SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 71
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 1

                                                           บทนํา

ความเปนมาของปญหา
                   สั ง คมป จ จุ บั น เป น สั ง คมแห ง การเรี ย นรู ยุค โลกไร พ รมแดน การจั ดการเรี ย นรู ยุค ใหม
จึ ง ตอ งเน นให ผู เ รี ย นเกิ ดการเรี ย นรู ได ทุ ก เวลา ทุ ก สถานที่ และยัง ตอ งจั ดการศึก ษาเพื่ อ ส ง เสริ ม
การเรี ยนรู ตลอดชีวิต อี ก ทั้ง หลั กสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้ นฐาน พุ ท ธศัก ราช 2551 มุ งพั ฒ นา
ผู เ รี ย นให มี คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค ที่ สํ า คัญ คื อ รั ก ชาติ ศาสน กษัต ริ ย ซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต มี วิ นั ย
ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย และมีจิตสาธารณะ ทั้งนี้ เพื่อใหทุก
คนสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก หลักสูตร
การศึกษาเปนตัวกําหนดเปาหมายเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มีมาตรฐานการเรียนรูสําหรับพัฒนา
เด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเปนไทยควบคูกับความ
เปนสากล สื่อการเรียนรูก็มบทบาทสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากันในการนําพาผูเรียนไปสูเปาหมายการจัด
                                       ี
การศึกษาตามที่หลักสูตรกําหนด ดวยความหลากหลายทั้งรูปแบบและประเภทของสื่อการเรียนรูที่มีอยู
ในปจจุบัน จึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งที่ครูผูสอนและผูเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาพึงตระหนักไวเสมอ
วา “ไมมีสื่อการรูใดที่จะสามารถใชไดดีที่สุดในทุกสถานการณ” ดังนั้น การพิจารณาเลือกใชสื่อจึงเปน
อีก บทบาทหนึ่งของครู ผูส อนที่ ไมอ าจละเลย ตอ งพิ จ ารณาเลื อกสื่ อที่ ดีที่สุ ด เหมาะสมที่ สุด และมี
ประโยชนมากที่สุดสําหรับผูเรียนในแตละเรื่องหรือแตละระดับชั้น (ฟาฏินา วงศเลขา, 2553)
                   สังคมสมัยใหมที่มเี ทคโนโลยีไอซีทเี ปนพลังขับดัน ทําใหเราหลีกหนีจากเทคโนโลยีเหลานี้ไป
ไมได แตการปรับตัวและทําใหสภาพสังคมดีขึ้นเปนเรื่องที่ตองคิด และชวยกันดําเนินการ การศึกษาใน
โรงเรียนจึงสมควรที่จะตองบูรณาการไอซีทีเขาสูกระบวนการเรียนรูอยางอื่น โดยเฉพาะในทุกวิชาที่มี
การเรียนการสอน เชนวิชาสังคมศึกษา การเรียนรูสภาพสังคม การเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางสังคม
สมัยใหม การเรียนรูโลกภายนอกในเรืองโลกาภิวัฒน แมแตการเรียนภาษาอังกฤษก็ใชเทคโนโลยีเปนสื่อ
                                                    ่
ไดมากมาย การปรับตัวทางดานการศึกษาในยุคนี้ตองกระทําตามอยางรวดเร็ว ครูอ าจารยที่อยูตาม
โรงเรียนตางๆ ตองเขาใจกระแสแรงผลักดัน ทางเทคโนโลยี และจะตองเขาใจการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ทางสังคม ความเปนอยู และตองชวยกันแกปญหา ประคับประคองสังคมใหไปในทางที่ถูกที่ควร (ยืน
ภูวรรณ, 2553)
                   เทคโนโลยี ส มั ยใหม มี บ ทบาทสํ าคั ญ ในการชว ยการจั ด การศึก ษาให บ รรลุ อุ ด มการณ
ทางการศึ ก ษา นโยบายการจั ด การศึ ก ษาของรั ฐ จะต อ งจั ด การศึ ก ษาตลอดชี วิ ต สํ า หรั บ ทุ ก คน
หรือที่เรียกวา การศึกษาเพื่อปวงชนทุกคน ( Education for all อันเปนการลดความเหลื่อมล้ําโอกาส
2


ทางการศึก ษาสร างความเทาเที ยมทางดานการศึก ษา ) (หลั ก สูตรแกนกลางสถานศึก ษา, 2551)
เทคโนโลยีที่ใชในปจจุบันไมวาเปน เทคโนโลยีทางดานสารสนเทศ เทคโนโลยีทางดานสื่อสารมวลชน
เทคโนโลยีทางดานโทรคมนาคม ซึ่งเปนประโยชนในดานการจัดการศึกษาทั้งสิ้น เชนการศึกษาทางไกล
ผานดาวเทียม นักเรียนชนบท ธุรกันดารสามารถเรียนรูไดเทาเทียมกับนักเรียนที่อยูในเมือง ระบบ
อินเตอรนักเรียนก็สามารถเรียนรูไดทั่วโลก หรืออาจเรียกไดวามีหองสมุดโลกอยูที่โรงเรียน หรืออยูที่
บาน โดยที่ไมตองเสียเวลา เสียงบประมาณในการทีจัดซือหาหนังสือใหมากมายเหมือนสมัยกอน ผูเรียน
                                                       ่ ้
สามารถเรี ยนรู ดวยตนเองไดอ ยางอิ ส ระ นอกจากนี้ ยัง มี สื่ อ ที่ เ ป นวิท ยุ โทรทั ศน ซี ดีร อม สื่ อ
อิเลคทรอนิกส ที่ทําใหประชาชนทุกคนไดเรียนรูไดตลอดชีวิต (สุเมธ รักตะกนิษฐ, 2552)
            เพื่อใหการจัดการศึกษาขั้นพื้ นฐานสอดคลองกั บสภาพความเปลี่ ยนแปลงของเศรษฐกิ จ
สังคมและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ จึงจําเปนตองปรับปรุงหลักสูตรเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน
ใหมีคุณภาพานความรูและทักษะที่จําเปนสําหรับใชเปนเครื่องมือในการดํารงชีวิตสังคม ที่เปลี่ยนแปลง
และแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต (หลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา, 2551)
ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอํานาจใหทองถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรนั้น
หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ ในแตละระดับ อาทิ ระดับชาติ ระดับทองถิ่น และระดับสถานศึกษา จะมี
บทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน สงเสริม การใชและพัฒนาหลักสูตรให
เปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ เพื่อใหผลผลิตของการบริหารจัดการหลักสูตรคือผูเรี ยนมีคุณภาพตาม
มาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค (หลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา,
2551)
            สํ า หรั บ การเรี ย นรู ยุ ค ใหม ใ นศตวรรษที่ 21 ทั้ ง ผู ส อนและผู เ รี ย นสามารถเรี ย นรู
ไปดวยกัน การเรียนการสอนไมไดเกิดขึ้น เฉพาะในหองเรียนแตเพียงอยางเดียว การเรียนรูเกิดขึ้นได
ตลอดเวลา ผานทางสื่อ และอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ทันสมัย ซึ่งสามารถเชื่อมโยงแหลงเรียนรูที่มีอยูทั่ว
โลกผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร ทําใหผูเรียนเขาถึงแหลงเรียนรูไดอยางไรขีดจํากัดเรื่องระยะทาง
เวลา และสถานที่ดวยตัวของผูเรียนเอง และไมจําเปนตองคอยรับจากครูแตเพียงฝายเดียว ดังนั้นการ
เรี ยนการสอนยุคใหม ทั้ง บทบาทหนาที่ และกิ จ กรรมการเรี ยนการสอนของผู เ รี ยนและผู ส อนจะ
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม จากหองเรียนสูโลกกวาง การเรียนยุคใหมจะมีรูปแบบกิจกรรมเชิงแลกเปลี่ยน
เรียนรู และการสรางองคความรูดวยตัวของผูเรียน ตลอดจนใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรูมากยิ่งขึ้น
(ไพฑูรย ศรีฟา, 2555)
         เครือขายสัง คมออนไลน (Online Social Network) ไดกลายเปนปรากฎการณของการ
เชื่อมตอการสื่อสารระหวางบุคคลในโลกของอินเตอรเน็ต โดยมุงเนนไปที่การสรางชุมชนออนไลนซึ่งทา
ใหผูคนสามารถที่จะแลกเปลี่ยน แบงปนขอมูล ตามประโยชนกิจกรรมหรือความสนใจเฉพาะเรื่องซึ่งกัน
และกัน
3


           เฟสบุค (Facebook) เครือขายสังคมออนไลนที่ไดรับความนิยมมากในปจจุบันนั้นถือกําเนิด
เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 2004 โดยมารค ซัคเคอรเบิรก (Mark Zuckerburg) ไดเปดตัวเว็บไซต เฟสบุค
(Facebook) ซึ่งเปนเว็บประเภทเครือขายสังคมออนไลน (social network) ซึ่งในตอนแรกเปดใหเขา
ใชเฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮารเวิรดเทานั้น และเว็บนี้ก็ไดรับความนิยมขึ้นมาอยางรวดเร็ว
เพราะแคเพียงเปดตัวไดสองสัปดาห นักศึกษาที่เรียนอยูที่มหาวิทยาลัยฮารเวิรด ก็สนใจสมัครเปน
สมาชิกเพื่อเขาใชงานเปนจานวนมาก จากนั้นมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในเขตบอสตัน ก็เริ่มมีความตองการ
และอยากขอเขาใชงานเฟซบุค (Facebook) ดวย มารคจึ งไดชักชวนเพื่อนชื่อดัสติน มอสโควิท ซ
(Dustin Moskowitz) และคริส ฮิวจส (Christ Hughes) เพื่อชวยกันสราง เฟสบุค (Facebook) และ
เพี ยงระยะเวลา 4 เดือ นหลั ง จากนั้น เฟสบุค (Facebook) จึ งไดเพิ่ ม รายชื่อและสมาชิก ของ
มหาวิทยาลัยอีก 30 กวาแหง จากนั้นขยายไปสูระดับมัธยมปลายทั่วประเทศสหรัฐอเมริกา กระทั่งเปด
ใหบริการกับบุคคลทั่วไปในป 2006 และในปจจุบันป 2010 เฟซบุคมีผูใชงานไมตากวา 400 ลานคนตอ
เดือน และกลายเปนเว็บไซต Social Networking ที่ใหญที่สุดในโลกที่มีผูใชเปนประจําเดือนละไมต่ํา
กวา 150 ลานคน (พรรษพล มังกรพิศม, 2553 อางถึงใน วิมลพรรณ อาภาเวท และคณะ. 2554 : 14)
           การสื่อสารในสังคมออนไลนจึงแพรหลายมากในสังคมปจจุบัน อาจเนื่องมาจากเว็บไซตเหลานี้
เปนพื้นที่ทางสังคมที่ไมมีระยะทาง ไมมีเวลา แตมีขอบเขตกวางไมมีที่สิ้นสุดและอนุญาต ใหสมาชิกใน
สังคมสามารถเปดเผยอัตลักษณของตนเองเพียงบางสวน หรือสรางอัตลักษณใหมขึ้นมาที่ไมเหมือนกับ
โลกแหงความเปนจริง ซึ่งเหมาะสมกับสังคมของคนรุนใหมที่เปนสังคมที่เรงรีบเปนปจเจกบุคคลมากขึ้น
ที่ไมตองการใหผูอื่นรูจักตัวตนทั้งหมดของตนเอง (วิมลพรรณ อาภาเวท และคณะ. 2554 : 15) ขอดี
ของเฟสบุค คือ เปนการสรางเครือขายและจุดประกายดานการศึกษาไดอยางกวางขวาง หากใชไดอยาง
ถูกวิธี ทําใหไมตกขาว คือทราบความคืบหนา เหตุการณของบุคคล และผูที่ใกลชิด ผูใชสามารถสราง
เครือขายทางสังคม แฟนคลับหรือผูที่มีเปาหมายเหมือนกัน และทํางานใหสําเร็จลุลวงไปได สามารถ
สรางมิตรแท หรือเพื่อนที่รูใจที่แทจริงได และเปนซอฟแวรที่เอื้อตอผูที่มีปญหาในการปรับตัวทางสังคม
ขาดเพื่อน อยูโดดเดี่ยว หรือผูที่ไมสามารถออกจากบานได ใหมีเครือขายทางสังคม และเติมเต็มชีวิต
ทางสังคมไดอยางดี ไมเหงาและปรับตัวไดงายขึ้น สวนขอเสีย คือ เปนการขยายเครือขายทางสังคมใน
โลกอินเตอรเนต ดังนั้นการมีเพิ่มเพื่อนเครือขายที่ไมรูจักดีพอ จะทําใหเกิดการลักลอบขโมยขอมูล หรือ
การแฝงตัวของขบวนการหลอกลวงตางๆ ไดเพื่อนทุกคนในเครือขายสามารถเขียนขอความตางๆ ลง
Wall ของ FaceBook ไดแตหากเปนขอความที่เปนความลับ การใสรายกัน หรือแฝงไวดวยการยั่วยุ
ตางๆ จะทําใหผูอานที่ไมมีวุฒิภาวะพอ หลงเชื่อ เกิดความขัดแยง และปญหาตามมาในภายหลังได เปน
ชองทางในการสรางสังคมแหงการนินทา หรือการยุงเรื่องสวนตัวของผูอื่นโดยใชเหตุ การเปดเผยขอมูล
สวนตัวทั้งหมดใหกับบุคคลภายนอกที่ไมรูจักดีพอ เชนการลงรูปภาพของครอบครัวหรือลูก อาจนํามา
เรื่องปญหาการปลอมตัว หรือการหลอกลวงอื่นๆที่คาดไมถึงได เด็กๆที่ใชเวลาในการเลน Facebook
4


มากเกินไป จะทําใหเสียการเรียน ในการสรางความผูกพันและการปรับตัวทางสังคมเปนการพบปะกัน
ในโลกของความจริง มากกวาในโลกอินเตอรเนต ดังนั้นผูอยูในโลกของไซเบอรมากเกินไปอาจทําใหมี
ปญหาทางจิต หรือ ขาดการปรับตัวทางสัง คมที่ ดี โดยเฉพาะผูที่ชอบเลน FaceBook ตั้ง แตยังเด็ก
FaceBook อาจเปนแรงขับใหมีการพบปะทางสังคมในโลกแหงความเปนจริงที่นอยลงได เนื่องจาก
ทราบความเคลื่ อ นไหวของผู ที่ อ ยู ในเครื อ ข ายอย างตลอดเวลา และนโยบายของบางโรงเรี ย น
บางมหาวิท ยาลั ย บางครอบครัวหรือในบางประเทศมีปญ หามากมายที่เ กิดจาก FaceBook ทํ าให
FaceBook ไมไดรับการอนุญาตใหมีในหลายพื้นที่ (สุพาพร เทพยสุวรรณ. 2555 : ออนไลน)
            จากเหตุผลที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook)
ของผูใชที่มีชวงอายุและเพศตางกันเพื่อใหสามารถนําขอมูลไปปรับปรุงวางแผนสงเสริมสรางภูมิคุมกัน
และความเขมแข็งใหกับเยาวชนของประเทศ ใหเปนผูที่สามารถดําเนินชีวิตไดอยางปลอดภัย มั่นคง
รวมถึงสามารถใชประโยชนจากเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองใหกลายเปนบุคคลากรที่มี
คุณภาพตอไปในอนาคต

จุดมุงหมายของการวิจัย
          1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชงานที่มีชวงอายุตางกัน
          2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชงานที่มีเพศตางกัน

ความสําคัญของการวิจัย
         1) ทราบถึงพฤติกรรมของผูใชเฟสบุคที่มีชวงอายุและเพศแตกตางกัน

