SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 16
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การเขียนความ
            เรียงขั้นสูง



ที่มา:pccl.ac.th/files/101217099455573_11010514141701.ppt
การเขียนความเรียงขั้นสูง
         การเขียนความเรียงขั้นสูง เป็นสาระที่ว่าด้วยการศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระ
 ในเรื่องที่ผู้เขียนสนใจที่มาจากการทีผู้เขียนได้เรียนจากสาระการเรียนรู้ เน้นการ
                                     ่
 ฝึกกระบวนการค้นคว้าด้วยตนเอง การถ่ายทอด/สื่อความหมาย แนวคิด และ
 ข้อมูลเป็นความเรียงทางวิชาการที่มีเนื้อหาเชื่อมโยงอย่างเป็นขั้นเป็นตอน
 สมเหตุสมผล ที่สละสลวยโดยใช้คาจานวน ๔,๐๐๐ คา
เนื้อหาหลัก
 ๑. การค้นคว้า (research) ได้แก่
                 ๑.๑ การกาหนดหัวข้อ/ชื่อเรื่อง/ชื่อโครงการ (topic)
                 ๑.๒ การเรียบเรียงหัวข้อเรื่อง (focus)
                 ๑.๓ การค้นหาแหล่งค้นคว้า (search for sources)
                 ๑.๔ การกาหนดโครงร่าง (working outline)
                 ๑.๕ การรวบรวมข้อมูล (assemble sources/materials)
เนื้อหาหลัก (ต่อ)

 ๒. การเขียน (writing) ได้แก่
                ๒.๑ การเขียนชื่อเรื่อง (title page)
                ๒.๒ การเขียนสาระย่อ (abstract)
                ๒.๓ สารบัญ (contents page)
                ๒.๔ การเขียนคานา (introduction)
                ๒.๕ การเขียนเรียบเรียงเนื้อเรื่อง (body development)
                ๒.๖ การเขียนบทสรุป (conclusion)
                ๒.๗ การเขียนบรรณานุกรม และเอกสารอ้างอิง (reference)
                ๒.๘ ภาคผนวก (appendix)
๑. การค้นคว้า (RESEARCH)

        ๑.๑ การกาหนดหัวข้อ/ชื่อเรื่อง/ชื่อโครงการ (topic) นิยมตั้งชื่อให้มี
 ความกะทัดรัด ดึงดูดความสนใจจากผู้อ่าน ผูชม การกาหนด ชื่อแบบใด ๆ นั้น
                                            ้
 ต้องคานึงถึงความสามารถที่จะสื่อความหมายถึงวัตถุประสงค์ที่ต้องการศึกษาได้
 ชัดเจน กล่าวคือต้องเข้าใจปัญหาทีสนใจศึกษาอย่างแท้จริง อันจะนาไปสู่การ
                                 ่
 เข้าใจวัตถุประสงค์ของการศึกษาอย่างแท้จริงด้วย
๑. การค้นคว้า (RESEARCH)

          ๑.๒ การเรียบเรียงหัวข้อเรื่อง (focus) ๑) เรียบเรียงหัวข้อเรื่องโดยใช้
 ภาษาง่าย กระชับ และชัดเจนครอบคลุมปัญหาที่ศึกษา ๒) หัวข้อเรื่องต้องบอกได้
 ว่าเป็นการศึกษาอะไร กับใคร หรือของใคร ที่ไหน หรือเมื่อไร ๓) หัวข้อเรื่อง
 ต้องไม่ยาวจนดูฟุ่มเฟือย อ่านแล้วเข้าใจยาก หรือจับประเด็นไม่ได้ ๔) หัวข้อ
 เรื่องต้องไม่สั้นจนเกินไป อ่านไม่รู้เรื่องว่าทาอะไร ๕) หัวข้อเรื่องควรขึนต้นด้วย
                                                                         ้
 คานาม เพื่อให้เกิดความไพเราะสละสลวย ๖) หัวข้อเรื่องควรระบุถึงประเภท หรือ
 วิธการศึกษา ตัวแปรสาคัญ กลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มเป้าหมายลงไปด้วย
      ี
๑. การค้นคว้า (RESEARCH)
            ๑.๓ การค้นหาแหล่งค้นคว้า (search for sources) ๑) ค้นคว้าจากหนังสือ
 วิทยานิพนธ์ หนังสืออ้างอิง เอกสารต่าง ๆ สามารถค้นคว้าได้จาก หอสมุดแห่งชาติ
 ห้องสมุดสถาบันต่าง ๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หนังสือเหล่านี้นับเป็นแหล่งข้อมูลหลักที่สาคัญ
 ๒) ค้นคว้าจากหนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร วรสาร จุลสาร สิ่งตีพิมพ์เหล่านี้จะให้ข้อมูลที่
 ทันสมัยทันใจกว่าหนังสือ เพราะผลิตสู่ตลาดเป็นประจาทุกวัน ทุกสัปดาห์ และทุกเดือน ๓) การ
 สัมภาษณ์ผ้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์นับเป็นวิธีการที่รวดเร็ว และได้ข้อมูลที่
              ู
 ทันสมัยที่สุด นิยมใช้กันมากในยุคแห่งโลกสื่อสารปัจจุบัน ๔) การสนทนากับบุคคลทั่วไป เพื่อ
 แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็น วิธีนี้จะทาให้ผู้เขียนมีความคิดที่กว้างไกล และช่วยพัฒนา
 ความคิดและระบบความคิดของผู้เรียนด้วย ๕) การบันทึกเหตุการณ์และเรื่องราวต่าง ๆ ที่พบเห็น
 วิธีนี้เป็นวิธีที่ผู้เขียนสร้างแหล่งข้อมูลขึ้นมาเอง ๖) การเก็บข้อมูลจากสถานที่จริง การได้
 รายละเอียดของแหล่งข้อมูลจริงจะทาให้ได้เนื้อหาและหลักฐานที่เป็นจริง นับเป็นแหล่งข้อมูลที่มี
 ค่า ๗) ข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ เช่นวิทยุกระจายเสียงวิทยุ โทรทัศน์ วีดทัศน์ ไมโครฟิลม
                                                                        ิ             ์
 ภาพยนตร์ ฯลฯ โดยเฉพาะในปัจจุบันเทคโนโลยีและระบบสื่อสารต่าง ๆ ก้าวหน้าทันสมัยและ
 รวดเร็ว ผู้เรียนอาจค้นคว้าหาข้อมูลได้จากเครื่องมือระบบใหม่ได้ เช่นอินเทอร์เนต
๑. การค้นคว้า (RESEARCH)

