SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 39
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
ธนสาร รุจิรา
kruarm@bicec.ac.th
แนะนาตัว
นายธนสาร รุจิรา
kruarm@bicec.ac.th
หยิบมือถือขึ้นมา
ระบบคอมพิวเตอร์และการเขียนโปรแกรม
1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
2.ซอฟต์แวร์ (Software)
2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
3. บุคลากร (People)
4. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
เป็นอุปกรณ์ที่จับต้องได้ สัมผัสได้ มองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้ง
ที่ติดตั้งอยู่ภายในตัวเครื่อง (เช่น ซีพียู เมนบอร์ด แรม) และที่ติดตั้ง
อยู่ภายนอก (เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ จอภาพ เครื่องพิมพ์)
 ส่วนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่บรรจุคาสั่งเพื่อให้สามารถ
ทางานได้ตามต้องการ โดยปกติแล้วจะถูกสร้างโดยบุคคล
ที่เรียกว่า นักเขียนโปรแกรม (programmer)
 เป็นองค์ประกอบทางนามธรรม ไม่สามารถจับต้องหรือสัมผัสได้
เหมือนกับฮาร์ดแวร์
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
 ซอฟต์แวร์ระบบ
 ซอฟท์แวร์ประยุกต์
 ทาหน้าที่ควบคุมระบบการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่รู้จัก
กันเป็นอย่างดีคือ ระบบปฏิบัติการหรือ OS (Operating System)
มีทั้งที่ต้องเสียเงินอย่างเช่น Windows OS X Linux เป็นต้น
2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
 ซอฟต์แวร์ที่สามารถติดตั้งได้ในภายหลังจากที่ติดตั้ง
ระบบปฏิบัติการแล้ว
 ปกติมุ่งใช้กับงานเฉพาะอย่าง เช่น งานด้านบัญชี
งานด้านเอกสารหรืองานควบคุมสินค้าคงเหลือ
 อาจมีบริษัทผู้ผลิตทาขึ้นมาเพื่อจาหน่ายโดยตรง
มีทั้งที่ให้ใช้ฟรี ซื้อทาเอง หรือจ้างเขียนโดยเฉพาะ
บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์จาแนกออกได้
เป็น 3 กลุ่มด้วยกันคือ
3.1 ผู้ใช้งานทั่วไป
3.2 ผู้เชี่ยวชาญ
3.3 ผู้บริหาร
 การทางานของคอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องตั้งแต่การนาข้อมูลเข้า (data)
จนกลายเป็นข้อมูลที่สามารถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือที่เรียกว่าสารสนเทศ
(information)
 ข้อมูลเหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และข้อมูลในรูปแบบอื่นๆ
เช่น ภาพ เสียง เป็นต้น
 ข้อมูลที่จะนามาใช้กับคอมพิวเตอร์ ต้องแปลงรูปแบบให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ
เสียก่อน
ข้อมูล
(Data)
การประมวลผล
(Processing)
สารสนเทศ
(Information)
แสดงระบบการประมวลผลข้อมูล
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษา คือ วิธีการที่มนุษย์ใช้สื่อสารถึงกัน
ภาษาคอมพิวเตอร์
สัญลักษณ์ที่ผู้คิดพัฒนาภาษากาหนดขึ้นมาเพื่อใช้แทนคาสั่ง
สื่อสารสั่งงาน ระหว่างมนุษย์กับเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ต่อพ่วงอื่น ๆ แบ่งเป็น 5 ยุค
ยุคที่ 1 : ภาษาเครื่อง (Machine Language)
ภาษาเครื่อง เป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับต่า
ที่สุด ซึ่งคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ทันทีโดยไม่ ต้อง
ผ่านตัวแปลภาษาเพราะเขียนคาสั่งและแทนข้อมูล
ด้วยเลขฐานสอง (Binary Code) ทั้งหมด ซึ่งเป็นการเขียน
คาสั่งด้วยเลข 0 หรือ 1
ยุคที่ 2 : ภาษาสัญลักษณ์ (Assembly Language)
จัดอยู่ในภาษาระดับต่า และเป็นภาษาที่พัฒนาต่อมาจาก
ภาษาเครื่องภาษาแอสเซมบลีมีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก
คือ 1 คาสั่งของภาษาแอสเซมบลีจะเท่ากับ 1 คาสั่งของ
ยุคที่ 3 : ภาษาระดับสูง (High-Level Language)
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ทาให้เรียนรู้และ
เข้าใจง่าย เนื่องจากประโยคคาสั่งคล้ายกับภาษาอังกฤษ เช่น ภาษา
Fortran, Cobol, Pascal, Visual-Basic และภาษา C
ยุคที่ 3 : ภาษาระดับสูง (High-Level Language)
คอมพิวเตอร์จะไม่สามารถเข้าใจภาษาประเภทนี้ จึงจาเป็นต้อง
มีตัวแปลภาษา เพื่อทาหน้าที่แปลภาษาให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ คือ
1. คอมไพเลอร์ (Compiler)
2. อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
แต่
ยุคที่ 3 : ภาษาระดับสูง (High-Level Language)
คอมไพเลอร์ (Compiler) ทาหน้าที่
แปลโปรแกรมต้นฉบับที่เขียนด้วยภาษา
ร ะ ดั บ สู ง เ ช่ น ภ า ษ า ป า ส ค า ล
ภาษาโคบอล และภาษาฟอร์แทน
ให้เป็นภาษาเครื่อง
ยุคที่ 4 : ภาษาระดับสูงมาก (Very-High-Level Language)
ข้อดี
สามารถทาการแปลคาสั่งได้อย่างรวดเร็ว
ข้อเสีย
ต้องเขียนโปรแกรมให้ครบทุกส่วนของโครงสร้าง
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้งานก่อน
ยุคที่ 3 : ภาษาระดับสูง (High-Level Language)
อินเตอร์พรีเตอร์ (interpreter)
ทาหน้าที่แปลโปรแกรมต้นฉบับที่เขียนด้วย
ภาษาระดับสูง เช่น ภาษาเบสิก (BASIC)
ให้เป็นภาษาเครื่อง
ข้อดี
สามารถสั่งแสดงผลการทางานได้ทันที
ข้อเสีย