ขอบเขตของการวิจัย
             1. ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง
                      1.1 ประชากรที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ได แ ก ผู ใ ช เ ฟสบุ ค (Facebook)
ที่มีสถานนะเปนเพื่อนของผูวิจัย ที่ใชงานในชวงระหวางวันที่ 1-30 กันยายน พ.ศ.2555 จํานวน 254
คน
                      1.2 กลุ ม ตั ว อย า ง ได แ ก ผู ใ ช เ ฟสบุ ค (Facebook) ที่ มี ส ถานะเป น เพื่ อ น
ของผูวิจัย จํานวน 155 คน โดยการสุมอยางงาย
             2. ขอบเขตดานเนื้อหา
                      มุงศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของเพื่อนผูวิจัย โดยแบงเปนดาน
ตางๆ ดังนี้
                      2.1 ตัวแปรตน ไดแก ไดแก เพศ และอายุของผูใชเฟสบุค (Facebook)
5


                     2.2 ตัว แปรตาม ไดแ ก พฤติ ก รรมการใชเ ฟสบุ ค (Facebook) ของผู ใชง าน
เฟสบุค ในเรื่องของการแสดงเฉพาะเพียงหนึ่งพฤติกรรม การแสดงมากกวาหนึ่งพฤติกรรม และการ
แสดงที่เฟสบุคบังคับเพียงหนึ่งพฤติกรรม
          3. ขอบเขตดานระยะเวลา
                     ศึ ก ษาพฤติ ก รรมการใช เ ฟสบุ ค (Facebook) ของเพื่ อ นผู วิ จั ย ที่ ใ ช ง าน
ในระหวางวันที่ 1 กันยายน ถึง 30 กันยายน พ.ศ.2555

นิยามศัพทเฉพาะ
          ผูใช หมายถึง ผูใชงานเฟสบุค (Facebook) ที่มีสถานะเปนเพื่อนของผูวิจัย และใชงานเฟส
บุคในชวงระหวางวันที่ 1-30 กันยายน
          พฤติ ก รรมการใช เ ฟสบุ ค (Facebook) หมายถึ ง การที่ ผู ใ ช แสดงออกในด า นต า ง ๆ
ผานเว็บไซตเฟสบุค เชน การแสดงขอความ การแสดงรูปภาพ การแสดงวิดีโอ การแสดงคําถาม การ
แสดงไฟล
          การแสดง หมายถึง การโพสต (post) หรือ การแชร (share) ขอมูลตาง ๆ เชน ขอความ
รูปภาพ วิดีโอ คําถาม ไฟล เปนตน โดยไมรวมถึงการแท็ก (tag) เนื่องจากผูอื่นสามารถกระทําแทนผูใช
ได

สมมุติฐานของการวิจัย
         1. พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ไมขึ้นอยูกับเพศ
                  H0 : = 0
         2. พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ไมขึ้นอยูกับชวงอายุ
                  H0 : = 0
6


                                              บทที่ 2

                                เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

          ในการศึกษาสภาพ ปญหา ความตองการ และขอเสนอแนะการใชเครือขายสังคมออนไลน
(Social Network) ในการเรียนของนิสิต นักศึกษา กรณีศึกษา นิสิตมหาวิท ยาลัยนเรศวร ผู วิจัยได
ศึกษา เรียบเรียงจากเอกสาร ตําราและงานวิจัยที่เกี่ยวของ โดยนําเสนอตามลําดับดังนี้
          ตอนที่ 1 ความหมายและความสําคัญของเครือขายสังคมออนไลน
          ตอนที่ 2 ประเภทของเครือขายสังคมออนไลน
          ตอนที่ 3 ทฤษฎีพัฒนาการดานพัฒนาการทางจิตสังคม
          ตอนที่ 4 การใชอินเทอรเน็ตเพื่อสนองความตองการ
          ตอนที่ 5 การแบงเพศ
          ตอนที่ 6 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ตอนที่ 1 ความหมายและความสําคัญของเครือขายสังคมออนไลน
             เครือขายสังคมออนไลน (อิทธิพล ปรีติประสงค, 2552) เปนปรากฎการณของการเชื่อมตอ
ระหวางบุคคลในโลกอินเทอรเน็ต และ ยังหมายรวมถึง การเชื่อมตอระหวางเครือขายกับเครือขาย
สังคมออนไลน เขาดวยกัน
                       Social Network (จุไรรัตน ทองคําชื่นวิวัฒน, 2552) ยังไมมีคําไทยเปนทางการ มี
การใชคําวา “เครือขายสังคม” บาง “เครือขายมิตรภาพบาง” “กลุมสังคมออนไลน” Social Network
นี้ถือวาเปนเทคโนโลยีอีกอันนึง ที่สามารถชวยใหเราไดมามีปฏิสัมพันธกัน ซึ่งวัตถุประสงคที่แทจริงของ
คําวา Social Network นี้จริงๆ แลวก็คือ Participation หรือ การมีสวนรวมดวยกันไดทุก ๆ คน (ซึ่ง
หวังวาผูที่ติดตอกันเหลานั้นจะมีแตความปรารถนาดี สิ่งที่ดีๆ มอบใหแกกันและกัน) ถาพูดถึง Social
Network แลว คนที่อยูในโลกออนไลนคงจะรูจักกันเปนอยางดี และก็คงมีอีกหลายคนที่ไดเขาไปทอง
อยูในโลกของ Social Network มาแลว ถึงแมวา Social Network จะไมใชสิ่งใหมในโลกออนไลน แต
ก็ยังเปนที่นิยมอยางมากในกลุมคนที่ใชอินเตอรเน็ต ทําใหเครือขายขยายวงกวางออกไปเรื่อยๆ และจะ
ยังคงแรงตอไปอีกในอนาคต จากผลการสํารวจจากประเทศสหรัฐอเมริกายืนยันการใชบริการ Social
Network ที่เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องทุกป และมาแรงเปนอันดับตนๆ ของโลกออนไลน สวนเว็บไซตที่มี
จํานวนผูเขาชมสูงสุดทั่วโลก ก็เห็นจะเปน My space, Facebook และ Orkut สําหรับเว็บไซต ที่มี
เปอรเซ็นตเติบโตเพิ่มขึ้นเปนเทาตัวก็เห็นจะเปน Facebook แตสําหรับประเทศไทยที่ฮอตฮิตมากๆ ก็
คงจะหนีไมพน Hi5
7


            เครือขายสังคมออนไลน (Social Network) (อติเทพ บุตราช, 2553) หมายถึง กลุมคนที่
รวมกันเปนสังคมมีการทํากิจกรรมรวมกันบนอินเทอรเน็ต ในรูปแบบของเว็บไซตมีการแผขยายออกไป
เรื่ อ ย ๆ เป น รู ป แบบของการสื่ อ สารข อ มู ล ผ า นอิ น เทอร เ น็ ต ทํ า ให เ ครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร ห รื อ
อิ น เทอร เ น็ ต เป น สั ง คมขึ้ น มา การสร า งชุ ม ชนใหม บ นอิ น เทอร เ น็ ต เป น เครื่ อ งมื อ สํ า คั ญ ในการ
ติดตอสื่อสาร สามารถทํากิจกรรมตางๆ ทั้งเพื่อการศึกษา ธุรกิจ และความบันเทิง
                          จากความหมายของเครื อ ขายสั งคมออนไลนขางตน สรุ ป ไดวา เครือ ขายสั ง คม
ออนไลน คือ การที่กลุมคนไดมีการทํากิจกรรมรวมกันบนระบบอินเทอรเน็ต ซึ่งเครือขายสังคมออนไลน
นั้น สามารถใชไดอยางหลากหลายวัตถุประสงค อาทิ ใชเพื่อการติดตอสื่อสาร ใชในการเรียนการสอน
ใชในกิจกรรมธุรกิจ อยางการประชาสัมพันธสินคาหรือบริการ

ตอนที่ 2 ประเภทของเครือขายสังคมออนไลน
                         ประเภทของเครือขายสังคมออนไลน (เศรษฐพงค มะลิสุวรรณ, 2551) มีจํานวน
มากมาย จึงเปนการยากที่จะจําแนก ประเภทของเครือขายสังคมออนไลน ได อยางเจาะจงชัดเจน
หากจะลองจัดเขาหมวดหมูตามที่เราพบเห็นทั่วไป อาจแบงได 6 ประเภท ดังนี้
             1. ประเภทแหลงขอมูลหรือความรู (data/knowledge) ที่เห็นไดชัดเจนเชน wikipedia,
google earth, answers, digg, bittorrent ฯลฯ เปนตน
             2. ประเภทเกมสอ อนไลน (online games) ที่นิยมมาก เชน SecondLife, Audition,
Ragnarok, Pangya ฯลฯ เปนตน
             3. ประเภทสรางเครือขายทางสังคม (community) เพื่อเปนการหาเพื่อนใหม สรางและ
แลกเปลี่ยนประสบการณรวมกัน เชน Hi5, Facebook, MySpace, MyFriend ฯลฯ เปนตน
             4. ประเภทฝากภาพ (photo management) สามารถฝากภาพออนไลนไดโดยไมเปลือง
ฮาร ด ดิ ส ส วนตั ว อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถแบ ง ป นภาพหรื อ ซื้ อ ขายภาพกั น ไดอ ย างง า ยดาย เชน Flickr,
Photoshop Express, Photobucket ฯลฯ เปนตน
             5. ประเภทสื่อ (media) ไมวาจะเปนฝาก โพสทหรือแบงปนภาพ คลิปดโอ ภาพยนตรเพลง
                                                                                          วี
             ฯลฯ เชน YouTube, imeem, Bebo, Yahoo Video, Ustream.tv ฯลฯ เปนตน
             6. ประเภทซื้อ -ขาย (business/commerce) เปนการทําธุร กิจทางออนไลนที่ไดรั บความ
นิยมมาก เชน Amazon, eBay, Tarad, Pramool ฯลฯ แตเว็บไซตประเภทนี้ยังไมถือวาเปน Social
Network ที่แทจริง เนื่องจากมิไดเปดโอกาสใหผูใชบริการแชรขอมูลกันไดหลากหลาย นอกจากการ
สั่งซื้อและคอมเมนท สินคาเปนสวนใหญ
             การแบงหมวดหมูของเครือขายสังคมออนไลน (อิสริยะ ไพรีพายฤทธิ์ อางอิงจาก (อิทธิพล
ปรีติประสงค, 2552) ไดจําแนกหมวดหมู หรื อ ประเภทของเครื อขายสัง คมออนไลนไวใน บทบาท
8


ของ Social Network ในอินเทอรเน็ตยุค 2.0 โดยพิจารณาจากเปาหมายของการเขาเปนสมาชิกใน
เครือขายสังคมออนไลน ไดเปน ๕ กลุมใหญๆ กลาวคือ
          (1) Identity Network คือ การแสดงตัวตนและภาพลักษณของตน เชน www.hi5.com,
www.facebook.com
          (2) Interested        Network เ ป น ก า ร ร ว ม ตั ว กั น โ ด ย อ า ศั ย “ค ว า ม ส น ใ จ ”
ตรงกัน เชน Digg.com, del.icio.us
          (3)Collaboration Network เป น กลุ ม เครื อ ข า ยที่ ร ว มกั น “ทํ า งาน” ยกตั ว อย า ง
เชน www.wikipedia.org
          (4) Gaming/Virtual Reality หรือ โลกเสมือน ในบางครั้งเราเจอคําวา second life ซึ่งเปน
ลักษณะของเครือขายสังคมออนไลนที่มีลกษณะเปนการสวมบทบาทของผูเลนในชีวิตจริงกับตัวละครใน
                                      ั
เกม และ
          (5) Professional Network ใชงานในอาชีพ

           ตอนที่ 3 ทฤษฎีพัฒนาการดานพัฒนาการทางจิตสังคม (ความแตกตางทางดานชวงวัย)
           จิตวิทยาพัฒนาการเด็กและวัยรุน
           พั ฒ นาการทางจิ ต สั ง คม 8 ขั้ น ตามทฤษฎี ข องแอริ ค สั น (The Eight Stages of
Psychosocial Development in Erikson)
           สิ่งแวดลอมทั้งทางกายภาพ (Physical) ทางสังคม (Social) ทางวัฒนธรรม (Cultural) และ
ทางความคิด (Ideational) เขามามีอิทธิพลกับพัฒนาการของชีวิตมนุษยตั้งแตแรกเกิดจนชรา ซึ่งสงผล
ตอความคิดริเริ่ม ความสามารถในการปรับตัว บุคลิกภาพและพฤติกรรมตางๆ แอริค ฮอมเบอรเกอร
แอริคสัน (Erik Homburger Erikson) เปนนักจิตวิทยาคลินิก เกิดที่ประเทศเยอรมันพบวาพัฒนาการ
ทางจิตวิทยาของมนุษยมีการเปลี่ยนแปลงเหมือนกับโครงสรางทางกายภาพรางกาย มุมมองของแอริค
สันจึงเนนพัฒนาการทั้งทางดานรางกาย จิตใจ และสังคมรวมกัน นั่นคือ การเจริญเติบโตทางรางกาย
และสิ่งแวดลอมจะมีความสัมพันธกับพัฒนาการทางจิตใจ และบุคลิกภาพ ทําใหบุคคลสามารถปรับตัว
อยูรวมกับผูอื่นในสังคมได ทฤษฎีของแอริคสันนี้มีพื้นฐานจากทฤษฎีจิตวิเคราะหของฟรอยด จุดเดน
ของแอริคสันคือมุมมองพัฒนาการมนุษยตลอดชวงอายุขัย ซึ่งแอริคสันมองพัฒนาการของบุคคลคนหนึ่ง
ในลั ก ษณะองคร วม (Wholeness/Holistic) ตั้ง แตแรกเกิ ดจนกระทั่ ง สิ้ นอายุขัย ซึ่ ง โมเดลนี้แบ ง
พัฒนาการของบุคคลไว 8 ขั้น
           พัฒนาการทางจิตสังคม (Psychosocial Development Model) 8 ขั้นที่จะกลาวตอไปนี้
แบ ง ชวงชีวิตของมนุษย จากแรกเกิดถึง ประมาณอายุ 80 ป เ ป น 8 ชวง ตามการเปลี่ ยนแปลงทาง
รางกาย และสมอง จากวัยเด็กจนถึงวัยรุนจะมีการเจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและชาลง
9