        ๑.๔ การกาหนดโครงร่าง (working outline) เป็นการวางและ
 จัดลาดับโครงร่างอันเป็นความคิดทีสาคัญของเรื่องที่จะเขียน การกาหนดโครงร่าง
                                  ่
 ไว้อย่างดีจะเป็นแนวทางในการเขียน ทาให้งานเขียนสมบูรณ์และมีคุณค่า
            โครงร่างมี ๒ ประเภท ๑) โครงร่างประเภทหัวข้อ เป็นการเสนอ
 ประเด็นความคิดเป็นหัวข้อด้วยคาหรือวลีสั้น ๆ ถ้ามีหัวข้อรอง หัวข้อย่อยควร
 จัดลาดับให้หัวข้อลดหลั่นกันลงมาด้วยตัวเลข เมื่อจะลงมือเขียนต้องเรียบ
 เรียงความคิดให้เป็นประโยคอีกครั้งหนึ่ง ๒) โครงร่างประเภทประโยค เป็นการ
 เสนอประเด็นความคิดเป็นประโยคทีสมบูรณ์ซึ่งจะเป็นประโยคใจความสาคัญของ
                                    ่
 แต่ละย่อหน้าต่อไป
วิธีการเขียนโครงร่าง
             วิธีการเขียนโครงร่างทาได้ ๒ วิธี คือ ๑) โครงร่างที่สร้างจากความคิดย่อย ๒) โครงร่างที่
 สร้างจากความคิดหลัก
               ๑) โครงร่างที่สร้างจากความคิดย่อย มีขั้นตอนรายละเอียด ดังนี้
             ๑.๑) ขั้นตอนการรวบรวมความคิด พิจารณาว่าเรื่องที่จะเขียนนี้มีเนื้อหาอะไรบ้าง คิดได้ก็จด
 ไว้ทุกประเด็นความคิดของเรื่องที่จะเขียนอาจได้มาจากความรู้หรือประสบการณ์เดิม
             ๑.๒) ขั้นตอนการจัดกลุ่มความคิด คัดเลือกประเด็นที่เกี่ยวกับเรื่องที่จะเขียน จากนั้นนาประเด็น
 ที่เกี่ยวข้องมาจัดกลุ่ม แล้วกาหนดข้อความเป็นหัวข้อใหญ่ให้ครอบคลุมเนื้อหาแต่ละกลุ่มอย่างชัดเจน
             ๑.๓) ขั้นตอนการจัดลาดับความคิด นากลุ่มความคิดมาจัดลาดับตามเรื่องราว ตามเหตุผล
 ตามเวลา ตามเหตุการณ์ก่อน-หลัง ตามลาดับ ความสาคัญ ตามทิศทาง ตามสถานที่ ตามลาดับใกล้-
 ไกล และตามลาดับจากส่วนใหญ่สู่สวนย่อย หรือจากส่วนย่อยสู่ส่วนใหญ่
                                       ่
             ๑.๔) ขั้นตอนการทบทวนความคิดและปรับปรุงโครงร่างให้สมบูรณ์ พิจารณาทบทวนว่าโครง
 ร่างที่เขียนไว้นั้นมีประเด็นความคิดครบถ้วนหรือยัง เพียงพอหรือไม่ ถ้ายังก็เพิ่มเติมหรือเสริมความคิด
 ให้ครบถ้วน ซึ่งอาจจะทาได้ทั้งในระดับหัวข้อใหญ่ และหัวข้อย่อย
วิธีการเขียนโครงร่าง

