร์
มีอิทธิพลต่อรูปแบบของดนตรี
6
2 ความรู้ทั่วไป
เกี่ยวกับดนตรี
ไทย
ศ 2.1 ม.2/2
ม.2/3
ม.2/5
การเรียนรู้เรื่องดนตรีต้องอ่าน เขียน และร้อง
ตามโน้ตไทย และโน้ตสากล ระบุปัจจัยสาคัญ
ที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี และ
สามารถบรรยายอารมณ์จากเพลง และ
ความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง
3
3 ทักษะดนตรีไทย ศ 2.1 ม.2/4
ม.2/6
การขับร้องและบรรเลงดนตรีไทยทั้งเดี่ยว และ
รวมวงให้ถูกต้อง ไพเราะนั้น ผู้ขับร้องควร
เข้าใจ หลักการเทคนิคของการขับร้องและ
หมั่นฝึกฝนปฏิบัติ และประเมินพัฒนาการ
ทางทักษะดนตรีของตนเองหลังปฏิบัติ
3
4 ความรู้ทั่วไป
เกี่ยวกับดนตรี
สากล
ศ 2.1 ม.2/2
ม.2/3
การศึกษาเกี่ยวกับโน้ตสากล จะสามารถอ่าน
เขียน ร้อง และบรรเลงตามโน้ตสากลได้อย่าง
ถูกต้อง และการศึกษาปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพล
ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี การถ่ายทอด
เรื่องราวความคิดในบทเพลงจะช่วยให้
สามารถเข้าใจอารมณ์ของแต่ละเพลงได้
อย่างลึกซึ้ง
4
5 ทักษะดนตรี
สากล
ศ 2.1 ม.2/4
ม.2/6
ทักษะดนตรีสากล ทั้งการร้องเพลง และเล่น
ดนตรีเดี่ยว และรวมวง ต้องฝึกปฏิบัติอย่าง
สม่าเสมอ และสามารถประเมินพัฒนาการ
ทักษะทางด้านดนตรีของตนเองได้
3
6 ดนตรีกับอาชีพ
ทางด้านดนตรี
ศ 2.1 ม.2/7 อาชีพทางดนตรีเป็นอาชีพที่สร้างความสุข
ให้กับสังคมดนตรี และบทบาทของดนตรีได้
เข้าไปมีบทบาทสาคัญในธุรกิจบันเทิงต่างๆ
2
ลาดับที่
ชื่อหน่วย
การเรียนรู้
มาตรฐาน
การเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
น้าหนัก
คะแนน
7 ความรู้ทั่วไป
เกี่ยวกับนาฏศิลป์
ศ 3.1 ม.2/1
ม.2/3
ม.2/5
อาชีพทางดนตรีเป็นอาชีพที่สร้างความสุข
ให้กับสังคมดนตรี และบทบาทของดนตรีได้
เข้าไปมีบทบาทสาคัญในธุรกิจบันเทิงต่างๆ
5
8 การแสดง
นาฏศิลป์ ไทย
มาตรฐาน
ศ 3.1 ม.2/2
ม.2/4
นาฏศิลป์ เป็นศิลปะการแสดงที่มีหลักการ
และวิธีการสร้างสรรค์บูรณาการกับศิลปะ
แขนงอื่น และเชื่อมโยงการเรียนรู้กับสาระ
การเรียนรู้อื่นๆ ได้
3
9 การแสดง
นาฏศิลป์
พื้นเมือง
ศ 3.2 ม.2/1
ม.2/2
การแสดงนาฏศิลป์ พื้นบ้านจะมีลักษณะเฉพาะ
ตามวัฒนธรรมแต่ละท้องถิ่น ผู้เรียนควรระบุ
และเปรียบเทียบได้
4
10 ความรู้ทั่วไป
เกี่ยวกับการ
ละคร
ศ 3.1 ม.2/2
ม.2/5
การสร้างสรรค์การแสดงต้องมีความรู้เรื่อง
องค์ประกอบนาฏศิลป์ และการละคร สามารถ
เชื่อมโยงความรู้ระหว่างนาฏศิลป์ และการ
ละครกับสาระการเรียนรู้อื่นๆ ได้
3
11 การแสดงละคร ศ 3.1 ม.2/1
ม.2/3
ศ 3.2 ม.2/3
การสร้างสรรค์การแสดงละครให้ความสาคัญ
ต่อเนื้อหาซึ่งสะท้อนให้เห็นอิทธิพลของ
วัฒนธรรมที่มีต่อเนื้อหาละคร และภาษาการ
แสดงที่ต้องวิเคราะห์การแสดงของตัวละครได้
อีกทั้งบูรณาการศิลปะอื่นๆ กับการแสดงได้
4