ในชวงวัยผูใหญตอนตน มีความคงที่ในวัยผูใหญ และหลังจากนั้นในวัยผูใหญตอนกลางจนถึงวัยชรา
พัฒนาการในดานตางๆ เริ่มเสื่อมถอยลง แตคงไวซึ่งประสบการณชีวิตที่ผานมา การเปลี่ยนแปลงตาม
ขั้นตางๆ นี้เปนเสมือนบันไดที่แตละบุคคลจะกาวขึ้นไป การประสบกับปญหาอุปสรรคเปนเรื่องปกติ
และอาจเกิดขึ้นไดในทุกชวงพัฒนาการ ซึ่งจะเปนเหมือนการเรียนรู การรูจักแกไขปญหา และเผชิญกับ
วิกฤตในชวงตางๆ การประสบกับความลมเหลวในขั้นหนึ่งๆ จะมีผลกระทําตอพัฒนาการของบุคคลคน
นั้นในขั้นตอๆ ไปดวย เชน การไม ป ระสบผลสํ าเร็จ ในพัฒ นาการขั้นตนๆ จะส งผลตอพฤติกรรมที่
เบี่ยงเบนจากกลุมปกติ ตัวอยางพฤติกรรม เชน การเรียน และการเขาสังคมของบุคคลในชวงวัยเด็ก
ตอนตนประสบปญหา สงผลใหเกิดปญหาพฤติกรรมตางๆ ในชวงวัยรุน และเกิดปญหาอุปสรรคการใช
ชีวิตในชวงวัยผูใหญตามมาเชนกัน
            รูปแบบพัฒนาการทางจิตสังคมของแอริคสันมี 8 ขั้น โดยขั้น 1 ถึงขั้น 4 เปนชวงของการสั่ง
สมประสบการณ และการเรียนรูในการแกปญหา ในขั้น 5 เปนเรื่องการปรับตัวเพื่อแสวงหาอัตลักษณ
และขั้น 6 ถึงขั้น 8 เปนการนําเอาอัตลักษณไปใช โดยมีรายละเอียดตามขั้นตางๆ ดังตอไปนี้
            ขั้นที่ 1 ความรูสึกไวเนื้อเชื่อใจ กับ ความไมไววางใจ (Trust vs. Mistrust)
            พัฒนาการขั้นแรกจะเกิดขึ้นในชวงตั้งแตแรกเกิดจนถึงขวบปแรก ในชวงนี้ทารกจะมีความสุข
ความพึงพอใจบริเวณปาก และกิจกรรมเกี่ยวกับการกลืนกิน ซึ่งเกิดขึ้นในชวงปแรกของชีวิต ทารกที่อยู
ในครรภมารดาจะไดรับการตอบสนองที่เพียบพรอม อยูในอุณหภูมิที่เหมาะสม รับอาหารผานทางสาย
รก อยูในภาวะสงบเงี ยบ ทําให ทารกมีความพึงพอใจรู สึกมั่นคงปลอดภัย ตอ มาเมื่อทารกคลอดจาก
ครรภมารดาจะตองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอม เชน การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ การกลืน
กินทางปาก การขับถายทางทวารหนัก การไดยินเสียง และอื่นๆ
            ในขั้นนี้ห ากมารดาให ความรั กและการดูแลแก ทารกอยางสม่ํ าเสมอ ตอบสนองตอความ
ตองการขั้นพื้นฐานทางกายและทางจิตใจอยางตอเนื่อง (เชน เมื่อทารกหิวก็ไดกิน ไดรับการสัมผัสลูบ
คลําดวยความรัก ทนุถนอม ไดนอนหลับอยางสงบพอเพียง เมื่อขับถายก็ไดรับการดูแลความสะอาด) จะ
ทํ าให ท ารกพั ฒ นาความรู สึ ก ไวเ นื้อ เชื่อ ใจขั้นพื้ น ฐาน (Basic Trust) ตอ บุ คคลและสิ่ ง แวดล อ ม
ความสําเร็จของพัฒนาการในขั้นแรกสังเกตุไดจากการที่ทารกไมมีความวิตกกังวลมากจนเกินไป หรือไม
มีอ ารมณรุ นแรง เชน การแสดง พฤติก รรมร อ งไห โ ยเยโดยไม ส มเหตุส มผล หรื อ แสดงความโมโห
หงุดหงิด เพื่อเรี ยกรองความสนใจ เมื่อมารดาหรือผูดูแลคลาดสายตาไปการที่ทารกสามารถอยูตาม
ลําพั ง ในระยะเวลาสั้ นๆ เมื่ อ เวลา ที่ ม ารดาหรื อ ผู ดูแลผละจากทารกไป เพื่ อ ทํ าธุร ะอื่นๆ ลั ก ษณะ
ดังกลาวแสดงวา ทารกเริ่มมีความรูสึกมั่นคงและไววางใจ มีความมั่นใจวามารดาหรือผูดูแลจะกลับมา
ดูแลเชนเดิม ถือเปนจุดพื้นฐานเริ่มตนของการพัฒนาอัตลักษณ (Ego Identity) ของบุคคลซึ่งจะเกิดขึ้น
ชัดเจนในชวงวัยรุน
10


           ทารกนอยที่ไดรับการสงเสริมพัฒนาการที่ดี จะสรางความไวเนื้อเชื่อใจตอบุคคลรอบขางและ
สภาพแวดลอม มีความเชื่อมั่นและความหวังในการเริ่มตนพัฒนาการแหงชีวิตในอนาคต เมื่อชีวิตพวก
เขาจะตองเผชิญกับปญหา หรือความกดดัน เขาก็จะมีความเขมแข็งในการฝาฟนปญหา ซึ่งเปนผลจาก
การไดรับประสบการณทางบวกในชวงตนของชีวิตนั่นเอง
           สําหรับทารกที่มีความรูสึกไมไววางใจเกิดขึ้นถือเปนความลมเหลวของพัฒนาการขั้นแรกนี้ใน
ตัวบุคคลคนนั้น ความไมไววางใจอาจมาจากมารดาหรือผูดูแลมีปฏิกิริยาตอบสนองไมเหมาะสมตอความ
                                                             
ตองการของทารก การหางเหิน หรือปฏิเสธบุตร รวมทั้งมารดาที่มีลักษณะพึ่งพาไมได หรือมารดาที่
เลี้ยงดูทารกดวยความหงุดหงิด โกรธ ทารกจะแสดงพฤติกรรมเรียกรองมากเกินควร อยางไมมีเหตุผล
หรืออาจแสดงพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมในลักษณะอื่นๆ และพัฒนาความรูสึกไมไววางใจตอบุคคลและ
สิ่งแวดลอม ไมเขาใจสิ่งแวดลอม ไมไววางใจผูอื่นในพัฒนาการขั้นตอๆไป
           พัฒนาการทางดานรางกาย
           - มีการเจริญเติบโตทางรางกายอยางรวดเร็ว
           - มีการเคลื่อนไหวระยะแรก เปนไปโดยปฏิกิริยาสะทอน (Reflexive - ปฏิกิริยาตอบสนองสิ่ง
เราแบบอัตโนมัติ เชน การกระพริบตา การกระตุก น้ําลายไหล เปนตน) แลวคอย ๆ หายไป ตอมาจะ
พัฒนาเปนการเคลื่อนไหวของรางกาย รวมทั้งการเคลื่อนไหวที่มีจุดมุงหมายมากขึ้น ทารกจะสามารถ
ควบคุมการเคลื่อนไหวสวนตางๆของรางกายไดมากขึ้น จากการที่ทารกสามารถชันคอ คว่ําตัว ลุกขึ้นนั่ง
คลานเขา ยึดเกาะดึงตัวเพื่อยืนขึ้นเอง การเกาะเดินจนในที่สุดสามารถลุกขึ้นยืนไดเอง
           พัฒนาการทางดานภาษา
           - ทารกแรกเกิด แสดงความตองการใหผูเลี้ยงดูเขาใจ ดวยการรองไห
           - 2 เดือน ฟงเสียงคุย หันหาเสียง เปลงเสียงออแอ
           - 4 เดือน เปลงเสียงไดยาวขึ้น สงเสียงออ แอโ ตตอบ เมื่อ รูสึก พอใจจะสง เสียงเอิ๊ กอากใน
ลําคอ
           - 6 เดือน หันหาเสียงเรียก สงเสียงหลายเสียง
           - 9 เดือน ฟงรูภาษา เขาใจสีหนา ทาทาง เลียนเสียงพยัญชนะแตไมมีความหมาย
           - 12 เดือ น เรี ยกพ อ แม / พู ดคํ าโดดที่ มี ความหมาย 1 คํา ทํ าท าตามคํ าบอกที่ มี ท า ทาง
ประกอบได
           พัฒนาการทางดานความคิด
           สําหรั บพัฒนาการทางดานความคิดนั้นจะขอกลาวถึงแนวคิดของเพี ยเจท (Piaget) ซึ่งได
ศึกษาเกี่ยวกับพั ฒนาการทางความคิดของมนุษย โดยพัฒนาการทางความคิดในระยะทารกนั้นเป น
ระยะของ Sensori-motor Operation (แรกเกิด – 2 ป) และแบงลําดับขั้นพัฒนาการเปน 6 ระยะ
11


เมื่อเปรียบเทียบพัฒนาการในชวงแรกตามทฤษฎีของแอริคสัน ซึ่งอยูในชวงอายุขวบปแรก จะเทียบกับ
แนวคิดของเพียเจทได 4 ระยะคือ
              ระยะ 0 – 2 เดือน (Reflexive) พฤติกรรมตางๆ เปนปฏิกิริยาสะทอน (ปฏิกิริยาตอบสนอง
สิ่งเราแบบอัตโนมัติ เชน การกระพริบตา การกระตุก น้ําลายไหล เปนตน)
              ระยะ 1 – 4 เดือน (Primary circular reaction) ประสบการณที่เกิดขึ้นจะเปนสิ่งกระตุน
การเคลื่อนไหวของเด็ก เด็กจะทําซ้ํา ๆ แตยังไมมีจุดมุงหมาย สนใจการเคลื่อนไหว ไมใชสนใจผลของ
การเคลื่อนไหว
              ระยะ 4 – 9 เดือน (Secondary circular reaction) เริ่มมีความตั้งใจทําพฤติกรรมการ
เคลื่อนไหว และสนใจผลของพฤติกรรมนั้น ๆ
              ระยะ 9 – 12 เดือน (Coordination of secondary reaction) เริ่มแกปญหาอยางงายๆได
ใชพฤติกรรมในอดีตที่ผานมาชวยแกปญหา สามารถแยกสิ่งที่ตองการออกจากสิ่งที่ไมตองการ สามารถ
เลียนแบบการเคลื่อนไหว
              ในขั้นนี้ทารกจะมีการเจริญเติบโตทางรางกายอยางรวดเร็ว ในขณะที่พัฒนาการทางความคิด
เปนแบบงายๆ ไมซับซอน และมักเปนปฎิกิริยาสะทอน
              ขั้นที่ 2 ความเปนตัวของตัวเอง กับ ความละอายและสงสัย (Autonomy vs. Shame and
Doubt)
              ในพัฒนาการขั้นที่ 2 เกิดขึ้นระหวางขวบปที่ 2 – 3 ของชีวิต พั ฒนาการในขั้นนี้เด็กจะมี
พัฒนาการทางรางกาย โดยเฉพาะกล ามเนื้อ มากขึ้น และเริ่ มที่ จะเรี ยนรู การควบคุมส วนตางๆของ
รางกาย เคลื่อนไหวรางกายอยางเปนอิสระมากขึ้น สามารถที่จะเรียนรูอยางรวดเร็ว และเริ่มสํารวจ
สิ่งแวดลอมรอบขาง เด็กในวัยนี้จะเริ่มฝกหัดการขับถาย การควบคุมกลามเนื้อหูรูด
              ความรูสึกเปนตัวของตัวเอง (Sense of Autonomy) และการควบคุมตนเอง (Self Control)
จะเกิดขึ้นไดถาผูปกครองใหการอบรมเลี้ยงดูอยางเหมาะสม มีความมั่นคงอดทน ใหโอกาสเด็กไดทําสิ่ง
ตางๆตามความปรารถนาของตนเองโดยอยูในการดูแลของผูปกครอง (เชน การเคลื่อนไหว การเดิน การ
                                                             
ปนปายการหยิบจับสิ่งของอยางเปนอิสระ โดยที่ ผูปกครองไมแสดงทาทีตื่นตระหนก หรือกังวลมาก
เกินไป) จะทําใหเด็กรูสึกภาคภูมิใจในความสําเร็จของตนเอง มีความรูสึกที่ดีตอผูอื่น ผลดีอีกประการคือ
เด็กจะพัฒนาความรูสึกมุงมั่น (Will) ซึ่งหมายถึง ความมุงมั่นตั้งใจแนวแนในการเลือก และในการยับยั้ง
ตนเอง เด็กจะกลาที่จะแสดงความคิดเห็นและกลาที่จะตัดสินมากขึ้น รวมทั้งมีความมุงมั่นและตั้งใจใน
การทํากิจกรรมตางๆ ในทางตรงขามหากผูปกครองปลอยปละละเลย ดุวา หรือเขมงวดกับเด็กมาก
เกินไป เด็กจะรูสึกละอาย สงสัยในความสามารถของตนเอง ไมมั่นใจในการแสดงความคิดเห็น ไมมั่นใจ
วาจะควบคุมชีวิตตนเองได ผลกระทบหนึ่งที่อาจเกิดขึ้นคือทําใหเด็กมีบุคลิกภาพไมเหมาะสม ขาดความ
เชื่อ มั่ น วิตกกั ง วล หวาดระแวงสงสั ย หรื อมี พ ฤติก รรมย้ําทํ า นอกจากนี้ บุ คคลที่ ไดรั บการพั ฒ นา
12


ความรูสึกเปนตัวของตัวเอง และการควบคุมชีวิตตนเองอยางเหมาะสม เมื่อโตขึ้นเขาจะเปนผูใหญที่จะ
สนับสนุน และเชื่อมั่นสถาบันทางกฎหมายของสังคม มีความเคารพและอยูภายใตกฎหมายของสังคม
            พัฒนาการทางดานรางกายและภาษา
            - เด็กเปนอิสระทางกาย (Physical Independence) มากขึ้น สามารถเดินวิ่งไดเอง สํารวจ
สิ่งแวดลอมได
            - เด็กเริ่มพูดเปนคํา ๆ ไดมากขึ้น เขาใจคําสั่งและภาษาทาทางมากขึ้น เมื่ออายุ 2 ป พูด 2 –
3 คําตอกันไดอยางมีความหมาย
            พัฒนาการทางดานความคิด
            พัฒนาการทางความคิด ระยะSensori-motor ของ Piaget ระยะ 12 – 18 เดือน (Tertiary
Circular Reaction) เริ่มมีพฤติกรรมลองผิดลองถูก (Trail & Error) สนใจผลที่เกิดขึ้น เปนตัวของ
ตัวเอง เริ่มมีความเขาใจวัตถุภายนอก รับรูการคงอยูของวัตถุแมเมื่อวัตถุนั้นถูกปดบัง หรือซอนเลนลับ
ตาไป หรื อถูก เคลื่อ นยายไปที่อื่น (Object Permanence) ระยะ 18 – 24 เดือน เริ่ม มีความคิด
จินตนาการ มีความสามารถแกปญหาดวยวิธีใหมๆ แตยังเปนลักษณะลองผิดลองถูกอยู (Invention of
new means through mental combination)
            ขั้นที่ 3 ความคิดริเริ่มกับความรูสึกผิด (Initiative vs. Guilt)
            พัฒนาการในขั้นนี้อยูในชวงอายุ 3 – 5 ป เด็กวัยนี้รางกายมีความสามารถและชวยตัวเองได
มากขึ้นกวาเดิม แตก็ยังอยูในวงจํากัด การพัฒนาความคิดริเริ่มสรางสรรคสําหรับเด็กในชวงวัยนี้ทําได
โดยใหเด็กไดรวมทํากิจกรรมตาง ๆ ที่ทาทายความสามารถของเขา รวมทั้งสิ่งแวดลอมก็มีสวนผลักดัน
และเสริมสรางความคิดสรางสรรคใหกับเด็กได
            ระยะนี้เปนระยะที่เด็ก เริ่มเรียนรู บทบาททางเพศ มาตรฐานทางศีลธรรมและการควบคุม
อารมณ ครอบครั วจะเป นแหล ง ชี้แนะถึง สิ่ งตางๆ ในสั งคมให แก เ ด็ก เด็ก เริ่ม สร างบุ คลิ ก ภาพและ
ความรูสึกผิดชอบชั่วดีจากการไดมีกิจกรรมและประสบการณรวมกับสิ่งแวดลอมรอบๆ ตัว การอบรมสั่ง
สอนโดยพอแม หรือผูใหญในครอบครัวจะชวยใหเด็กไดซึมซาบเขาไป เปนการรูสํานึกผิดชอบชั่วดีใน
ความคิด และแสดงออกในพฤติกรรมของเด็ก การเรียนรูนี้เด็กจะไดรับจากตัวแบบ (Role Model) ใน
ครอบครั ว โดยมี ตัวแบบเป นตั วอยาง และให ขอ มู ล แก เ ด็ก เพื่ อ เรี ย นรู วาสิ่ ง ใดถูก สิ่ ง ใดผิ ด ดัง นั้ น
ความรู สึ ก ผิ ด ชอบชั่ ว ดี จึ ง สามารถสร า งขึ้ น โดยการเรี ย นรู จ ากบุ ค คลในครอบครั ว และรวมถึ ง
แนวความคิดคานิยมของสังคม ในระยะนี้ครอบครัวมีบทบาทอยางยิ่งในการปลูกฝงความรูสึกผิดชอบชั่ว
ดีใหแกเด็ก การสรางความสัมพันธในระยะนี้จะเริ่มดวยความสัมพันธระหวางแม-เด็ก ตอมาพอเขามามี
สวนเกี่ยวของดวย และเมื่อสังคมของเด็กกวางขวางขึ้นเด็กจะเริ่มสรางความสัมพันธกับบุคคลอื่น เด็ก
เริ่มเปนตัวของตัวเอง เด็กที่ มีประสบการณมากจะสามารถชวยเหลือตัวเองไดมาก เด็กที่ไมสามารถ
13