          ๒) โครงร่างที่สร้างจากความคิดหลัก มีขนตอนรายละเอียด ดังนี้
                                                     ั้
          ๒.๑) ขั้นตอนการกาหนดความคิดหลัก ต้องคิดพิจารณาอย่างรอบคอบว่าเรื่องที่จะเขียน
 ควรมีความคิดหลักเป็นเนื้อหาสาคัญอะไรบ้าง แล้วรวบรวมความคิดหลักไว้เป็นข้อ ๆ
          ๒.๒) ขั้นตอนการขยายความคิดหลัก อาจขยายหรือเพิ่มเติมความคิดย่อยให้มากขึ้น
 เพื่อจะได้โครงเรื่องที่สมบูรณ์ ทั้งนี้ไม่จาเป็นต้องขยายความคิดหลักทุกหัวข้อก็ได้
          ๒.๓) ขั้นตอนการจัดลาดับความคิด นากลุ่มความคิดมาจัดลาดับตามเรื่องราว ตาม
 เหตุผล ตามเวลา ตามเหตุการณ์ก่อน-หลัง ตามลาดับ ความสาคัญ ตามทิศทาง ตามสถานที่
 ตามลาดับใกล้-ไกล และตามลาดับจากส่วนใหญ่สส่วนย่อย หรือจากส่วนย่อยสู่ส่วนใหญ่
                                                        ู่
          ๒.๔) ขั้นตอนการทบทวนความคิดและปรับปรุงโครงร่างให้สมบูรณ์ พิจารณาโครงร่าง
 อีกครั้งหนึ่งว่ามีเนื้อหาสมบูรณ์ และมีโครงร่างเป็นลาดับต่อเนื่องกันหรือยัง เมื่อเห็นว่าสมบูรณ์
 แล้วก็นามาขยายโครงร่างเป็นประโยค
๑. การค้นคว้า (RESEARCH)

          ๑.๕ การรวบรวมข้อมูล ข้อมูลจากเอกสารใช้วิธีรวบรวมข้อมูลจากการอ่าน ดังนี้ ๑)
 สารวจว่าหนังสือและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่ศึกษามีเนื้อหาตรงตามที่ต้องการมากน้อย
 เพียงใด โดยดูจากสารบัญหรือดรรชนีท้ายเล่ม ๒) อ่านเรื่องที่เลือกไว้โดยจับใจความสาคัญ
 และทาความเข้าใจเนื้อหานั้น ๆ ๓) บันทึกข้อมูลจากการอ่านอย่างเป็นระเบียบ โดยบันทึกลง
 ในบัตรบันทึก ควรบันทึกแผ่นละหนึ่งหัวข้อเรื่องสิ่งที่ควรบันทึก ได้แก่ หัวเรื่องที่บันทึก
 แหล่งที่มาของข้อมูล (ควรเขียนตามแบบบรรณานุกรม) แหล่งค้นคว้า และสิ่งที่ได้จากการอ่าน
 ซึ่งอาจจะใช้วิธีย่อหรือสรุปสาระ โดยเขียนเป็นสานวนของผู้บันทึก หากตอนใดสาคัญก็คัด
 ข้อความไว้ หรืออาจสรุปความและแสดงความคิดเห็นประกอบ เช่นวิจารณ์ข้อเท็จจริง โต้แย้ง
 หรือสนับสนุน ทั้งนี้การบันทึกข้อมูลอย่างเป็นระเบียบจะช่วยให้การเขียนสะดวกและรวดเร็วขึ้น
 ข้อมูลและบันทึกข้อมูลสนาม มีวิธีการเก็บข้อมูลเฉพาะของแต่ละวิธี เช่น หากเก็บข้อมูลโดยวิธี
 ออกแบบสอบถามก็ต้องสร้างแบบสอบถาม กาหนดผู้ตอบแบบสอบถาม กาหนดวิธีการส่ง
 แบบสอบถาม และการเก็บแบบสอบถามคืน
๑. การค้นคว้า (RESEARCH)

         เมื่อรวบรวมข้อมูลแล้วก็จัดระเบียบหรือจาแนกประเภทของข้อมูลออกเป็น
 กลุ่มต่าง ๆ ตามประเด็นของโครงร่าง คือหัวข้อใหญ่ และหัวข้อย่อยทีวางไว้
                                                                   ่
 ต่อจากนั้นจึงเป็นการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่การทาความเข้าใจข้อมูลนั้น ๆ
 พิจารณาหาลักษณะร่วมและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลหรือตีความข้อมูลเพื่อค้นหา
 ความหมาย ถ้าเป็นข้อมูลที่แสดงความคิดเห็นต้องพิจารณาว่าเห็นด้วยหรือไม่ เห็น
 ด้วยอย่างไร อันจะนาไปสูข้อสรุปหรือคาตอบของประเด็นปัญหานัน ๆ หากเป็น
                           ่                                  ้
 ข้อมูลสนามที่มีลักษณะเป็นข้อมูลทางปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลต้องใช้สถิติเข้า
 ช่วย แล้วจึงตีความและหาข้อสรุปต่อไป
๒. การเขียน (WRITING)