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
KiiKz Krittiya
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
Panomporn Chinchana
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
supap6259
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
wangasom
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
bawtho
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
nang_phy29
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
leemeanshun minzstar
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
krupornpana55
 

Was ist angesagt? (20)

ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวทีแบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวที
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 

Ähnlich wie กำหนดการสอน ดนตรี ม.2

สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
khomkrit2511
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
khomkrit2511
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
อำนาจ ศรีทิม
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
Yatphirun Phuangsuwan
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
khomkrit2511
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
khomkrit2511
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
พิพัฒน์ ตะภา
 

Ähnlich wie กำหนดการสอน ดนตรี ม.2 (20)

ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
 
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
 
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
 
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
 
ม.6 หน่วย1_ดนตรีกับวัฒนธรรม.pdf
ม.6 หน่วย1_ดนตรีกับวัฒนธรรม.pdfม.6 หน่วย1_ดนตรีกับวัฒนธรรม.pdf
ม.6 หน่วย1_ดนตรีกับวัฒนธรรม.pdf
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
 
THAI DANCE
THAI  DANCETHAI  DANCE
THAI DANCE
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
 

Mehr von อำนาจ ศรีทิม

องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
อำนาจ ศรีทิม
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
อำนาจ ศรีทิม
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
อำนาจ ศรีทิม
 

Mehr von อำนาจ ศรีทิม (20)

ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
การป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุ
 
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
 
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
 
Picasa[1]
Picasa[1]Picasa[1]
Picasa[1]
 