พัฒนาผานขั้นความคิดริเริ่มไปไดจะเกิดความรูสึกผิด และไมกลาที่จะเปนผูริเริ่ม เนื่องจากเกิดความ
กลัววาจะทําผิดพลาดอีก
           พัฒนาการของเด็กเปนความรับผิดชอบรวมกันทั้งเด็ก พอแม และชุมชน การไดทํากิจกรรม
ตางๆ รวมกัน หรือการมีปฏิสัมพันธ (Interaction) ในสังคมจะเปนการชวยถายทอดความรูสึกนึกคิด
เจตคติ คานิยมของสังคมใหแกเด็กไดทีละนอย โดยมีผูใหญชวยกันประคับประคองใหเด็กพัฒนาไปสู
ความสมบูรณได เด็กวัยนี้ควรไดรับโอกาสทํากิจกรรมตาง ๆ ตามความสามารถอยางอิสระ เชน การเลน
การคิด การประดิษฐ การจินตนาการตางๆ และควรไดรับการสนับสนุนใหเขารวมกิจกรรมทางศาสนา
อยางตอเนื่อง เพื่อใหซึมซับความรูสึกผิดชอบชั่วดี และหลักศีลธรรมจรรยา หากเด็กวัยนี้ไดรับการจํากัด
                                    
ในการทํากิจกรรมหรือถูกตําหนิ เมื่อคิดและทดลองทําสิ่งตางๆ จะทําใหเด็กขาดความเชื่อมั่นในตนเอง
มีความคิดคัดคานหรือความรูสึกผิดเกิดขึ้นเนื่องจากเขาไมสามารถทําสิ่งตางๆ ไดสําเร็จดั่งใจและถูก
ลิดรอนหรือขัดขวางความสามารถของตนเอง ทําใหความรูสึกผิดเกิดสะสมในตัวเด็กและมีผลใหเด็กขาด
ความคิดสรางสรรค
           พัฒนาการทางดานรางกายและภาษา
           เด็กวัยนี้สามารถเดิน วิ่ง กระโดดโลดเตนได เด็กจะมีทัศนคติไปในทางที่ดี ถาไดทํากิจกรรม
ตางๆ อยางมีอิสระ ไดใชความคิดและพลังงานของเขา และการไดสัมผัสกับสิ่งแวดลอม เด็กตองการ
เคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา ในระยะแรกๆ ของขั้นนี้เด็กจะมีความกระตือรือรนและเริ่มมีความกาวราว
เกิดขึ้น เพื่อจะเอาชนะ ลักษณะพฤติกรรมของเด็กวัยนี้จะแตกตางกันไปตามเพศ และในที่สุดจะพัฒนา
เปนบุคลิกภาพที่แสดงถึงความเปนชายและหญิงอยางเห็นไดชัด รูปแบบพฤติกรรมของเด็กชาย เด็กชาย
จะชอบกระโดดโลดเตน ตองการมีความรูใหมๆ และชอบยุงเรื่องของคนอื่น ซึ่งเปนเรื่องเกี่ยวกับความ
อยากรูอยากเห็นในสิ่งตางๆ โดยเฉพาะเกี่ยวกับเรื่องเพศ โดยแสดงออกมาในรูปแบบตางๆ เชน การไม
สามารถอยูนิ่งๆ อาการกระวนกระวาย การจูโจมถึงตัวบุคคล ในขณะที่เด็กหญิง รูปแบบที่แสดงออกมา
จะเริ่มตนคลายกับหญิงสาวทั่วไป เชน มีเสนห นารัก มีทีทาขวยเขิน เยายวน จนถึงขั้นที่แสดงออกถึง
ความสงบเสงี่ยมซึ่งเปนลักษณะของสาวๆ ทั้งหมดนี้เปนการเริ่มตนที่แสดงออกถึงเพศแม เด็กหญิงเริ่มมี
บทบาทของความเปนแมตอไปในรูปของทวงทีการพูดคุย การแสดงออกตาง ๆ ในสังคมจะสะทอนให
เห็นถึงพฤติกรรมตางๆ รวมถึงอุปนิสัยสวนลึกที่จะยอมรับใครเขามารวมเกี่ยวของดวย พฤติกรรมตางๆ
เหลานี้ถือวาเปนธรรมชาติของเด็ก สภาพแวดลอมของครอบครัวมีบทบาทสําคัญตอการแสดงออกของ
เด็กเปนอยางมาก เมื่อเด็กผานชวงนี้ไป ความสนใจเรื่องเพศจะเปลี่ยนจากความสนใจในบุคคลอื่นเปน
การคนหาสิ่งใหมๆ ใหกับตัวเอง
           เด็ก มีความสามารถทางภาษาและสามารถใชไดดีขึ้นกวาเดิม ชอบพู ดและตั้งคําถามถึงสิ่ ง
ตางๆ รอบตัว และมีจินตนาการทางความคิดตางๆ ในขณะกําลังทํ ากิจกรรมนั้นๆ เด็กในชวงนี้กําลั ง
เรียนรู ในสิ่ง แปลกใหม ผู ใหญ ควรปลอ ยใหเด็กไดพู ดถาม และทํ ากิ จกรรมตางๆ อยางอิส ระภายใน
14


ขอบเขตความสามารถ และจินตนาการของเขา การมีสวนรวมในกิจกรรมตลอดถึงการใชภาษาจะชวย
ใหเด็กเกิดความคิดในการวางแผนและการริเริ่มทํากิจกรรมตางๆ ซึ่งจะเปนการสงเสริมใหเขาตองการที่
จะศึกษาคนควาตอไป เด็กก็จะมีความคิดริเริ่ม แตในทางตรงกันขามถาผูใหญคอยเขมงวด ไมเปดโอกาส
ใหเด็กไดซักถาม หรือตําหนิดุวาพฤติกรรมที่เขาแสดงออกอยูตลอดเวลา เขาก็จะรูสึกผิด และไมกลา
แสดงออกเมื่อคิดจะทําสิ่งใด
           ขั้นที่ 4 ความขยันหมั่นเพียรกับความรูสึกต่ําตอย (Industry vs. Inferiority)
           ขั้นนี้อยูในชวงอายุ 6 – 12 ป ชวงวัยเด็กตอนปลายเปนระยะที่เด็กมีความเจริญเติบโตและมี
ความอยากรูอยากเห็นในสิ่งแวดลอมตาง ๆ มากขึ้นยิ่งกวาในวัยเด็กตอนตนและวัยเด็กตอนกลาง การ
เสาะแสวงหาสิ่งตางๆ ทําใหเด็กมีประสบการณกับสิ่งใหม ๆ รอบตัวเขามากขึ้น เมื่อเขาคิดวาสิ่งใดที่เขา
ตองการเขาจะตองแสวงหาใหไดตามความปรารถนา เนื่องจากในวัยที่ผานมาเขาไมสามารถทํากิจกรรม
หลายอยางได เพราะมี ผู ใ หญ ค อยบั ง คับ และควบคุม เด็ก ในวัย นี้ตอ งการแสดงความคิดเห็ นและ
แกปญหาตางๆ เพื่อแสดงความเปนผูใหญ จุดสําคัญของพัฒนาการระยะนี้คือการไดแสดงออกวาเขามี
ความคิด และมีความสามารถเหมือนผูใหญคนอื่นๆเชนกัน ในชวงอายุนี้บุคคลรอบขางควรชวยชี้แนะ
แนวทางในการดํ าเนินชีวิตเพราะเป นระยะที่ พ วกเขาเริ่ ม ไตร ตรองถึง อนาคต การที่ ไดพิ สู จ นวา มี
ความสามารถกระทําสิ่งตางๆ ในขอบเขตของเขาไดอยางเหมาะสมทําใหเด็กในวัยนี้มีความเชื่อมั่นวาเขา
จะประสบความสําเร็จในอนาคต
           พัฒนาการทางรางกาย
           การเจริญเติบโตดานรางกายของเด็กวัยนี้มีลักษณะคอยเปนคอยไปอยางชา ๆ สม่ําเสมอ มี
การเปลี่ยนแปลงของกลามเนื้อและระบบประสาทซึ่งทํางานประสานกันไดดีขึ้น การเจริญเติบโตอยาง
รวดเร็วของอวัยวะภายในเกือบทุกระบบ การเปลี่ยนแปลงดานน้ําหนัก การเจริญเติบโตของกระดูกและ
ฟน และการขยายออกของรางกายซึ่งเปลี่ยนไปในดานสวนสูงมากกวาสวนกวาง โดยความสูงจะเพิ่มขึ้น
2 – 3 นิ้วตอป สัดสวนรางกายใกลเคียงผูใหญมากขึ้น เด็กผูหญิงจะมีการเจริญเติบโตทั้งดานรางกาย
และวุฒิภาวะเร็วกวาเด็กผูชายประมาณ 1 – 2 ป จากลักษณะการเจริญเติบโตทางดานรางกายดังกลาว
ทําใหเด็กวัยนี้เริ่มใหความสนใจกับรูปรางหนาตา มีความอยากรูอยากเห็นในเรื่องราวทางกายของเพศ
ตรงขาม อยางไรก็ตามการเจริญเติบโตที่เกิดขึ้นทุกดานของเด็กวัยนี้ขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ เชน
ลักษณะทางพันธุกรรม การเลี้ยงดูเอาใจใสจากครอบครัว และตัวเด็กเอง เชน รูปแบบการรับประทาน
อาหาร การออกกําลังกายที่เหมาะสม การมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่สมบูรณแข็งแรง
           พัฒนาการทางอารมณ
           พัฒนาการทางอารมณของเด็ก วัยนี้คือ การมีความคิดละเอียดออนมากขึ้น สามารถเขาใจ
อารมณของตนเองและผูอื่นไดดีขึ้น ควบคุมอารมณของตนได เรียนรูที่จะแสดงอารมณไดเหมาะสมใน
รูปแบบที่สังคมยอมรับได เด็กวัยนี้สามารถควบคุมและระงับความโกรธไดดีขึ้น ไมมีลักษณะของการ
15


โกรธงายและหายเร็ว พัฒนาการการแสดงออกจะเปลี่ยนไป จากเดิมที่แสดงออกดวยการรองไหดิ้นกับ
พื้นเสียงดัง ทิ้งตัวลงนอนเมื่ออยากไดรับการตอบสนองในสิ่งที่ตองการ จะเปลี่ยนเปนการคิดแกแคนใน
ใจแตไมทําจริงดังที่คิด หรือการหลีกเลี่ยงจากสถานการณที่ไมพึงพอใจในทันที ไมมีพฤติกรรมแบบตอสู
โดยใชกําลัง ดานความรักเด็กวัยนี้แสดงออกดวยการมีน้ําใจชวยเหลือผูอื่น ราเริงแจมใส อารมณดี จะ
ระมัดระวังไมทําใหผูอื่นเสียใจหรือกระทบกระเทือนใจ โดยเฉพาะขณะอยูในกลุมเพื่อน หรือในสังคม
เขาตองการความรัก ความอบอุนมั่นคงในครอบครัวและหมูคณะ นอกจากนี้เด็กจะเลิกกลัวสิ่งที่ไมมี
ตัวตน พิสูจนไมได อารมณกลัวของเด็กวัยนี้เกิดจากประสบการณ และการเรียนรูที่ไดรับมา สิ่งที่เด็กวัย
นี้กลัวมากที่สุดคือ กลัวการไมเปนที่ยอมรับของกลุม กลัวไมมีเพื่อน ไมชอบการแขงขัน ไมตองการเดน
หรือดอยกวากลุม ชอบการยกยองแตไมชอบการเปรียบ- เทียบ นอกจากนี้เด็กยังกลัวอันตรายตาง ๆ ที่
จะเกิดขึ้นกับตนและบุคคลที่รัก การตอบสนองความกลัวจะเปนลักษณะการตอสู การถอยหนี และการ
ทําตัวใหเขากับสิ่งนั้นๆ ความกลัวของเด็กจะเริ่มลดลงเรื่อยๆ พรอมกับการเปลี่ยนแปลงดานรางกาย
เด็กจะเปลี่ยนจากความกลัวเปนความกังวลเรื่องรูปรางของตนเองแทน คือ กังวลจากความตองการให
ตนมีรูปรางที่แข็งแรงในเด็กชาย หรือมีรูปรางหนาตาสวยงามในเด็กหญิง
           อยางไรก็ตาม เด็กวัยนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงความรูสึกที่เกิดขึ้นเร็ว บางครั้งทําตัวเปนผูใหญ
บางครั้งทําตัวเปนเด็ก ความขัดแยงทางอารมณจึงเกิดขึ้นไดเสมอ พัฒนาการทางอารมณของเด็กวัยนี้จึง
ขึ้นอยูกับลักษณะการเลี้ยงดูของพ อแม ซึ่งมีผลสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาความรู สึกมั่นคงของเด็ก
ตอไป
           พัฒนาการทางดานความคิดและสังคม
           เด็กจะสนใจในสิ่งตางๆ แลวพยายามดัดแปลงใหมาสูแบบฉบับของเขา ความสามารถในการ
เลียนแบบจะปรากฏออกมาในรูปของ การเรียนรูภายในขอบเขตความสามารถของตัวเอง ซึ่งมีพื้นฐาน
มาจากสิ่ ง แวดล อ มทางวัฒ นธรรมและสั ง คม เด็ก จะมองเห็ นวาพ อ แม เ ป นตัวแทนของสั ง คม เป น
แบบอยางแกเขา แตเขายังตองการตัวแบบอื่นๆ เพื่อการเปรียบเทียบดวย เชน เพื่อนของพอแม และพอ
แมของเพื่อน เปนบุคคลสําคัญที่ใหมสําหรับเขา นอกจากนี้เพื่อนบาน เพื่อนในโรงเรียน เปนสิ่งสําคัญ
ทางสังคมที่เขาจะพิจารณา และคนแปลกหนากลายเปนสิ่งที่นาสนใจสําหรับเขา เด็กหญิงและเด็กชาย
จะแสวงหาผูใหญและบุคคลอื่นๆ เพื่อการวิเคราะห เขาคิดวาพอแมยังไมสมบูรณพอที่เขาจะเลียนแบบ
ไดครบทุกดาน ในโลกของเด็กมีการสมมติตําแหนงตางๆ ที่สําคัญเหมือนผูใหญ เด็กมีความนับถือตนเอง
เป นเกณฑเ พื่ อ วัดความสําเร็ จหรื อความล ม เหลวของตน เด็ก จะแสวงหาตัวแบบจากครอบครั วที่ มี
ลั ก ษณะพิ เ ศษออกไป ทางด านการปรั บ ตั วของเด็ก ในสั ง คม เด็ ก จะมี ก ารยอมรั บ ตัว เองมากขึ้ น
นอกจากนี้โรงเรียน กลุมเพื่อนรุนเดียวกันและกลุมบุคคลทางศาสนา จะมีสวนชวยสนับสนุนการปรับตัว
ของเด็กไดเปนอยางดี ในชวงวัยนี้เด็กเริ่มเปลี่ยนความผูกพันจากครอบครัวไปสูสถาบันอื่นในสังคม
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
Kobwit Piriyawat
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
Jirawat Fishingclub
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Teerasak Nantasan
 

Was ist angesagt? (10)

เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
 
Ict social media for 21st library
Ict   social media for 21st libraryIct   social media for 21st library
Ict social media for 21st library
 
By Colorfuls Mk22
By Colorfuls Mk22By Colorfuls Mk22
By Colorfuls Mk22
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
 
เน อหา ว_จ_ย
เน  อหา ว_จ_ยเน  อหา ว_จ_ย
เน อหา ว_จ_ย
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
 

Andere mochten auch

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
KruBeeKa
 

Andere mochten auch (13)

05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design10 chapter29-e-learning and instructional design
10 chapter29-e-learning and instructional design
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
Neumonia Adquirida en la Comunidad
Neumonia Adquirida en la ComunidadNeumonia Adquirida en la Comunidad
Neumonia Adquirida en la Comunidad
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
 
Standing on the shoulders of giants: learning and researching value as a comm...
Standing on the shoulders of giants: learning and researching value as a comm...Standing on the shoulders of giants: learning and researching value as a comm...
Standing on the shoulders of giants: learning and researching value as a comm...
 