         ๒.๑ การเขียนชื่อเรื่อง (title page)
         ๒.๒ การเขียนสาระย่อ (abstract) สาระย่อต้องมีสาระที่สะท้อนให้เห็น
 การพูดเกียวกับหัวข้อเรื่องใช้คาไม่เกิน ๓๐๐ คา มีการพูดเกียวกับหัวข้อเรื่อง
            ่                                             ่
 ขอบข่ายของการศึกษาค้นคว้า และสรุปผลที่ได้รับอย่างชัดเจน
         ๒.๓ สารบัญ (contents page) จะต้องลาดับหัวข้อเรื่อง
 เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก และมีเลขหน้ากากับทุกหัวเรื่อง
         ๒.๔ การเขียนคานา (introduction) ๑) การให้เหตุผลในการเลือก
 หัวข้อเรื่อง ความสาคัญ และคุณค่าทีได้รับ ๒) บอกความเป็นมาและความสาคัญ
                                     ่
 ของหัวข้อเรื่อง ๓) ระบุหัวข้อค้นคว้าให้ชัดเจน
๒. การเขียน (WRITING)

        ๒.๕ การเขียนเรียบเรียงเนื้อเรื่อง (body development) ๑) จัดลาดับ
 เนื้อหาตามรูปแบบโครงร่างทีถูกต้อง ๒) จัดลาดับเนื้อหาเป็นหัวข้อใหญ่ และหัวข้อ
                                ่
 ย่อยตามธรรมชาติของเนื้อหา ๓) ลาดับความคิดหลัก และความคิดรอง
        ๒.๖ การเขียนบทสรุป (conclusion) ๑) การสรุปการนาเสนอความคิด
 รวบยอดที่เกี่ยวเนื่องกับหัวข้อเรื่อง ๒) การอ้างอิงหลักฐานประกอบความคิด ๓)
 การเสนอแนะและชี้ประเด็นที่ค้นพบ รวมทั้งหัวข้อเรื่อง ประเด็นเรื่องที่ยังไม่ได้ศึกษา
 ค้นคว้าในผลงานชินนี้แต่ควรค่าแก่การค้นคว้าเป็นผลงานเรื่องต่อไป ๔) การเรียบ
                     ้
 เรียงบทสรุปให้ชัดเจน เชื่อมโยงกับหัวข้อค้นคว้า และสอดคล้องกับการโต้แย้ง ให้
 เหตุผลหรือคาอธิบายต่าง ๆ ที่ปรากฏในเนื้อเรื่องที่เขียน บทสรุปพูดถึงประเด็น
 ปัญหาที่ยังไม่ได้รับการค้นคว้าหาคาตอบ และมีประเด็น ปัญหาใหม่ ๆ ที่เกิดจาก
 การค้นคว้า
๒. การเขียน (WRITING)

        ๒.๗ การเขียนบรรณานุกรม และเอกสารอ้างอิง (reference) เป็นการ
 รวบรวมรายชื่อหนังสือ เอกสาร โสตทัศนูปกรณ์ วัสดุหรือแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ที่ใช้
 อ้างอิงและศึกษาค้นคว้าในการทารายงานอันจะเป็นประโยชน์ให้แก่ผู้อานที่ ่
 ประสงค์จะค้นคว้าเพิ่มเติม
        ๒.๘ ภาคผนวก (appendix) เอกสารที่ผู้เขียนสามารถใส่ไว้ใน
 ภาคผนวก ได้แก่ ข้อมูลและรายละเอียดต่าง ๆ ที่มีความเกียวกับเรื่องทีศึกษา
                                                      ่            ่
 ค้นคว้า และผูเ้ ขียนคิดว่าผู้อ่านควรจะทราบ
Ppt1ความเรียงขั้นสูง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
พัน พัน
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
ขนิษฐา ทวีศรี
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
พัน พัน
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
ขนิษฐา ทวีศรี
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
sapatchanook
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
khorntee
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
suchinmam
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
0872191189
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
Rodchana Pattha
 

Was ist angesagt? (20)

ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิตแผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 

Andere mochten auch

ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
Hyings
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
Bangk Thitisak
 
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomlaอบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
Krukeng Smedu III
 
โรงเรียนบ้านโป่งกระทิงบน
โรงเรียนบ้านโป่งกระทิงบนโรงเรียนบ้านโป่งกระทิงบน
โรงเรียนบ้านโป่งกระทิงบน
krunun
 
ทดสอบความสนใจในอาชีพ
ทดสอบความสนใจในอาชีพทดสอบความสนใจในอาชีพ
ทดสอบความสนใจในอาชีพ
kruklairoong
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
Mudhita Ubasika
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
Mameaw Pawa
 
Intertextuality im music videos
Intertextuality im music videosIntertextuality im music videos
Intertextuality im music videos
lauraraxten
 

Andere mochten auch (20)

สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรม
 
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่องเพชรเม็ดงามแห่งพงไพร
หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่องเพชรเม็ดงามแห่งพงไพรหนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่องเพชรเม็ดงามแห่งพงไพร
หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่องเพชรเม็ดงามแห่งพงไพร
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
Atack
AtackAtack
Atack
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomlaอบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
 