กำหนดการสอน ดนตรี ม.2

  • 1. รายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 รหัสวิชา ศ22101 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จานวน 1 หน่วยกิต ศึกษาเปรียบเทียบการใช้องค์ประ กอบดนตรี บทบาท อิทธิพลของดนตรีในวัฒนธรรมของ ประเทศต่างๆ พร้อมบรรยาย วัฒนธรรมและเหตุการณ์ ในประวัติศาสตร์กับการเปลี่ยนแปลงทาง ดนตรีใน ประเทศไทย สามารถอ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากลที่มีเครื่องหมายแปลงเสียง สามารถระบุปัจจัย สาคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี และร้องเพลง เล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงได้พร้อมบรรยาย อารมณ์ของเพลงและความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง ประเมินและพัฒนาความสามารถทางดนตรี สามารถระบุงานอาชีพต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง สร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์และการละคร พร้อมเสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการ แสดง โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์ การแสดง และเชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฏศิลป์ และการละครกับ สาระการเรียนรู้อื่นๆ สามารถเปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองจากวัฒนธรรม ต่างๆ ระบุหรือแสดงนาฏศิลป์ พื้นบ้าน ละครไทย ละครพื้นบ้าน อธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลต่อ เนื้อหาของละครสมัยต่างๆ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลป์ ในการแสดงออกทางดน ตรีและนาฏศิลป์ อย่าง สร้างสรรค์การวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์ เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์ ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเข้าใจ ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี- นาฏศิลป์ กับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม และการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน ตัวชี้วัด ศ 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7 ศ 2.2 ม.2/1, ม.2/2 ศ 3.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5 ศ 3.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 รวม 17 ตัวชี้วัด คาอธิบายรายวิชา
  • 2. โครงสร้างรายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ลาดับที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน 1 ดนตรีกับสังคม และวัฒนธรรม ศ 2.1 ม.2/1 ศ 2.2 ม.2/1 ม.2/2 ดนตรีมีบทบาทและอิทธิพลต่อวัฒนธรรม ของประเทศต่างๆ มีองค์ประกอบของดนตรี ต่างกันไปตามวัฒนธรรม ในประเทศไทย วิวัฒนาการและเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ มีอิทธิพลต่อรูปแบบของดนตรี 6 2 ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับดนตรี ไทย ศ 2.1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/5 การเรียนรู้เรื่องดนตรีต้องอ่าน เขียน และร้อง ตามโน้ตไทย และโน้ตสากล ระบุปัจจัยสาคัญ ที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี และ สามารถบรรยายอารมณ์จากเพลง และ ความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง 3 3 ทักษะดนตรีไทย ศ 2.1 ม.2/4 ม.2/6 การขับร้องและบรรเลงดนตรีไทยทั้งเดี่ยว และ รวมวงให้ถูกต้อง ไพเราะนั้น ผู้ขับร้องควร เข้าใจ หลักการเทคนิคของการขับร้องและ หมั่นฝึกฝนปฏิบัติ และประเมินพัฒนาการ ทางทักษะดนตรีของตนเองหลังปฏิบัติ 3 4 ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับดนตรี สากล ศ 2.1 ม.2/2 ม.2/3 การศึกษาเกี่ยวกับโน้ตสากล จะสามารถอ่าน เขียน ร้อง และบรรเลงตามโน้ตสากลได้อย่าง ถูกต้อง และการศึกษาปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพล ต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี การถ่ายทอด เรื่องราวความคิดในบทเพลงจะช่วยให้ สามารถเข้าใจอารมณ์ของแต่ละเพลงได้ อย่างลึกซึ้ง 4 5 ทักษะดนตรี สากล ศ 2.1 ม.2/4 ม.2/6 ทักษะดนตรีสากล ทั้งการร้องเพลง และเล่น ดนตรีเดี่ยว และรวมวง ต้องฝึกปฏิบัติอย่าง สม่าเสมอ และสามารถประเมินพัฒนาการ ทักษะทางด้านดนตรีของตนเองได้ 3 6 ดนตรีกับอาชีพ ทางด้านดนตรี ศ 2.1 ม.2/7 อาชีพทางดนตรีเป็นอาชีพที่สร้างความสุข ให้กับสังคมดนตรี และบทบาทของดนตรีได้ เข้าไปมีบทบาทสาคัญในธุรกิจบันเทิงต่างๆ 2
  • 3. ลาดับที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน 7 ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับนาฏศิลป์ ศ 3.1 ม.2/1 ม.2/3 ม.2/5 อาชีพทางดนตรีเป็นอาชีพที่สร้างความสุข ให้กับสังคมดนตรี และบทบาทของดนตรีได้ เข้าไปมีบทบาทสาคัญในธุรกิจบันเทิงต่างๆ 5 8 การแสดง นาฏศิลป์ ไทย มาตรฐาน ศ 3.1 ม.2/2 ม.2/4 นาฏศิลป์ เป็นศิลปะการแสดงที่มีหลักการ และวิธีการสร้างสรรค์บูรณาการกับศิลปะ แขนงอื่น และเชื่อมโยงการเรียนรู้กับสาระ การเรียนรู้อื่นๆ ได้ 3 9 การแสดง นาฏศิลป์ พื้นเมือง ศ 3.2 ม.2/1 ม.2/2 การแสดงนาฏศิลป์ พื้นบ้านจะมีลักษณะเฉพาะ ตามวัฒนธรรมแต่ละท้องถิ่น ผู้เรียนควรระบุ และเปรียบเทียบได้ 4 10 ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับการ ละคร ศ 3.1 ม.2/2 ม.2/5 การสร้างสรรค์การแสดงต้องมีความรู้เรื่อง องค์ประกอบนาฏศิลป์ และการละคร สามารถ เชื่อมโยงความรู้ระหว่างนาฏศิลป์ และการ ละครกับสาระการเรียนรู้อื่นๆ ได้ 3 11 การแสดงละคร ศ 3.1 ม.2/1 ม.2/3 ศ 3.2 ม.2/3 การสร้างสรรค์การแสดงละครให้ความสาคัญ ต่อเนื้อหาซึ่งสะท้อนให้เห็นอิทธิพลของ วัฒนธรรมที่มีต่อเนื้อหาละคร และภาษาการ แสดงที่ต้องวิเคราะห์การแสดงของตัวละครได้ อีกทั้งบูรณาการศิลปะอื่นๆ กับการแสดงได้ 4