Badges, Curation, Credentials and Portfolios: ePortfolios Australia Workshop
Badges, Curation, Credentials and Portfolios: ePortfolios Australia WorkshopBadges, Curation, Credentials and Portfolios: ePortfolios Australia Workshop
Badges, Curation, Credentials and Portfolios: ePortfolios Australia Workshop
 
Assistive technology for special needs students
Assistive technology for special needs studentsAssistive technology for special needs students
Assistive technology for special needs students
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 

Ähnlich wie 06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค

วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนวิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
Jiraprapa Suwannajak
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
krupornpana55
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
benty2443
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
Rachabodin Suwannakanthi
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
krupornpana55
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
princess Thirteenpai
 

Ähnlich wie 06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค (20)

วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนวิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
 
School curiculum
School curiculumSchool curiculum
School curiculum
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
11
1111
11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

Mehr von KruBeeKa

Mehr von KruBeeKa (9)

โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
 

06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค

  • 1. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาของปญหา สั ง คมป จ จุ บั น เป น สั ง คมแห ง การเรี ย นรู ยุค โลกไร พ รมแดน การจั ดการเรี ย นรู ยุค ใหม จึ ง ตอ งเน นให ผู เ รี ย นเกิ ดการเรี ย นรู ได ทุ ก เวลา ทุ ก สถานที่ และยัง ตอ งจั ดการศึก ษาเพื่ อ ส ง เสริ ม การเรี ยนรู ตลอดชีวิต อี ก ทั้ง หลั กสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้ นฐาน พุ ท ธศัก ราช 2551 มุ งพั ฒ นา ผู เ รี ย นให มี คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค ที่ สํ า คัญ คื อ รั ก ชาติ ศาสน กษัต ริ ย ซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต มี วิ นั ย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย และมีจิตสาธารณะ ทั้งนี้ เพื่อใหทุก คนสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก หลักสูตร การศึกษาเปนตัวกําหนดเปาหมายเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มีมาตรฐานการเรียนรูสําหรับพัฒนา เด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเปนไทยควบคูกับความ เปนสากล สื่อการเรียนรูก็มบทบาทสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากันในการนําพาผูเรียนไปสูเปาหมายการจัด ี การศึกษาตามที่หลักสูตรกําหนด ดวยความหลากหลายทั้งรูปแบบและประเภทของสื่อการเรียนรูที่มีอยู ในปจจุบัน จึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งที่ครูผูสอนและผูเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาพึงตระหนักไวเสมอ วา “ไมมีสื่อการรูใดที่จะสามารถใชไดดีที่สุดในทุกสถานการณ” ดังนั้น การพิจารณาเลือกใชสื่อจึงเปน อีก บทบาทหนึ่งของครู ผูส อนที่ ไมอ าจละเลย ตอ งพิ จ ารณาเลื อกสื่ อที่ ดีที่สุ ด เหมาะสมที่ สุด และมี ประโยชนมากที่สุดสําหรับผูเรียนในแตละเรื่องหรือแตละระดับชั้น (ฟาฏินา วงศเลขา, 2553) สังคมสมัยใหมที่มเี ทคโนโลยีไอซีทเี ปนพลังขับดัน ทําใหเราหลีกหนีจากเทคโนโลยีเหลานี้ไป ไมได แตการปรับตัวและทําใหสภาพสังคมดีขึ้นเปนเรื่องที่ตองคิด และชวยกันดําเนินการ การศึกษาใน โรงเรียนจึงสมควรที่จะตองบูรณาการไอซีทีเขาสูกระบวนการเรียนรูอยางอื่น โดยเฉพาะในทุกวิชาที่มี การเรียนการสอน เชนวิชาสังคมศึกษา การเรียนรูสภาพสังคม การเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางสังคม สมัยใหม การเรียนรูโลกภายนอกในเรืองโลกาภิวัฒน แมแตการเรียนภาษาอังกฤษก็ใชเทคโนโลยีเปนสื่อ ่ ไดมากมาย การปรับตัวทางดานการศึกษาในยุคนี้ตองกระทําตามอยางรวดเร็ว ครูอ าจารยที่อยูตาม โรงเรียนตางๆ ตองเขาใจกระแสแรงผลักดัน ทางเทคโนโลยี และจะตองเขาใจการเปลี่ยนแปลงสภาพ ทางสังคม ความเปนอยู และตองชวยกันแกปญหา ประคับประคองสังคมใหไปในทางที่ถูกที่ควร (ยืน ภูวรรณ, 2553) เทคโนโลยี ส มั ยใหม มี บ ทบาทสํ าคั ญ ในการชว ยการจั ด การศึก ษาให บ รรลุ อุ ด มการณ ทางการศึ ก ษา นโยบายการจั ด การศึ ก ษาของรั ฐ จะต อ งจั ด การศึ ก ษาตลอดชี วิ ต สํ า หรั บ ทุ ก คน หรือที่เรียกวา การศึกษาเพื่อปวงชนทุกคน ( Education for all อันเปนการลดความเหลื่อมล้ําโอกาส
  • 2. 2 ทางการศึก ษาสร างความเทาเที ยมทางดานการศึก ษา ) (หลั ก สูตรแกนกลางสถานศึก ษา, 2551) เทคโนโลยีที่ใชในปจจุบันไมวาเปน เทคโนโลยีทางดานสารสนเทศ เทคโนโลยีทางดานสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีทางดานโทรคมนาคม ซึ่งเปนประโยชนในดานการจัดการศึกษาทั้งสิ้น เชนการศึกษาทางไกล ผานดาวเทียม นักเรียนชนบท ธุรกันดารสามารถเรียนรูไดเทาเทียมกับนักเรียนที่อยูในเมือง ระบบ อินเตอรนักเรียนก็สามารถเรียนรูไดทั่วโลก หรืออาจเรียกไดวามีหองสมุดโลกอยูที่โรงเรียน หรืออยูที่ บาน โดยที่ไมตองเสียเวลา เสียงบประมาณในการทีจัดซือหาหนังสือใหมากมายเหมือนสมัยกอน ผูเรียน ่ ้ สามารถเรี ยนรู ดวยตนเองไดอ ยางอิ ส ระ นอกจากนี้ ยัง มี สื่ อ ที่ เ ป นวิท ยุ โทรทั ศน ซี ดีร อม สื่ อ อิเลคทรอนิกส ที่ทําใหประชาชนทุกคนไดเรียนรูไดตลอดชีวิต (สุเมธ รักตะกนิษฐ, 2552) เพื่อใหการจัดการศึกษาขั้นพื้ นฐานสอดคลองกั บสภาพความเปลี่ ยนแปลงของเศรษฐกิ จ สังคมและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ จึงจําเปนตองปรับปรุงหลักสูตรเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน ใหมีคุณภาพานความรูและทักษะที่จําเปนสําหรับใชเปนเครื่องมือในการดํารงชีวิตสังคม ที่เปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต (หลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา, 2551) ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอํานาจใหทองถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรนั้น หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ ในแตละระดับ อาทิ ระดับชาติ ระดับทองถิ่น และระดับสถานศึกษา จะมี บทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน สงเสริม การใชและพัฒนาหลักสูตรให เปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ เพื่อใหผลผลิตของการบริหารจัดการหลักสูตรคือผูเรี ยนมีคุณภาพตาม มาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค (หลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา, 2551) สํ า หรั บ การเรี ย นรู ยุ ค ใหม ใ นศตวรรษที่ 21 ทั้ ง ผู ส อนและผู เ รี ย นสามารถเรี ย นรู ไปดวยกัน การเรียนการสอนไมไดเกิดขึ้น เฉพาะในหองเรียนแตเพียงอยางเดียว การเรียนรูเกิดขึ้นได ตลอดเวลา ผานทางสื่อ และอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ทันสมัย ซึ่งสามารถเชื่อมโยงแหลงเรียนรูที่มีอยูทั่ว โลกผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร ทําใหผูเรียนเขาถึงแหลงเรียนรูไดอยางไรขีดจํากัดเรื่องระยะทาง เวลา และสถานที่ดวยตัวของผูเรียนเอง และไมจําเปนตองคอยรับจากครูแตเพียงฝายเดียว ดังนั้นการ เรี ยนการสอนยุคใหม ทั้ง บทบาทหนาที่ และกิ จ กรรมการเรี ยนการสอนของผู เ รี ยนและผู ส อนจะ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม จากหองเรียนสูโลกกวาง การเรียนยุคใหมจะมีรูปแบบกิจกรรมเชิงแลกเปลี่ยน เรียนรู และการสรางองคความรูดวยตัวของผูเรียน ตลอดจนใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรูมากยิ่งขึ้น (ไพฑูรย ศรีฟา, 2555) เครือขายสัง คมออนไลน (Online Social Network) ไดกลายเปนปรากฎการณของการ เชื่อมตอการสื่อสารระหวางบุคคลในโลกของอินเตอรเน็ต โดยมุงเนนไปที่การสรางชุมชนออนไลนซึ่งทา ใหผูคนสามารถที่จะแลกเปลี่ยน แบงปนขอมูล ตามประโยชนกิจกรรมหรือความสนใจเฉพาะเรื่องซึ่งกัน และกัน
  • 3. 3 เฟสบุค (Facebook) เครือขายสังคมออนไลนที่ไดรับความนิยมมากในปจจุบันนั้นถือกําเนิด เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 2004 โดยมารค ซัคเคอรเบิรก (Mark Zuckerburg) ไดเปดตัวเว็บไซต เฟสบุค (Facebook) ซึ่งเปนเว็บประเภทเครือขายสังคมออนไลน (social network) ซึ่งในตอนแรกเปดใหเขา ใชเฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮารเวิรดเทานั้น และเว็บนี้ก็ไดรับความนิยมขึ้นมาอยางรวดเร็ว เพราะแคเพียงเปดตัวไดสองสัปดาห นักศึกษาที่เรียนอยูที่มหาวิทยาลัยฮารเวิรด ก็สนใจสมัครเปน สมาชิกเพื่อเขาใชงานเปนจานวนมาก จากนั้นมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในเขตบอสตัน ก็เริ่มมีความตองการ และอยากขอเขาใชงานเฟซบุค (Facebook) ดวย มารคจึ งไดชักชวนเพื่อนชื่อดัสติน มอสโควิท ซ (Dustin Moskowitz) และคริส ฮิวจส (Christ Hughes) เพื่อชวยกันสราง เฟสบุค (Facebook) และ เพี ยงระยะเวลา 4 เดือ นหลั ง จากนั้น เฟสบุค (Facebook) จึ งไดเพิ่ ม รายชื่อและสมาชิก ของ มหาวิทยาลัยอีก 30 กวาแหง จากนั้นขยายไปสูระดับมัธยมปลายทั่วประเทศสหรัฐอเมริกา กระทั่งเปด ใหบริการกับบุคคลทั่วไปในป 2006 และในปจจุบันป 2010 เฟซบุคมีผูใชงานไมตากวา 400 ลานคนตอ เดือน และกลายเปนเว็บไซต Social Networking ที่ใหญที่สุดในโลกที่มีผูใชเปนประจําเดือนละไมต่ํา กวา 150 ลานคน (พรรษพล มังกรพิศม, 2553 อางถึงใน วิมลพรรณ อาภาเวท และคณะ. 2554 : 14) การสื่อสารในสังคมออนไลนจึงแพรหลายมากในสังคมปจจุบัน อาจเนื่องมาจากเว็บไซตเหลานี้ เปนพื้นที่ทางสังคมที่ไมมีระยะทาง ไมมีเวลา แตมีขอบเขตกวางไมมีที่สิ้นสุดและอนุญาต ใหสมาชิกใน สังคมสามารถเปดเผยอัตลักษณของตนเองเพียงบางสวน หรือสรางอัตลักษณใหมขึ้นมาที่ไมเหมือนกับ โลกแหงความเปนจริง ซึ่งเหมาะสมกับสังคมของคนรุนใหมที่เปนสังคมที่เรงรีบเปนปจเจกบุคคลมากขึ้น ที่ไมตองการใหผูอื่นรูจักตัวตนทั้งหมดของตนเอง (วิมลพรรณ อาภาเวท และคณะ. 2554 : 15) ขอดี ของเฟสบุค คือ เปนการสรางเครือขายและจุดประกายดานการศึกษาไดอยางกวางขวาง หากใชไดอยาง ถูกวิธี ทําใหไมตกขาว คือทราบความคืบหนา เหตุการณของบุคคล และผูที่ใกลชิด ผูใชสามารถสราง เครือขายทางสังคม แฟนคลับหรือผูที่มีเปาหมายเหมือนกัน และทํางานใหสําเร็จลุลวงไปได สามารถ สรางมิตรแท หรือเพื่อนที่รูใจที่แทจริงได และเปนซอฟแวรที่เอื้อตอผูที่มีปญหาในการปรับตัวทางสังคม ขาดเพื่อน อยูโดดเดี่ยว หรือผูที่ไมสามารถออกจากบานได ใหมีเครือขายทางสังคม และเติมเต็มชีวิต ทางสังคมไดอยางดี ไมเหงาและปรับตัวไดงายขึ้น สวนขอเสีย คือ เปนการขยายเครือขายทางสังคมใน โลกอินเตอรเนต ดังนั้นการมีเพิ่มเพื่อนเครือขายที่ไมรูจักดีพอ จะทําใหเกิดการลักลอบขโมยขอมูล หรือ การแฝงตัวของขบวนการหลอกลวงตางๆ ไดเพื่อนทุกคนในเครือขายสามารถเขียนขอความตางๆ ลง Wall ของ FaceBook ไดแตหากเปนขอความที่เปนความลับ การใสรายกัน หรือแฝงไวดวยการยั่วยุ ตางๆ จะทําใหผูอานที่ไมมีวุฒิภาวะพอ หลงเชื่อ เกิดความขัดแยง และปญหาตามมาในภายหลังได เปน ชองทางในการสรางสังคมแหงการนินทา หรือการยุงเรื่องสวนตัวของผูอื่นโดยใชเหตุ การเปดเผยขอมูล สวนตัวทั้งหมดใหกับบุคคลภายนอกที่ไมรูจักดีพอ เชนการลงรูปภาพของครอบครัวหรือลูก อาจนํามา เรื่องปญหาการปลอมตัว หรือการหลอกลวงอื่นๆที่คาดไมถึงได เด็กๆที่ใชเวลาในการเลน Facebook