Assessment
AssessmentAssessment
Assessment
 
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครูรายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
 
โรงเรียนบ้านโป่งกระทิงบน
โรงเรียนบ้านโป่งกระทิงบนโรงเรียนบ้านโป่งกระทิงบน
โรงเรียนบ้านโป่งกระทิงบน
 
ทดสอบความสนใจในอาชีพ
ทดสอบความสนใจในอาชีพทดสอบความสนใจในอาชีพ
ทดสอบความสนใจในอาชีพ
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
 
Occ03
Occ03Occ03
Occ03
 
Music video research and intertextuality
Music video research and intertextualityMusic video research and intertextuality
Music video research and intertextuality
 
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
 
หนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคำในมาตราแม่ก กา กลุ่มสาระการเรีย...
หนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคำในมาตราแม่ก กา กลุ่มสาระการเรีย...หนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคำในมาตราแม่ก กา กลุ่มสาระการเรีย...
หนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคำในมาตราแม่ก กา กลุ่มสาระการเรีย...
 
Intertextuality im music videos
Intertextuality im music videosIntertextuality im music videos
Intertextuality im music videos
 
วรรณกรรม
วรรณกรรมวรรณกรรม
วรรณกรรม
 

Ähnlich wie Ppt1ความเรียงขั้นสูง

การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
sanya111
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
witthaya601
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
Prachyanun Nilsook
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
Duangsuwun Lasadang
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
yutict
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
StampPamika
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
Chainarong Maharak
 

Ähnlich wie Ppt1ความเรียงขั้นสูง (20)

การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
06.pdf
06.pdf06.pdf
06.pdf
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านวิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
เนื้อหา Addie ok
เนื้อหา Addie okเนื้อหา Addie ok
เนื้อหา Addie ok
 