  • 4. 4 มากเกินไป จะทําใหเสียการเรียน ในการสรางความผูกพันและการปรับตัวทางสังคมเปนการพบปะกัน ในโลกของความจริง มากกวาในโลกอินเตอรเนต ดังนั้นผูอยูในโลกของไซเบอรมากเกินไปอาจทําใหมี ปญหาทางจิต หรือ ขาดการปรับตัวทางสัง คมที่ ดี โดยเฉพาะผูที่ชอบเลน FaceBook ตั้ง แตยังเด็ก FaceBook อาจเปนแรงขับใหมีการพบปะทางสังคมในโลกแหงความเปนจริงที่นอยลงได เนื่องจาก ทราบความเคลื่ อ นไหวของผู ที่ อ ยู ในเครื อ ข ายอย างตลอดเวลา และนโยบายของบางโรงเรี ย น บางมหาวิท ยาลั ย บางครอบครัวหรือในบางประเทศมีปญ หามากมายที่เ กิดจาก FaceBook ทํ าให FaceBook ไมไดรับการอนุญาตใหมีในหลายพื้นที่ (สุพาพร เทพยสุวรรณ. 2555 : ออนไลน) จากเหตุผลที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชที่มีชวงอายุและเพศตางกันเพื่อใหสามารถนําขอมูลไปปรับปรุงวางแผนสงเสริมสรางภูมิคุมกัน และความเขมแข็งใหกับเยาวชนของประเทศ ใหเปนผูที่สามารถดําเนินชีวิตไดอยางปลอดภัย มั่นคง รวมถึงสามารถใชประโยชนจากเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองใหกลายเปนบุคคลากรที่มี คุณภาพตอไปในอนาคต จุดมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชงานที่มีชวงอายุตางกัน 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของผูใชงานที่มีเพศตางกัน ความสําคัญของการวิจัย 1) ทราบถึงพฤติกรรมของผูใชเฟสบุคที่มีชวงอายุและเพศแตกตางกัน ขอบเขตของการวิจัย 1. ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง 1.1 ประชากรที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ได แ ก ผู ใ ช เ ฟสบุ ค (Facebook) ที่มีสถานนะเปนเพื่อนของผูวิจัย ที่ใชงานในชวงระหวางวันที่ 1-30 กันยายน พ.ศ.2555 จํานวน 254 คน 1.2 กลุ ม ตั ว อย า ง ได แ ก ผู ใ ช เ ฟสบุ ค (Facebook) ที่ มี ส ถานะเป น เพื่ อ น ของผูวิจัย จํานวน 155 คน โดยการสุมอยางงาย 2. ขอบเขตดานเนื้อหา มุงศึกษาพฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ของเพื่อนผูวิจัย โดยแบงเปนดาน ตางๆ ดังนี้ 2.1 ตัวแปรตน ไดแก ไดแก เพศ และอายุของผูใชเฟสบุค (Facebook)
  • 5. 5 2.2 ตัว แปรตาม ไดแ ก พฤติ ก รรมการใชเ ฟสบุ ค (Facebook) ของผู ใชง าน เฟสบุค ในเรื่องของการแสดงเฉพาะเพียงหนึ่งพฤติกรรม การแสดงมากกวาหนึ่งพฤติกรรม และการ แสดงที่เฟสบุคบังคับเพียงหนึ่งพฤติกรรม 3. ขอบเขตดานระยะเวลา ศึ ก ษาพฤติ ก รรมการใช เ ฟสบุ ค (Facebook) ของเพื่ อ นผู วิ จั ย ที่ ใ ช ง าน ในระหวางวันที่ 1 กันยายน ถึง 30 กันยายน พ.ศ.2555 นิยามศัพทเฉพาะ ผูใช หมายถึง ผูใชงานเฟสบุค (Facebook) ที่มีสถานะเปนเพื่อนของผูวิจัย และใชงานเฟส บุคในชวงระหวางวันที่ 1-30 กันยายน พฤติ ก รรมการใช เ ฟสบุ ค (Facebook) หมายถึ ง การที่ ผู ใ ช แสดงออกในด า นต า ง ๆ ผานเว็บไซตเฟสบุค เชน การแสดงขอความ การแสดงรูปภาพ การแสดงวิดีโอ การแสดงคําถาม การ แสดงไฟล การแสดง หมายถึง การโพสต (post) หรือ การแชร (share) ขอมูลตาง ๆ เชน ขอความ รูปภาพ วิดีโอ คําถาม ไฟล เปนตน โดยไมรวมถึงการแท็ก (tag) เนื่องจากผูอื่นสามารถกระทําแทนผูใช ได สมมุติฐานของการวิจัย 1. พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ไมขึ้นอยูกับเพศ H0 : = 0 2. พฤติกรรมการใชเฟสบุค (Facebook) ไมขึ้นอยูกับชวงอายุ H0 : = 0
  • 6. 6 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาสภาพ ปญหา ความตองการ และขอเสนอแนะการใชเครือขายสังคมออนไลน (Social Network) ในการเรียนของนิสิต นักศึกษา กรณีศึกษา นิสิตมหาวิท ยาลัยนเรศวร ผู วิจัยได ศึกษา เรียบเรียงจากเอกสาร ตําราและงานวิจัยที่เกี่ยวของ โดยนําเสนอตามลําดับดังนี้ ตอนที่ 1 ความหมายและความสําคัญของเครือขายสังคมออนไลน ตอนที่ 2 ประเภทของเครือขายสังคมออนไลน ตอนที่ 3 ทฤษฎีพัฒนาการดานพัฒนาการทางจิตสังคม ตอนที่ 4 การใชอินเทอรเน็ตเพื่อสนองความตองการ ตอนที่ 5 การแบงเพศ ตอนที่ 6 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ตอนที่ 1 ความหมายและความสําคัญของเครือขายสังคมออนไลน เครือขายสังคมออนไลน (อิทธิพล ปรีติประสงค, 2552) เปนปรากฎการณของการเชื่อมตอ ระหวางบุคคลในโลกอินเทอรเน็ต และ ยังหมายรวมถึง การเชื่อมตอระหวางเครือขายกับเครือขาย สังคมออนไลน เขาดวยกัน Social Network (จุไรรัตน ทองคําชื่นวิวัฒน, 2552) ยังไมมีคําไทยเปนทางการ มี การใชคําวา “เครือขายสังคม” บาง “เครือขายมิตรภาพบาง” “กลุมสังคมออนไลน” Social Network นี้ถือวาเปนเทคโนโลยีอีกอันนึง ที่สามารถชวยใหเราไดมามีปฏิสัมพันธกัน ซึ่งวัตถุประสงคที่แทจริงของ คําวา Social Network นี้จริงๆ แลวก็คือ Participation หรือ การมีสวนรวมดวยกันไดทุก ๆ คน (ซึ่ง หวังวาผูที่ติดตอกันเหลานั้นจะมีแตความปรารถนาดี สิ่งที่ดีๆ มอบใหแกกันและกัน) ถาพูดถึง Social Network แลว คนที่อยูในโลกออนไลนคงจะรูจักกันเปนอยางดี และก็คงมีอีกหลายคนที่ไดเขาไปทอง อยูในโลกของ Social Network มาแลว ถึงแมวา Social Network จะไมใชสิ่งใหมในโลกออนไลน แต ก็ยังเปนที่นิยมอยางมากในกลุมคนที่ใชอินเตอรเน็ต ทําใหเครือขายขยายวงกวางออกไปเรื่อยๆ และจะ ยังคงแรงตอไปอีกในอนาคต จากผลการสํารวจจากประเทศสหรัฐอเมริกายืนยันการใชบริการ Social Network ที่เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องทุกป และมาแรงเปนอันดับตนๆ ของโลกออนไลน สวนเว็บไซตที่มี จํานวนผูเขาชมสูงสุดทั่วโลก ก็เห็นจะเปน My space, Facebook และ Orkut สําหรับเว็บไซต ที่มี เปอรเซ็นตเติบโตเพิ่มขึ้นเปนเทาตัวก็เห็นจะเปน Facebook แตสําหรับประเทศไทยที่ฮอตฮิตมากๆ ก็ คงจะหนีไมพน Hi5
  • 7. 7 เครือขายสังคมออนไลน (Social Network) (อติเทพ บุตราช, 2553) หมายถึง กลุมคนที่ รวมกันเปนสังคมมีการทํากิจกรรมรวมกันบนอินเทอรเน็ต ในรูปแบบของเว็บไซตมีการแผขยายออกไป เรื่ อ ย ๆ เป น รู ป แบบของการสื่ อ สารข อ มู ล ผ า นอิ น เทอร เ น็ ต ทํ า ให เ ครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร ห รื อ อิ น เทอร เ น็ ต เป น สั ง คมขึ้ น มา การสร า งชุ ม ชนใหม บ นอิ น เทอร เ น็ ต เป น เครื่ อ งมื อ สํ า คั ญ ในการ ติดตอสื่อสาร สามารถทํากิจกรรมตางๆ ทั้งเพื่อการศึกษา ธุรกิจ และความบันเทิง จากความหมายของเครื อ ขายสั งคมออนไลนขางตน สรุ ป ไดวา เครือ ขายสั ง คม ออนไลน คือ การที่กลุมคนไดมีการทํากิจกรรมรวมกันบนระบบอินเทอรเน็ต ซึ่งเครือขายสังคมออนไลน นั้น สามารถใชไดอยางหลากหลายวัตถุประสงค อาทิ ใชเพื่อการติดตอสื่อสาร ใชในการเรียนการสอน ใชในกิจกรรมธุรกิจ อยางการประชาสัมพันธสินคาหรือบริการ ตอนที่ 2 ประเภทของเครือขายสังคมออนไลน ประเภทของเครือขายสังคมออนไลน (เศรษฐพงค มะลิสุวรรณ, 2551) มีจํานวน มากมาย จึงเปนการยากที่จะจําแนก ประเภทของเครือขายสังคมออนไลน ได อยางเจาะจงชัดเจน หากจะลองจัดเขาหมวดหมูตามที่เราพบเห็นทั่วไป อาจแบงได 6 ประเภท ดังนี้ 1. ประเภทแหลงขอมูลหรือความรู (data/knowledge) ที่เห็นไดชัดเจนเชน wikipedia, google earth, answers, digg, bittorrent ฯลฯ เปนตน 2. ประเภทเกมสอ อนไลน (online games) ที่นิยมมาก เชน SecondLife, Audition, Ragnarok, Pangya ฯลฯ เปนตน 3. ประเภทสรางเครือขายทางสังคม (community) เพื่อเปนการหาเพื่อนใหม สรางและ แลกเปลี่ยนประสบการณรวมกัน เชน Hi5, Facebook, MySpace, MyFriend ฯลฯ เปนตน 4. ประเภทฝากภาพ (photo management) สามารถฝากภาพออนไลนไดโดยไมเปลือง ฮาร ด ดิ ส ส วนตั ว อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถแบ ง ป นภาพหรื อ ซื้ อ ขายภาพกั น ไดอ ย างง า ยดาย เชน Flickr, Photoshop Express, Photobucket ฯลฯ เปนตน 5. ประเภทสื่อ (media) ไมวาจะเปนฝาก โพสทหรือแบงปนภาพ คลิปดโอ ภาพยนตรเพลง วี ฯลฯ เชน YouTube, imeem, Bebo, Yahoo Video, Ustream.tv ฯลฯ เปนตน 6. ประเภทซื้อ -ขาย (business/commerce) เปนการทําธุร กิจทางออนไลนที่ไดรั บความ นิยมมาก เชน Amazon, eBay, Tarad, Pramool ฯลฯ แตเว็บไซตประเภทนี้ยังไมถือวาเปน Social Network ที่แทจริง เนื่องจากมิไดเปดโอกาสใหผูใชบริการแชรขอมูลกันไดหลากหลาย นอกจากการ สั่งซื้อและคอมเมนท สินคาเปนสวนใหญ การแบงหมวดหมูของเครือขายสังคมออนไลน (อิสริยะ ไพรีพายฤทธิ์ อางอิงจาก (อิทธิพล ปรีติประสงค, 2552) ไดจําแนกหมวดหมู หรื อ ประเภทของเครื อขายสัง คมออนไลนไวใน บทบาท
  • 8. 8 ของ Social Network ในอินเทอรเน็ตยุค 2.0 โดยพิจารณาจากเปาหมายของการเขาเปนสมาชิกใน เครือขายสังคมออนไลน ไดเปน ๕ กลุมใหญๆ กลาวคือ (1) Identity Network คือ การแสดงตัวตนและภาพลักษณของตน เชน www.hi5.com, www.facebook.com (2) Interested Network เ ป น ก า ร ร ว ม ตั ว กั น โ ด ย อ า ศั ย “ค ว า ม ส น ใ จ ” ตรงกัน เชน Digg.com, del.icio.us (3)Collaboration Network เป น กลุ ม เครื อ ข า ยที่ ร ว มกั น “ทํ า งาน” ยกตั ว อย า ง เชน www.wikipedia.org (4) Gaming/Virtual Reality หรือ โลกเสมือน ในบางครั้งเราเจอคําวา second life ซึ่งเปน ลักษณะของเครือขายสังคมออนไลนที่มีลกษณะเปนการสวมบทบาทของผูเลนในชีวิตจริงกับตัวละครใน ั เกม และ (5) Professional Network ใชงานในอาชีพ ตอนที่ 3 ทฤษฎีพัฒนาการดานพัฒนาการทางจิตสังคม (ความแตกตางทางดานชวงวัย) จิตวิทยาพัฒนาการเด็กและวัยรุน พั ฒ นาการทางจิ ต สั ง คม 8 ขั้ น ตามทฤษฎี ข องแอริ ค สั น (The Eight Stages of Psychosocial Development in Erikson) สิ่งแวดลอมทั้งทางกายภาพ (Physical) ทางสังคม (Social) ทางวัฒนธรรม (Cultural) และ ทางความคิด (Ideational) เขามามีอิทธิพลกับพัฒนาการของชีวิตมนุษยตั้งแตแรกเกิดจนชรา ซึ่งสงผล ตอความคิดริเริ่ม ความสามารถในการปรับตัว บุคลิกภาพและพฤติกรรมตางๆ แอริค ฮอมเบอรเกอร แอริคสัน (Erik Homburger Erikson) เปนนักจิตวิทยาคลินิก เกิดที่ประเทศเยอรมันพบวาพัฒนาการ ทางจิตวิทยาของมนุษยมีการเปลี่ยนแปลงเหมือนกับโครงสรางทางกายภาพรางกาย มุมมองของแอริค สันจึงเนนพัฒนาการทั้งทางดานรางกาย จิตใจ และสังคมรวมกัน นั่นคือ การเจริญเติบโตทางรางกาย และสิ่งแวดลอมจะมีความสัมพันธกับพัฒนาการทางจิตใจ และบุคลิกภาพ ทําใหบุคคลสามารถปรับตัว อยูรวมกับผูอื่นในสังคมได ทฤษฎีของแอริคสันนี้มีพื้นฐานจากทฤษฎีจิตวิเคราะหของฟรอยด จุดเดน ของแอริคสันคือมุมมองพัฒนาการมนุษยตลอดชวงอายุขัย ซึ่งแอริคสันมองพัฒนาการของบุคคลคนหนึ่ง ในลั ก ษณะองคร วม (Wholeness/Holistic) ตั้ง แตแรกเกิ ดจนกระทั่ ง สิ้ นอายุขัย ซึ่ ง โมเดลนี้แบ ง พัฒนาการของบุคคลไว 8 ขั้น พัฒนาการทางจิตสังคม (Psychosocial Development Model) 8 ขั้นที่จะกลาวตอไปนี้ แบ ง ชวงชีวิตของมนุษย จากแรกเกิดถึง ประมาณอายุ 80 ป เ ป น 8 ชวง ตามการเปลี่ ยนแปลงทาง รางกาย และสมอง จากวัยเด็กจนถึงวัยรุนจะมีการเจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและชาลง
  • 9. 9 ในชวงวัยผูใหญตอนตน มีความคงที่ในวัยผูใหญ และหลังจากนั้นในวัยผูใหญตอนกลางจนถึงวัยชรา พัฒนาการในดานตางๆ เริ่มเสื่อมถอยลง แตคงไวซึ่งประสบการณชีวิตที่ผานมา การเปลี่ยนแปลงตาม ขั้นตางๆ นี้เปนเสมือนบันไดที่แตละบุคคลจะกาวขึ้นไป การประสบกับปญหาอุปสรรคเปนเรื่องปกติ และอาจเกิดขึ้นไดในทุกชวงพัฒนาการ ซึ่งจะเปนเหมือนการเรียนรู การรูจักแกไขปญหา และเผชิญกับ วิกฤตในชวงตางๆ การประสบกับความลมเหลวในขั้นหนึ่งๆ จะมีผลกระทําตอพัฒนาการของบุคคลคน นั้นในขั้นตอๆ ไปดวย เชน การไม ป ระสบผลสํ าเร็จ ในพัฒ นาการขั้นตนๆ จะส งผลตอพฤติกรรมที่ เบี่ยงเบนจากกลุมปกติ ตัวอยางพฤติกรรม เชน การเรียน และการเขาสังคมของบุคคลในชวงวัยเด็ก ตอนตนประสบปญหา สงผลใหเกิดปญหาพฤติกรรมตางๆ ในชวงวัยรุน และเกิดปญหาอุปสรรคการใช ชีวิตในชวงวัยผูใหญตามมาเชนกัน รูปแบบพัฒนาการทางจิตสังคมของแอริคสันมี 8 ขั้น โดยขั้น 1 ถึงขั้น 4 เปนชวงของการสั่ง สมประสบการณ และการเรียนรูในการแกปญหา ในขั้น 5 เปนเรื่องการปรับตัวเพื่อแสวงหาอัตลักษณ และขั้น 6 ถึงขั้น 8 เปนการนําเอาอัตลักษณไปใช โดยมีรายละเอียดตามขั้นตางๆ ดังตอไปนี้ ขั้นที่ 1 ความรูสึกไวเนื้อเชื่อใจ กับ ความไมไววางใจ (Trust vs. Mistrust) พัฒนาการขั้นแรกจะเกิดขึ้นในชวงตั้งแตแรกเกิดจนถึงขวบปแรก ในชวงนี้ทารกจะมีความสุข ความพึงพอใจบริเวณปาก และกิจกรรมเกี่ยวกับการกลืนกิน ซึ่งเกิดขึ้นในชวงปแรกของชีวิต ทารกที่อยู ในครรภมารดาจะไดรับการตอบสนองที่เพียบพรอม อยูในอุณหภูมิที่เหมาะสม รับอาหารผานทางสาย รก อยูในภาวะสงบเงี ยบ ทําให ทารกมีความพึงพอใจรู สึกมั่นคงปลอดภัย ตอ มาเมื่อทารกคลอดจาก ครรภมารดาจะตองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอม เชน การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ การกลืน กินทางปาก การขับถายทางทวารหนัก การไดยินเสียง และอื่นๆ ในขั้นนี้ห ากมารดาให ความรั กและการดูแลแก ทารกอยางสม่ํ าเสมอ ตอบสนองตอความ ตองการขั้นพื้นฐานทางกายและทางจิตใจอยางตอเนื่อง (เชน เมื่อทารกหิวก็ไดกิน ไดรับการสัมผัสลูบ คลําดวยความรัก ทนุถนอม ไดนอนหลับอยางสงบพอเพียง เมื่อขับถายก็ไดรับการดูแลความสะอาด) จะ ทํ าให ท ารกพั ฒ นาความรู สึ ก ไวเ นื้อ เชื่อ ใจขั้นพื้ น ฐาน (Basic Trust) ตอ บุ คคลและสิ่ ง แวดล อ ม ความสําเร็จของพัฒนาการในขั้นแรกสังเกตุไดจากการที่ทารกไมมีความวิตกกังวลมากจนเกินไป หรือไม มีอ ารมณรุ นแรง เชน การแสดง พฤติก รรมร อ งไห โ ยเยโดยไม ส มเหตุส มผล หรื อ แสดงความโมโห หงุดหงิด เพื่อเรี ยกรองความสนใจ เมื่อมารดาหรือผูดูแลคลาดสายตาไปการที่ทารกสามารถอยูตาม ลําพั ง ในระยะเวลาสั้ นๆ เมื่ อ เวลา ที่ ม ารดาหรื อ ผู ดูแลผละจากทารกไป เพื่ อ ทํ าธุร ะอื่นๆ ลั ก ษณะ ดังกลาวแสดงวา ทารกเริ่มมีความรูสึกมั่นคงและไววางใจ มีความมั่นใจวามารดาหรือผูดูแลจะกลับมา ดูแลเชนเดิม ถือเปนจุดพื้นฐานเริ่มตนของการพัฒนาอัตลักษณ (Ego Identity) ของบุคคลซึ่งจะเกิดขึ้น ชัดเจนในชวงวัยรุน
  • 10. 10 ทารกนอยที่ไดรับการสงเสริมพัฒนาการที่ดี จะสรางความไวเนื้อเชื่อใจตอบุคคลรอบขางและ สภาพแวดลอม มีความเชื่อมั่นและความหวังในการเริ่มตนพัฒนาการแหงชีวิตในอนาคต เมื่อชีวิตพวก เขาจะตองเผชิญกับปญหา หรือความกดดัน เขาก็จะมีความเขมแข็งในการฝาฟนปญหา ซึ่งเปนผลจาก การไดรับประสบการณทางบวกในชวงตนของชีวิตนั่นเอง สําหรับทารกที่มีความรูสึกไมไววางใจเกิดขึ้นถือเปนความลมเหลวของพัฒนาการขั้นแรกนี้ใน ตัวบุคคลคนนั้น ความไมไววางใจอาจมาจากมารดาหรือผูดูแลมีปฏิกิริยาตอบสนองไมเหมาะสมตอความ  ตองการของทารก การหางเหิน หรือปฏิเสธบุตร รวมทั้งมารดาที่มีลักษณะพึ่งพาไมได หรือมารดาที่ เลี้ยงดูทารกดวยความหงุดหงิด โกรธ ทารกจะแสดงพฤติกรรมเรียกรองมากเกินควร อยางไมมีเหตุผล หรืออาจแสดงพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมในลักษณะอื่นๆ และพัฒนาความรูสึกไมไววางใจตอบุคคลและ สิ่งแวดลอม ไมเขาใจสิ่งแวดลอม ไมไววางใจผูอื่นในพัฒนาการขั้นตอๆไป พัฒนาการทางดานรางกาย - มีการเจริญเติบโตทางรางกายอยางรวดเร็ว - มีการเคลื่อนไหวระยะแรก เปนไปโดยปฏิกิริยาสะทอน (Reflexive - ปฏิกิริยาตอบสนองสิ่ง เราแบบอัตโนมัติ เชน การกระพริบตา การกระตุก น้ําลายไหล เปนตน) แลวคอย ๆ หายไป ตอมาจะ พัฒนาเปนการเคลื่อนไหวของรางกาย รวมทั้งการเคลื่อนไหวที่มีจุดมุงหมายมากขึ้น ทารกจะสามารถ ควบคุมการเคลื่อนไหวสวนตางๆของรางกายไดมากขึ้น จากการที่ทารกสามารถชันคอ คว่ําตัว ลุกขึ้นนั่ง คลานเขา ยึดเกาะดึงตัวเพื่อยืนขึ้นเอง การเกาะเดินจนในที่สุดสามารถลุกขึ้นยืนไดเอง พัฒนาการทางดานภาษา - ทารกแรกเกิด แสดงความตองการใหผูเลี้ยงดูเขาใจ ดวยการรองไห - 2 เดือน ฟงเสียงคุย หันหาเสียง เปลงเสียงออแอ - 4 เดือน เปลงเสียงไดยาวขึ้น สงเสียงออ แอโ ตตอบ เมื่อ รูสึก พอใจจะสง เสียงเอิ๊ กอากใน ลําคอ - 6 เดือน หันหาเสียงเรียก สงเสียงหลายเสียง - 9 เดือน ฟงรูภาษา เขาใจสีหนา ทาทาง เลียนเสียงพยัญชนะแตไมมีความหมาย - 12 เดือ น เรี ยกพ อ แม / พู ดคํ าโดดที่ มี ความหมาย 1 คํา ทํ าท าตามคํ าบอกที่ มี ท า ทาง ประกอบได พัฒนาการทางดานความคิด สําหรั บพัฒนาการทางดานความคิดนั้นจะขอกลาวถึงแนวคิดของเพี ยเจท (Piaget) ซึ่งได ศึกษาเกี่ยวกับพั ฒนาการทางความคิดของมนุษย โดยพัฒนาการทางความคิดในระยะทารกนั้นเป น ระยะของ Sensori-motor Operation (แรกเกิด – 2 ป) และแบงลําดับขั้นพัฒนาการเปน 6 ระยะ
  • 11. 11 เมื่อเปรียบเทียบพัฒนาการในชวงแรกตามทฤษฎีของแอริคสัน ซึ่งอยูในชวงอายุขวบปแรก จะเทียบกับ แนวคิดของเพียเจทได 4 ระยะคือ ระยะ 0 – 2 เดือน (Reflexive) พฤติกรรมตางๆ เปนปฏิกิริยาสะทอน (ปฏิกิริยาตอบสนอง สิ่งเราแบบอัตโนมัติ เชน การกระพริบตา การกระตุก น้ําลายไหล เปนตน) ระยะ 1 – 4 เดือน (Primary circular reaction) ประสบการณที่เกิดขึ้นจะเปนสิ่งกระตุน การเคลื่อนไหวของเด็ก เด็กจะทําซ้ํา ๆ แตยังไมมีจุดมุงหมาย สนใจการเคลื่อนไหว ไมใชสนใจผลของ การเคลื่อนไหว ระยะ 4 – 9 เดือน (Secondary circular reaction) เริ่มมีความตั้งใจทําพฤติกรรมการ เคลื่อนไหว และสนใจผลของพฤติกรรมนั้น ๆ ระยะ 9 – 12 เดือน (Coordination of secondary reaction) เริ่มแกปญหาอยางงายๆได ใชพฤติกรรมในอดีตที่ผานมาชวยแกปญหา สามารถแยกสิ่งที่ตองการออกจากสิ่งที่ไมตองการ สามารถ เลียนแบบการเคลื่อนไหว ในขั้นนี้ทารกจะมีการเจริญเติบโตทางรางกายอยางรวดเร็ว ในขณะที่พัฒนาการทางความคิด เปนแบบงายๆ ไมซับซอน และมักเปนปฎิกิริยาสะทอน ขั้นที่ 2 ความเปนตัวของตัวเอง กับ ความละอายและสงสัย (Autonomy vs. Shame and Doubt) ในพัฒนาการขั้นที่ 2 เกิดขึ้นระหวางขวบปที่ 2 – 3 ของชีวิต พั ฒนาการในขั้นนี้เด็กจะมี พัฒนาการทางรางกาย โดยเฉพาะกล ามเนื้อ มากขึ้น และเริ่ มที่ จะเรี ยนรู การควบคุมส วนตางๆของ รางกาย เคลื่อนไหวรางกายอยางเปนอิสระมากขึ้น สามารถที่จะเรียนรูอยางรวดเร็ว และเริ่มสํารวจ สิ่งแวดลอมรอบขาง เด็กในวัยนี้จะเริ่มฝกหัดการขับถาย การควบคุมกลามเนื้อหูรูด ความรูสึกเปนตัวของตัวเอง (Sense of Autonomy) และการควบคุมตนเอง (Self Control) จะเกิดขึ้นไดถาผูปกครองใหการอบรมเลี้ยงดูอยางเหมาะสม มีความมั่นคงอดทน ใหโอกาสเด็กไดทําสิ่ง ตางๆตามความปรารถนาของตนเองโดยอยูในการดูแลของผูปกครอง (เชน การเคลื่อนไหว การเดิน การ  ปนปายการหยิบจับสิ่งของอยางเปนอิสระ โดยที่ ผูปกครองไมแสดงทาทีตื่นตระหนก หรือกังวลมาก เกินไป) จะทําใหเด็กรูสึกภาคภูมิใจในความสําเร็จของตนเอง มีความรูสึกที่ดีตอผูอื่น ผลดีอีกประการคือ เด็กจะพัฒนาความรูสึกมุงมั่น (Will) ซึ่งหมายถึง ความมุงมั่นตั้งใจแนวแนในการเลือก และในการยับยั้ง ตนเอง เด็กจะกลาที่จะแสดงความคิดเห็นและกลาที่จะตัดสินมากขึ้น รวมทั้งมีความมุงมั่นและตั้งใจใน การทํากิจกรรมตางๆ ในทางตรงขามหากผูปกครองปลอยปละละเลย ดุวา หรือเขมงวดกับเด็กมาก เกินไป เด็กจะรูสึกละอาย สงสัยในความสามารถของตนเอง ไมมั่นใจในการแสดงความคิดเห็น ไมมั่นใจ วาจะควบคุมชีวิตตนเองได ผลกระทบหนึ่งที่อาจเกิดขึ้นคือทําใหเด็กมีบุคลิกภาพไมเหมาะสม ขาดความ เชื่อ มั่ น วิตกกั ง วล หวาดระแวงสงสั ย หรื อมี พ ฤติก รรมย้ําทํ า นอกจากนี้ บุ คคลที่ ไดรั บการพั ฒ นา