Academic article
Academic articleAcademic article
Academic article
 
Km1
Km1Km1
Km1
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
 
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
 

Ppt1ความเรียงขั้นสูง

  • 1. การเขียนความ เรียงขั้นสูง ที่มา:pccl.ac.th/files/101217099455573_11010514141701.ppt
  • 2. การเขียนความเรียงขั้นสูง การเขียนความเรียงขั้นสูง เป็นสาระที่ว่าด้วยการศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระ ในเรื่องที่ผู้เขียนสนใจที่มาจากการทีผู้เขียนได้เรียนจากสาระการเรียนรู้ เน้นการ ่ ฝึกกระบวนการค้นคว้าด้วยตนเอง การถ่ายทอด/สื่อความหมาย แนวคิด และ ข้อมูลเป็นความเรียงทางวิชาการที่มีเนื้อหาเชื่อมโยงอย่างเป็นขั้นเป็นตอน สมเหตุสมผล ที่สละสลวยโดยใช้คาจานวน ๔,๐๐๐ คา
  • 3. เนื้อหาหลัก ๑. การค้นคว้า (research) ได้แก่ ๑.๑ การกาหนดหัวข้อ/ชื่อเรื่อง/ชื่อโครงการ (topic) ๑.๒ การเรียบเรียงหัวข้อเรื่อง (focus) ๑.๓ การค้นหาแหล่งค้นคว้า (search for sources) ๑.๔ การกาหนดโครงร่าง (working outline) ๑.๕ การรวบรวมข้อมูล (assemble sources/materials)
  • 4. เนื้อหาหลัก (ต่อ) ๒. การเขียน (writing) ได้แก่ ๒.๑ การเขียนชื่อเรื่อง (title page) ๒.๒ การเขียนสาระย่อ (abstract) ๒.๓ สารบัญ (contents page) ๒.๔ การเขียนคานา (introduction) ๒.๕ การเขียนเรียบเรียงเนื้อเรื่อง (body development) ๒.๖ การเขียนบทสรุป (conclusion) ๒.๗ การเขียนบรรณานุกรม และเอกสารอ้างอิง (reference) ๒.๘ ภาคผนวก (appendix)
  • 5. ๑. การค้นคว้า (RESEARCH) ๑.๑ การกาหนดหัวข้อ/ชื่อเรื่อง/ชื่อโครงการ (topic) นิยมตั้งชื่อให้มี ความกะทัดรัด ดึงดูดความสนใจจากผู้อ่าน ผูชม การกาหนด ชื่อแบบใด ๆ นั้น ้ ต้องคานึงถึงความสามารถที่จะสื่อความหมายถึงวัตถุประสงค์ที่ต้องการศึกษาได้ ชัดเจน กล่าวคือต้องเข้าใจปัญหาทีสนใจศึกษาอย่างแท้จริง อันจะนาไปสู่การ ่ เข้าใจวัตถุประสงค์ของการศึกษาอย่างแท้จริงด้วย
  • 6. ๑. การค้นคว้า (RESEARCH) ๑.๒ การเรียบเรียงหัวข้อเรื่อง (focus) ๑) เรียบเรียงหัวข้อเรื่องโดยใช้ ภาษาง่าย กระชับ และชัดเจนครอบคลุมปัญหาที่ศึกษา ๒) หัวข้อเรื่องต้องบอกได้ ว่าเป็นการศึกษาอะไร กับใคร หรือของใคร ที่ไหน หรือเมื่อไร ๓) หัวข้อเรื่อง ต้องไม่ยาวจนดูฟุ่มเฟือย อ่านแล้วเข้าใจยาก หรือจับประเด็นไม่ได้ ๔) หัวข้อ เรื่องต้องไม่สั้นจนเกินไป อ่านไม่รู้เรื่องว่าทาอะไร ๕) หัวข้อเรื่องควรขึนต้นด้วย ้ คานาม เพื่อให้เกิดความไพเราะสละสลวย ๖) หัวข้อเรื่องควรระบุถึงประเภท หรือ วิธการศึกษา ตัวแปรสาคัญ กลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มเป้าหมายลงไปด้วย ี
  • 7. ๑. การค้นคว้า (RESEARCH) ๑.๓ การค้นหาแหล่งค้นคว้า (search for sources) ๑) ค้นคว้าจากหนังสือ วิทยานิพนธ์ หนังสืออ้างอิง เอกสารต่าง ๆ สามารถค้นคว้าได้จาก หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดสถาบันต่าง ๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หนังสือเหล่านี้นับเป็นแหล่งข้อมูลหลักที่สาคัญ ๒) ค้นคว้าจากหนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร วรสาร จุลสาร สิ่งตีพิมพ์เหล่านี้จะให้ข้อมูลที่ ทันสมัยทันใจกว่าหนังสือ เพราะผลิตสู่ตลาดเป็นประจาทุกวัน ทุกสัปดาห์ และทุกเดือน ๓) การ สัมภาษณ์ผ้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์นับเป็นวิธีการที่รวดเร็ว และได้ข้อมูลที่ ู ทันสมัยที่สุด นิยมใช้กันมากในยุคแห่งโลกสื่อสารปัจจุบัน ๔) การสนทนากับบุคคลทั่วไป เพื่อ แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็น วิธีนี้จะทาให้ผู้เขียนมีความคิดที่กว้างไกล และช่วยพัฒนา ความคิดและระบบความคิดของผู้เรียนด้วย ๕) การบันทึกเหตุการณ์และเรื่องราวต่าง ๆ ที่พบเห็น วิธีนี้เป็นวิธีที่ผู้เขียนสร้างแหล่งข้อมูลขึ้นมาเอง ๖) การเก็บข้อมูลจากสถานที่จริง การได้ รายละเอียดของแหล่งข้อมูลจริงจะทาให้ได้เนื้อหาและหลักฐานที่เป็นจริง นับเป็นแหล่งข้อมูลที่มี ค่า ๗) ข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ เช่นวิทยุกระจายเสียงวิทยุ โทรทัศน์ วีดทัศน์ ไมโครฟิลม ิ ์ ภาพยนตร์ ฯลฯ โดยเฉพาะในปัจจุบันเทคโนโลยีและระบบสื่อสารต่าง ๆ ก้าวหน้าทันสมัยและ รวดเร็ว ผู้เรียนอาจค้นคว้าหาข้อมูลได้จากเครื่องมือระบบใหม่ได้ เช่นอินเทอร์เนต
  • 8. ๑. การค้นคว้า (RESEARCH) ๑.๔ การกาหนดโครงร่าง (working outline) เป็นการวางและ จัดลาดับโครงร่างอันเป็นความคิดทีสาคัญของเรื่องที่จะเขียน การกาหนดโครงร่าง ่ ไว้อย่างดีจะเป็นแนวทางในการเขียน ทาให้งานเขียนสมบูรณ์และมีคุณค่า โครงร่างมี ๒ ประเภท ๑) โครงร่างประเภทหัวข้อ เป็นการเสนอ ประเด็นความคิดเป็นหัวข้อด้วยคาหรือวลีสั้น ๆ ถ้ามีหัวข้อรอง หัวข้อย่อยควร จัดลาดับให้หัวข้อลดหลั่นกันลงมาด้วยตัวเลข เมื่อจะลงมือเขียนต้องเรียบ เรียงความคิดให้เป็นประโยคอีกครั้งหนึ่ง ๒) โครงร่างประเภทประโยค เป็นการ เสนอประเด็นความคิดเป็นประโยคทีสมบูรณ์ซึ่งจะเป็นประโยคใจความสาคัญของ ่ แต่ละย่อหน้าต่อไป
  • 9. วิธีการเขียนโครงร่าง วิธีการเขียนโครงร่างทาได้ ๒ วิธี คือ ๑) โครงร่างที่สร้างจากความคิดย่อย ๒) โครงร่างที่ สร้างจากความคิดหลัก ๑) โครงร่างที่สร้างจากความคิดย่อย มีขั้นตอนรายละเอียด ดังนี้ ๑.๑) ขั้นตอนการรวบรวมความคิด พิจารณาว่าเรื่องที่จะเขียนนี้มีเนื้อหาอะไรบ้าง คิดได้ก็จด ไว้ทุกประเด็นความคิดของเรื่องที่จะเขียนอาจได้มาจากความรู้หรือประสบการณ์เดิม ๑.๒) ขั้นตอนการจัดกลุ่มความคิด คัดเลือกประเด็นที่เกี่ยวกับเรื่องที่จะเขียน จากนั้นนาประเด็น ที่เกี่ยวข้องมาจัดกลุ่ม แล้วกาหนดข้อความเป็นหัวข้อใหญ่ให้ครอบคลุมเนื้อหาแต่ละกลุ่มอย่างชัดเจน ๑.๓) ขั้นตอนการจัดลาดับความคิด นากลุ่มความคิดมาจัดลาดับตามเรื่องราว ตามเหตุผล ตามเวลา ตามเหตุการณ์ก่อน-หลัง ตามลาดับ ความสาคัญ ตามทิศทาง ตามสถานที่ ตามลาดับใกล้- ไกล และตามลาดับจากส่วนใหญ่สู่สวนย่อย หรือจากส่วนย่อยสู่ส่วนใหญ่ ่ ๑.๔) ขั้นตอนการทบทวนความคิดและปรับปรุงโครงร่างให้สมบูรณ์ พิจารณาทบทวนว่าโครง ร่างที่เขียนไว้นั้นมีประเด็นความคิดครบถ้วนหรือยัง เพียงพอหรือไม่ ถ้ายังก็เพิ่มเติมหรือเสริมความคิด ให้ครบถ้วน ซึ่งอาจจะทาได้ทั้งในระดับหัวข้อใหญ่ และหัวข้อย่อย
  • 10. วิธีการเขียนโครงร่าง ๒) โครงร่างที่สร้างจากความคิดหลัก มีขนตอนรายละเอียด ดังนี้ ั้ ๒.๑) ขั้นตอนการกาหนดความคิดหลัก ต้องคิดพิจารณาอย่างรอบคอบว่าเรื่องที่จะเขียน ควรมีความคิดหลักเป็นเนื้อหาสาคัญอะไรบ้าง แล้วรวบรวมความคิดหลักไว้เป็นข้อ ๆ ๒.๒) ขั้นตอนการขยายความคิดหลัก อาจขยายหรือเพิ่มเติมความคิดย่อยให้มากขึ้น เพื่อจะได้โครงเรื่องที่สมบูรณ์ ทั้งนี้ไม่จาเป็นต้องขยายความคิดหลักทุกหัวข้อก็ได้ ๒.๓) ขั้นตอนการจัดลาดับความคิด นากลุ่มความคิดมาจัดลาดับตามเรื่องราว ตาม เหตุผล ตามเวลา ตามเหตุการณ์ก่อน-หลัง ตามลาดับ ความสาคัญ ตามทิศทาง ตามสถานที่ ตามลาดับใกล้-ไกล และตามลาดับจากส่วนใหญ่สส่วนย่อย หรือจากส่วนย่อยสู่ส่วนใหญ่ ู่ ๒.๔) ขั้นตอนการทบทวนความคิดและปรับปรุงโครงร่างให้สมบูรณ์ พิจารณาโครงร่าง อีกครั้งหนึ่งว่ามีเนื้อหาสมบูรณ์ และมีโครงร่างเป็นลาดับต่อเนื่องกันหรือยัง เมื่อเห็นว่าสมบูรณ์ แล้วก็นามาขยายโครงร่างเป็นประโยค