  • 12. 12 ความรูสึกเปนตัวของตัวเอง และการควบคุมชีวิตตนเองอยางเหมาะสม เมื่อโตขึ้นเขาจะเปนผูใหญที่จะ สนับสนุน และเชื่อมั่นสถาบันทางกฎหมายของสังคม มีความเคารพและอยูภายใตกฎหมายของสังคม พัฒนาการทางดานรางกายและภาษา - เด็กเปนอิสระทางกาย (Physical Independence) มากขึ้น สามารถเดินวิ่งไดเอง สํารวจ สิ่งแวดลอมได - เด็กเริ่มพูดเปนคํา ๆ ไดมากขึ้น เขาใจคําสั่งและภาษาทาทางมากขึ้น เมื่ออายุ 2 ป พูด 2 – 3 คําตอกันไดอยางมีความหมาย พัฒนาการทางดานความคิด พัฒนาการทางความคิด ระยะSensori-motor ของ Piaget ระยะ 12 – 18 เดือน (Tertiary Circular Reaction) เริ่มมีพฤติกรรมลองผิดลองถูก (Trail & Error) สนใจผลที่เกิดขึ้น เปนตัวของ ตัวเอง เริ่มมีความเขาใจวัตถุภายนอก รับรูการคงอยูของวัตถุแมเมื่อวัตถุนั้นถูกปดบัง หรือซอนเลนลับ ตาไป หรื อถูก เคลื่อ นยายไปที่อื่น (Object Permanence) ระยะ 18 – 24 เดือน เริ่ม มีความคิด จินตนาการ มีความสามารถแกปญหาดวยวิธีใหมๆ แตยังเปนลักษณะลองผิดลองถูกอยู (Invention of new means through mental combination) ขั้นที่ 3 ความคิดริเริ่มกับความรูสึกผิด (Initiative vs. Guilt) พัฒนาการในขั้นนี้อยูในชวงอายุ 3 – 5 ป เด็กวัยนี้รางกายมีความสามารถและชวยตัวเองได มากขึ้นกวาเดิม แตก็ยังอยูในวงจํากัด การพัฒนาความคิดริเริ่มสรางสรรคสําหรับเด็กในชวงวัยนี้ทําได โดยใหเด็กไดรวมทํากิจกรรมตาง ๆ ที่ทาทายความสามารถของเขา รวมทั้งสิ่งแวดลอมก็มีสวนผลักดัน และเสริมสรางความคิดสรางสรรคใหกับเด็กได ระยะนี้เปนระยะที่เด็ก เริ่มเรียนรู บทบาททางเพศ มาตรฐานทางศีลธรรมและการควบคุม อารมณ ครอบครั วจะเป นแหล ง ชี้แนะถึง สิ่ งตางๆ ในสั งคมให แก เ ด็ก เด็ก เริ่ม สร างบุ คลิ ก ภาพและ ความรูสึกผิดชอบชั่วดีจากการไดมีกิจกรรมและประสบการณรวมกับสิ่งแวดลอมรอบๆ ตัว การอบรมสั่ง สอนโดยพอแม หรือผูใหญในครอบครัวจะชวยใหเด็กไดซึมซาบเขาไป เปนการรูสํานึกผิดชอบชั่วดีใน ความคิด และแสดงออกในพฤติกรรมของเด็ก การเรียนรูนี้เด็กจะไดรับจากตัวแบบ (Role Model) ใน ครอบครั ว โดยมี ตัวแบบเป นตั วอยาง และให ขอ มู ล แก เ ด็ก เพื่ อ เรี ย นรู วาสิ่ ง ใดถูก สิ่ ง ใดผิ ด ดัง นั้ น ความรู สึ ก ผิ ด ชอบชั่ ว ดี จึ ง สามารถสร า งขึ้ น โดยการเรี ย นรู จ ากบุ ค คลในครอบครั ว และรวมถึ ง แนวความคิดคานิยมของสังคม ในระยะนี้ครอบครัวมีบทบาทอยางยิ่งในการปลูกฝงความรูสึกผิดชอบชั่ว ดีใหแกเด็ก การสรางความสัมพันธในระยะนี้จะเริ่มดวยความสัมพันธระหวางแม-เด็ก ตอมาพอเขามามี สวนเกี่ยวของดวย และเมื่อสังคมของเด็กกวางขวางขึ้นเด็กจะเริ่มสรางความสัมพันธกับบุคคลอื่น เด็ก เริ่มเปนตัวของตัวเอง เด็กที่ มีประสบการณมากจะสามารถชวยเหลือตัวเองไดมาก เด็กที่ไมสามารถ
  • 13. 13 พัฒนาผานขั้นความคิดริเริ่มไปไดจะเกิดความรูสึกผิด และไมกลาที่จะเปนผูริเริ่ม เนื่องจากเกิดความ กลัววาจะทําผิดพลาดอีก พัฒนาการของเด็กเปนความรับผิดชอบรวมกันทั้งเด็ก พอแม และชุมชน การไดทํากิจกรรม ตางๆ รวมกัน หรือการมีปฏิสัมพันธ (Interaction) ในสังคมจะเปนการชวยถายทอดความรูสึกนึกคิด เจตคติ คานิยมของสังคมใหแกเด็กไดทีละนอย โดยมีผูใหญชวยกันประคับประคองใหเด็กพัฒนาไปสู ความสมบูรณได เด็กวัยนี้ควรไดรับโอกาสทํากิจกรรมตาง ๆ ตามความสามารถอยางอิสระ เชน การเลน การคิด การประดิษฐ การจินตนาการตางๆ และควรไดรับการสนับสนุนใหเขารวมกิจกรรมทางศาสนา อยางตอเนื่อง เพื่อใหซึมซับความรูสึกผิดชอบชั่วดี และหลักศีลธรรมจรรยา หากเด็กวัยนี้ไดรับการจํากัด  ในการทํากิจกรรมหรือถูกตําหนิ เมื่อคิดและทดลองทําสิ่งตางๆ จะทําใหเด็กขาดความเชื่อมั่นในตนเอง มีความคิดคัดคานหรือความรูสึกผิดเกิดขึ้นเนื่องจากเขาไมสามารถทําสิ่งตางๆ ไดสําเร็จดั่งใจและถูก ลิดรอนหรือขัดขวางความสามารถของตนเอง ทําใหความรูสึกผิดเกิดสะสมในตัวเด็กและมีผลใหเด็กขาด ความคิดสรางสรรค พัฒนาการทางดานรางกายและภาษา เด็กวัยนี้สามารถเดิน วิ่ง กระโดดโลดเตนได เด็กจะมีทัศนคติไปในทางที่ดี ถาไดทํากิจกรรม ตางๆ อยางมีอิสระ ไดใชความคิดและพลังงานของเขา และการไดสัมผัสกับสิ่งแวดลอม เด็กตองการ เคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา ในระยะแรกๆ ของขั้นนี้เด็กจะมีความกระตือรือรนและเริ่มมีความกาวราว เกิดขึ้น เพื่อจะเอาชนะ ลักษณะพฤติกรรมของเด็กวัยนี้จะแตกตางกันไปตามเพศ และในที่สุดจะพัฒนา เปนบุคลิกภาพที่แสดงถึงความเปนชายและหญิงอยางเห็นไดชัด รูปแบบพฤติกรรมของเด็กชาย เด็กชาย จะชอบกระโดดโลดเตน ตองการมีความรูใหมๆ และชอบยุงเรื่องของคนอื่น ซึ่งเปนเรื่องเกี่ยวกับความ อยากรูอยากเห็นในสิ่งตางๆ โดยเฉพาะเกี่ยวกับเรื่องเพศ โดยแสดงออกมาในรูปแบบตางๆ เชน การไม สามารถอยูนิ่งๆ อาการกระวนกระวาย การจูโจมถึงตัวบุคคล ในขณะที่เด็กหญิง รูปแบบที่แสดงออกมา จะเริ่มตนคลายกับหญิงสาวทั่วไป เชน มีเสนห นารัก มีทีทาขวยเขิน เยายวน จนถึงขั้นที่แสดงออกถึง ความสงบเสงี่ยมซึ่งเปนลักษณะของสาวๆ ทั้งหมดนี้เปนการเริ่มตนที่แสดงออกถึงเพศแม เด็กหญิงเริ่มมี บทบาทของความเปนแมตอไปในรูปของทวงทีการพูดคุย การแสดงออกตาง ๆ ในสังคมจะสะทอนให เห็นถึงพฤติกรรมตางๆ รวมถึงอุปนิสัยสวนลึกที่จะยอมรับใครเขามารวมเกี่ยวของดวย พฤติกรรมตางๆ เหลานี้ถือวาเปนธรรมชาติของเด็ก สภาพแวดลอมของครอบครัวมีบทบาทสําคัญตอการแสดงออกของ เด็กเปนอยางมาก เมื่อเด็กผานชวงนี้ไป ความสนใจเรื่องเพศจะเปลี่ยนจากความสนใจในบุคคลอื่นเปน การคนหาสิ่งใหมๆ ใหกับตัวเอง เด็ก มีความสามารถทางภาษาและสามารถใชไดดีขึ้นกวาเดิม ชอบพู ดและตั้งคําถามถึงสิ่ ง ตางๆ รอบตัว และมีจินตนาการทางความคิดตางๆ ในขณะกําลังทํ ากิจกรรมนั้นๆ เด็กในชวงนี้กําลั ง เรียนรู ในสิ่ง แปลกใหม ผู ใหญ ควรปลอ ยใหเด็กไดพู ดถาม และทํ ากิ จกรรมตางๆ อยางอิส ระภายใน
  • 14. 14 ขอบเขตความสามารถ และจินตนาการของเขา การมีสวนรวมในกิจกรรมตลอดถึงการใชภาษาจะชวย ใหเด็กเกิดความคิดในการวางแผนและการริเริ่มทํากิจกรรมตางๆ ซึ่งจะเปนการสงเสริมใหเขาตองการที่ จะศึกษาคนควาตอไป เด็กก็จะมีความคิดริเริ่ม แตในทางตรงกันขามถาผูใหญคอยเขมงวด ไมเปดโอกาส ใหเด็กไดซักถาม หรือตําหนิดุวาพฤติกรรมที่เขาแสดงออกอยูตลอดเวลา เขาก็จะรูสึกผิด และไมกลา แสดงออกเมื่อคิดจะทําสิ่งใด ขั้นที่ 4 ความขยันหมั่นเพียรกับความรูสึกต่ําตอย (Industry vs. Inferiority) ขั้นนี้อยูในชวงอายุ 6 – 12 ป ชวงวัยเด็กตอนปลายเปนระยะที่เด็กมีความเจริญเติบโตและมี ความอยากรูอยากเห็นในสิ่งแวดลอมตาง ๆ มากขึ้นยิ่งกวาในวัยเด็กตอนตนและวัยเด็กตอนกลาง การ เสาะแสวงหาสิ่งตางๆ ทําใหเด็กมีประสบการณกับสิ่งใหม ๆ รอบตัวเขามากขึ้น เมื่อเขาคิดวาสิ่งใดที่เขา ตองการเขาจะตองแสวงหาใหไดตามความปรารถนา เนื่องจากในวัยที่ผานมาเขาไมสามารถทํากิจกรรม หลายอยางได เพราะมี ผู ใ หญ ค อยบั ง คับ และควบคุม เด็ก ในวัย นี้ตอ งการแสดงความคิดเห็ นและ แกปญหาตางๆ เพื่อแสดงความเปนผูใหญ จุดสําคัญของพัฒนาการระยะนี้คือการไดแสดงออกวาเขามี ความคิด และมีความสามารถเหมือนผูใหญคนอื่นๆเชนกัน ในชวงอายุนี้บุคคลรอบขางควรชวยชี้แนะ แนวทางในการดํ าเนินชีวิตเพราะเป นระยะที่ พ วกเขาเริ่ ม ไตร ตรองถึง อนาคต การที่ ไดพิ สู จ นวา มี ความสามารถกระทําสิ่งตางๆ ในขอบเขตของเขาไดอยางเหมาะสมทําใหเด็กในวัยนี้มีความเชื่อมั่นวาเขา จะประสบความสําเร็จในอนาคต พัฒนาการทางรางกาย การเจริญเติบโตดานรางกายของเด็กวัยนี้มีลักษณะคอยเปนคอยไปอยางชา ๆ สม่ําเสมอ มี การเปลี่ยนแปลงของกลามเนื้อและระบบประสาทซึ่งทํางานประสานกันไดดีขึ้น การเจริญเติบโตอยาง รวดเร็วของอวัยวะภายในเกือบทุกระบบ การเปลี่ยนแปลงดานน้ําหนัก การเจริญเติบโตของกระดูกและ ฟน และการขยายออกของรางกายซึ่งเปลี่ยนไปในดานสวนสูงมากกวาสวนกวาง โดยความสูงจะเพิ่มขึ้น 2 – 3 นิ้วตอป สัดสวนรางกายใกลเคียงผูใหญมากขึ้น เด็กผูหญิงจะมีการเจริญเติบโตทั้งดานรางกาย และวุฒิภาวะเร็วกวาเด็กผูชายประมาณ 1 – 2 ป จากลักษณะการเจริญเติบโตทางดานรางกายดังกลาว ทําใหเด็กวัยนี้เริ่มใหความสนใจกับรูปรางหนาตา มีความอยากรูอยากเห็นในเรื่องราวทางกายของเพศ ตรงขาม อยางไรก็ตามการเจริญเติบโตที่เกิดขึ้นทุกดานของเด็กวัยนี้ขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ เชน ลักษณะทางพันธุกรรม การเลี้ยงดูเอาใจใสจากครอบครัว และตัวเด็กเอง เชน รูปแบบการรับประทาน อาหาร การออกกําลังกายที่เหมาะสม การมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่สมบูรณแข็งแรง พัฒนาการทางอารมณ พัฒนาการทางอารมณของเด็ก วัยนี้คือ การมีความคิดละเอียดออนมากขึ้น สามารถเขาใจ อารมณของตนเองและผูอื่นไดดีขึ้น ควบคุมอารมณของตนได เรียนรูที่จะแสดงอารมณไดเหมาะสมใน รูปแบบที่สังคมยอมรับได เด็กวัยนี้สามารถควบคุมและระงับความโกรธไดดีขึ้น ไมมีลักษณะของการ
  • 15. 15 โกรธงายและหายเร็ว พัฒนาการการแสดงออกจะเปลี่ยนไป จากเดิมที่แสดงออกดวยการรองไหดิ้นกับ พื้นเสียงดัง ทิ้งตัวลงนอนเมื่ออยากไดรับการตอบสนองในสิ่งที่ตองการ จะเปลี่ยนเปนการคิดแกแคนใน ใจแตไมทําจริงดังที่คิด หรือการหลีกเลี่ยงจากสถานการณที่ไมพึงพอใจในทันที ไมมีพฤติกรรมแบบตอสู โดยใชกําลัง ดานความรักเด็กวัยนี้แสดงออกดวยการมีน้ําใจชวยเหลือผูอื่น ราเริงแจมใส อารมณดี จะ ระมัดระวังไมทําใหผูอื่นเสียใจหรือกระทบกระเทือนใจ โดยเฉพาะขณะอยูในกลุมเพื่อน หรือในสังคม เขาตองการความรัก ความอบอุนมั่นคงในครอบครัวและหมูคณะ นอกจากนี้เด็กจะเลิกกลัวสิ่งที่ไมมี ตัวตน พิสูจนไมได อารมณกลัวของเด็กวัยนี้เกิดจากประสบการณ และการเรียนรูที่ไดรับมา สิ่งที่เด็กวัย นี้กลัวมากที่สุดคือ กลัวการไมเปนที่ยอมรับของกลุม กลัวไมมีเพื่อน ไมชอบการแขงขัน ไมตองการเดน หรือดอยกวากลุม ชอบการยกยองแตไมชอบการเปรียบ- เทียบ นอกจากนี้เด็กยังกลัวอันตรายตาง ๆ ที่ จะเกิดขึ้นกับตนและบุคคลที่รัก การตอบสนองความกลัวจะเปนลักษณะการตอสู การถอยหนี และการ ทําตัวใหเขากับสิ่งนั้นๆ ความกลัวของเด็กจะเริ่มลดลงเรื่อยๆ พรอมกับการเปลี่ยนแปลงดานรางกาย เด็กจะเปลี่ยนจากความกลัวเปนความกังวลเรื่องรูปรางของตนเองแทน คือ กังวลจากความตองการให ตนมีรูปรางที่แข็งแรงในเด็กชาย หรือมีรูปรางหนาตาสวยงามในเด็กหญิง อยางไรก็ตาม เด็กวัยนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงความรูสึกที่เกิดขึ้นเร็ว บางครั้งทําตัวเปนผูใหญ บางครั้งทําตัวเปนเด็ก ความขัดแยงทางอารมณจึงเกิดขึ้นไดเสมอ พัฒนาการทางอารมณของเด็กวัยนี้จึง ขึ้นอยูกับลักษณะการเลี้ยงดูของพ อแม ซึ่งมีผลสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาความรู สึกมั่นคงของเด็ก ตอไป พัฒนาการทางดานความคิดและสังคม เด็กจะสนใจในสิ่งตางๆ แลวพยายามดัดแปลงใหมาสูแบบฉบับของเขา ความสามารถในการ เลียนแบบจะปรากฏออกมาในรูปของ การเรียนรูภายในขอบเขตความสามารถของตัวเอง ซึ่งมีพื้นฐาน มาจากสิ่ ง แวดล อ มทางวัฒ นธรรมและสั ง คม เด็ก จะมองเห็ นวาพ อ แม เ ป นตัวแทนของสั ง คม เป น แบบอยางแกเขา แตเขายังตองการตัวแบบอื่นๆ เพื่อการเปรียบเทียบดวย เชน เพื่อนของพอแม และพอ แมของเพื่อน เปนบุคคลสําคัญที่ใหมสําหรับเขา นอกจากนี้เพื่อนบาน เพื่อนในโรงเรียน เปนสิ่งสําคัญ ทางสังคมที่เขาจะพิจารณา และคนแปลกหนากลายเปนสิ่งที่นาสนใจสําหรับเขา เด็กหญิงและเด็กชาย จะแสวงหาผูใหญและบุคคลอื่นๆ เพื่อการวิเคราะห เขาคิดวาพอแมยังไมสมบูรณพอที่เขาจะเลียนแบบ ไดครบทุกดาน ในโลกของเด็กมีการสมมติตําแหนงตางๆ ที่สําคัญเหมือนผูใหญ เด็กมีความนับถือตนเอง เป นเกณฑเ พื่ อ วัดความสําเร็ จหรื อความล ม เหลวของตน เด็ก จะแสวงหาตัวแบบจากครอบครั วที่ มี ลั ก ษณะพิ เ ศษออกไป ทางด านการปรั บ ตั วของเด็ก ในสั ง คม เด็ ก จะมี ก ารยอมรั บ ตัว เองมากขึ้ น นอกจากนี้โรงเรียน กลุมเพื่อนรุนเดียวกันและกลุมบุคคลทางศาสนา จะมีสวนชวยสนับสนุนการปรับตัว ของเด็กไดเปนอยางดี ในชวงวัยนี้เด็กเริ่มเปลี่ยนความผูกพันจากครอบครัวไปสูสถาบันอื่นในสังคม