  • 11. ๑. การค้นคว้า (RESEARCH) ๑.๕ การรวบรวมข้อมูล ข้อมูลจากเอกสารใช้วิธีรวบรวมข้อมูลจากการอ่าน ดังนี้ ๑) สารวจว่าหนังสือและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่ศึกษามีเนื้อหาตรงตามที่ต้องการมากน้อย เพียงใด โดยดูจากสารบัญหรือดรรชนีท้ายเล่ม ๒) อ่านเรื่องที่เลือกไว้โดยจับใจความสาคัญ และทาความเข้าใจเนื้อหานั้น ๆ ๓) บันทึกข้อมูลจากการอ่านอย่างเป็นระเบียบ โดยบันทึกลง ในบัตรบันทึก ควรบันทึกแผ่นละหนึ่งหัวข้อเรื่องสิ่งที่ควรบันทึก ได้แก่ หัวเรื่องที่บันทึก แหล่งที่มาของข้อมูล (ควรเขียนตามแบบบรรณานุกรม) แหล่งค้นคว้า และสิ่งที่ได้จากการอ่าน ซึ่งอาจจะใช้วิธีย่อหรือสรุปสาระ โดยเขียนเป็นสานวนของผู้บันทึก หากตอนใดสาคัญก็คัด ข้อความไว้ หรืออาจสรุปความและแสดงความคิดเห็นประกอบ เช่นวิจารณ์ข้อเท็จจริง โต้แย้ง หรือสนับสนุน ทั้งนี้การบันทึกข้อมูลอย่างเป็นระเบียบจะช่วยให้การเขียนสะดวกและรวดเร็วขึ้น ข้อมูลและบันทึกข้อมูลสนาม มีวิธีการเก็บข้อมูลเฉพาะของแต่ละวิธี เช่น หากเก็บข้อมูลโดยวิธี ออกแบบสอบถามก็ต้องสร้างแบบสอบถาม กาหนดผู้ตอบแบบสอบถาม กาหนดวิธีการส่ง แบบสอบถาม และการเก็บแบบสอบถามคืน
  • 12. ๑. การค้นคว้า (RESEARCH) เมื่อรวบรวมข้อมูลแล้วก็จัดระเบียบหรือจาแนกประเภทของข้อมูลออกเป็น กลุ่มต่าง ๆ ตามประเด็นของโครงร่าง คือหัวข้อใหญ่ และหัวข้อย่อยทีวางไว้ ่ ต่อจากนั้นจึงเป็นการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่การทาความเข้าใจข้อมูลนั้น ๆ พิจารณาหาลักษณะร่วมและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลหรือตีความข้อมูลเพื่อค้นหา ความหมาย ถ้าเป็นข้อมูลที่แสดงความคิดเห็นต้องพิจารณาว่าเห็นด้วยหรือไม่ เห็น ด้วยอย่างไร อันจะนาไปสูข้อสรุปหรือคาตอบของประเด็นปัญหานัน ๆ หากเป็น ่ ้ ข้อมูลสนามที่มีลักษณะเป็นข้อมูลทางปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลต้องใช้สถิติเข้า ช่วย แล้วจึงตีความและหาข้อสรุปต่อไป
  • 13. ๒. การเขียน (WRITING) ๒.๑ การเขียนชื่อเรื่อง (title page) ๒.๒ การเขียนสาระย่อ (abstract) สาระย่อต้องมีสาระที่สะท้อนให้เห็น การพูดเกียวกับหัวข้อเรื่องใช้คาไม่เกิน ๓๐๐ คา มีการพูดเกียวกับหัวข้อเรื่อง ่ ่ ขอบข่ายของการศึกษาค้นคว้า และสรุปผลที่ได้รับอย่างชัดเจน ๒.๓ สารบัญ (contents page) จะต้องลาดับหัวข้อเรื่อง เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก และมีเลขหน้ากากับทุกหัวเรื่อง ๒.๔ การเขียนคานา (introduction) ๑) การให้เหตุผลในการเลือก หัวข้อเรื่อง ความสาคัญ และคุณค่าทีได้รับ ๒) บอกความเป็นมาและความสาคัญ ่ ของหัวข้อเรื่อง ๓) ระบุหัวข้อค้นคว้าให้ชัดเจน
  • 14. ๒. การเขียน (WRITING) ๒.๕ การเขียนเรียบเรียงเนื้อเรื่อง (body development) ๑) จัดลาดับ เนื้อหาตามรูปแบบโครงร่างทีถูกต้อง ๒) จัดลาดับเนื้อหาเป็นหัวข้อใหญ่ และหัวข้อ ่ ย่อยตามธรรมชาติของเนื้อหา ๓) ลาดับความคิดหลัก และความคิดรอง ๒.๖ การเขียนบทสรุป (conclusion) ๑) การสรุปการนาเสนอความคิด รวบยอดที่เกี่ยวเนื่องกับหัวข้อเรื่อง ๒) การอ้างอิงหลักฐานประกอบความคิด ๓) การเสนอแนะและชี้ประเด็นที่ค้นพบ รวมทั้งหัวข้อเรื่อง ประเด็นเรื่องที่ยังไม่ได้ศึกษา ค้นคว้าในผลงานชินนี้แต่ควรค่าแก่การค้นคว้าเป็นผลงานเรื่องต่อไป ๔) การเรียบ ้ เรียงบทสรุปให้ชัดเจน เชื่อมโยงกับหัวข้อค้นคว้า และสอดคล้องกับการโต้แย้ง ให้ เหตุผลหรือคาอธิบายต่าง ๆ ที่ปรากฏในเนื้อเรื่องที่เขียน บทสรุปพูดถึงประเด็น ปัญหาที่ยังไม่ได้รับการค้นคว้าหาคาตอบ และมีประเด็น ปัญหาใหม่ ๆ ที่เกิดจาก การค้นคว้า
  • 15. ๒. การเขียน (WRITING) ๒.๗ การเขียนบรรณานุกรม และเอกสารอ้างอิง (reference) เป็นการ รวบรวมรายชื่อหนังสือ เอกสาร โสตทัศนูปกรณ์ วัสดุหรือแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ที่ใช้ อ้างอิงและศึกษาค้นคว้าในการทารายงานอันจะเป็นประโยชน์ให้แก่ผู้อานที่ ่ ประสงค์จะค้นคว้าเพิ่มเติม ๒.๘ ภาคผนวก (appendix) เอกสารที่ผู้เขียนสามารถใส่ไว้ใน ภาคผนวก ได้แก่ ข้อมูลและรายละเอียดต่าง ๆ ที่มีความเกียวกับเรื่องทีศึกษา ่ ่ ค้นคว้า และผูเ้ ขียนคิดว่าผู้อ่านควรจะทราบ