จากการที่ไม่มีโปรแกรมที่แปลรหัสแล้วเก็บไว้ หากเขียนโปรแกรม
ยาวมาก ๆ ก็จะทาให้การประมวลผลทาได้ช้า หากโปรแกรมเพราะต้อง
เริ่มอ่านคาสั่งจากจุดเริ่มของโปรแกรมทุกครั้งที่มีการประมวลผล
ยุคที่ 3 : ภาษาระดับสูง (High-Level Language)
ยุคที่ 4 : ภาษาระดับสูงมาก (Very-High-Level Language)
ภาษาระดับสูงมากเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ( Fourth-
generation language) ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมด้วยคาสั่งสั้น ๆ
และง่ายกว่าภาษาในยุคก่อนๆ มีการทางานแบบไม่จาเป็นต้องบอกลาดับของ
ขั้นตอนการทางาน ( Nonprocedural language) ทาให้เขียนโปรแกรมได้ง่าย
และรวดเร็ว กว่าภาษาระดับสูงในยุคที่ 3 ที่มีการเขียนโปรแกรมแบบบอกขั้นตอน
การทางาน ( Procedural language)
ยุคที่ 5 : ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง
ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารกับมนุษย์ด้วย
ภาษาพูด ซึ่งเป็นแขนงหนึ่งของวิชาปัญญาประดิษฐ์
(AI) ซึ่งเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการพัฒนา
เครื่องจักรให้มีความสามารถเทียบเคียงมนุษย์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
1. กาหนดและวิเคราะห์ปัญหา
2. เขียนผังงานและซูโดโค้ด
3. เขียนโปรแกรม
4. ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
5. ทาเอกสารและบารุงรักษาโปรแกรม
1. กาหนดและวิเคราะห์ปัญหา (Problem Definition and Problem Analysis)
สิ่งที่ต้องพิจารณา
– Input ? (พิจารณาจาก Output)
– Output ? (พิจารณาอันดับแรก)
– Process (ยังไม่ต้องสนใจตอนนี้)
Process
Input
OutputInput
12 3
1. กาหนดและวิเคราะห์ปัญหา (Problem Definition and Problem Analysis)
การวิเคราะห์ปัญหา
วิเคราะห์ผลลัพธ์ วิเคราะห์ Input
Process
เขียนขั้นตอนการแก้ปัญหา
2. เขียนผังงานและซูโดโค้ด (Pseudocoding)
เครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบ
– ผังงาน (Flowchart) ขั้นตอนการแก้ปัญหาทีละขั้นตอน
ในลักษณะรูปภาพ
– รหัสจาลอง (Pseudo) รูปแบบเป็นภาษาพูดง่าย ๆ
ภาษาอังกฤษ หรือภาษาไทยก็ได้
2. เขียนผังงานและซูโดโค้ด (Pseudocoding)
2. เขียนผังงานและซูโดโค้ด (Pseudocoding)
จุดเริ่มต้น หรือสิ้นสุด
อ่านข้อมูลเข้า หรือแสดงผล
ประมวลผล
ตัดสินใจ
แฟ้มข้อมูล
จุดเชื่อมต่อในหน้าเดียวกัน
โปรแกรมย่อย
แสดงผลทางหน้าจอ แสดงทิศทางการประมวลผล
พิมพ์ผลทางเครื่องพิมพ์
จุดเชื่อมต่อในหน้าอื่น
สัญลักษณ์ในผังงาน
3. เขียนโปรแกรม (Programming)
การเขียนโปรแกรมที่ดีนั้น ควรจะทาตาม
ขั้นตอน คือเริ่มตั้งแต่ วิเคราะห์ปัญหา ก่อนแล้วทา
การออกแบบโปรแกรม จึงเริ่มเขียนโปรแกรม
สาหรับผู้ที่ไม่มีประสบการณ์ควรทดลองเขียน
ในกระดาษก่อน แล้วตรวจสอบจนแน่ใจว่าสามารถ
ทางานได้แล้วจึงทาการคีย์ลงเครื่อง
4. ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Program Testing and Debugging)
รูปแบบข้อผิดพลาด มี 3 แบบคือ
Syntax Error ข้อผิดพลาดจากการใช้ไวยากรณ์ภาษาที่ผิด หรือ
อาจเกิด จากการสะกดคาผิด
Run-time Error ข้อผิดพลาดในระหว่างการปฏิบัติงาน (Execution)
มักเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์
Logical Error ข้อผิดพลาดที่หาและแก้ได้ยากที่สุด ต้องทาการไล่โปรแกรม
ทีละคาสั่งเพื่อหาข้อผิดพลาดนั้น
5. ทาเอกสารและบารุงรักษาโปรแกรม
1. คู่มือระบบ
2. คู่มือปฏิบัติงานสาหรับผู้ใช้
รูปแบบการเขียนโปรแกรม
1. การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง (Structured Programming)
- ชุดคาสั่งภายในโปรแกรม จะมีลักษณะเป็นลาดับขั้นตอน
- มีทางเลือกในกาตัดสินใจทางใดทางหนึ่ง
- มีชุดคาสั่งเพื่อทาซ้า
รูปแบบการเขียนโปรแกรม
2. การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
เป็นการเขียนโปรแกรมที่แจกแจงรายละเอียดของปัญหา ด้วยการ
มุ่งเน้นเกี่ยวกับวัตถุในโลกแห่งความเป็นจริง ที่เป็นแหล่งรวมรวมข้อมูล
และกระบวนการเข้าด้วยกัน
Homework
Homework
1. ภาษาเบสิก
2. ภาษาฟอร์แทรน
3. ภาษาโคบอล
4. ภาษาปาสคาล
5. ภาษาซี
6. ภาษา SQL
รายงาน
เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบงานที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษ
ใบงานที่  2  การพิมพ์ภาษาอังกฤษใบงานที่  2  การพิมพ์ภาษาอังกฤษ
ใบงานที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษ21032538
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำPannathat Champakul
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Thawatchai Rustanawan
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
ใบงานที่ 1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่  1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ใบงานที่  1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์krupan
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสารแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสารวัชรพล เที่ยงปา
 
โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมkroojaja
 
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งานตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งานKawinTheSinestron
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)พัน พัน
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎี
ข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎีข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎี
ข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎีTotsaporn Inthanin
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5wichsitb
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีKomkai Pawuttanon
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์Khunakon Thanatee
 
กำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายกำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายphunbuppha jinawong
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 

Was ist angesagt? (20)

บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น tableบทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
 
ใบงานที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษ
ใบงานที่  2  การพิมพ์ภาษาอังกฤษใบงานที่  2  การพิมพ์ภาษาอังกฤษ
ใบงานที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษ
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่  1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ใบงานที่  1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสารแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
 
โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติมโครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม
 
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งานตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงานการประยุกต์ใช้งาน
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
ข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎี
ข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎีข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎี
ข้อสอบมาตรวิทยา ภาคทฤษฎี
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
 
กำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายกำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่าย
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 

Andere mochten auch

รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสาร
รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสารรู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสาร
รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสารครูอาร์ม ฉึก ฉึก
 
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บanuchit025
 
Implementing
ImplementingImplementing
ImplementingBau Toom
 
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมพื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมabhichatdotcom
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีdechathon
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การบริหารโครงการ
การบริหารโครงการการบริหารโครงการ
การบริหารโครงการNuch Sake
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาskiats
 
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flashคู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flashprawit trakoonvidthayanan
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDskiats
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์Thepsatri Rajabhat University
 

Andere mochten auch (16)

การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week4
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week4การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week4
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week4
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week5
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week5การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week5
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week5
 
รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสาร
รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสารรู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสาร
รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
 
Implementing
ImplementingImplementing
Implementing
 
ใบความรู้ที่ 1 การวิเคราะห์งาน
ใบความรู้ที่ 1 การวิเคราะห์งานใบความรู้ที่ 1 การวิเคราะห์งาน
ใบความรู้ที่ 1 การวิเคราะห์งาน
 
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมพื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การบริหารโครงการ
การบริหารโครงการการบริหารโครงการ
การบริหารโครงการ
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flashคู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
Project management
Project managementProject management
Project management
 

Ähnlich wie การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม

13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7naraporn buanuch
 
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-712 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาPhanupong Chanayut
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาThanyalak Aranwatthananon
 
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
ตอนที่ 1
ตอนที่ 1ตอนที่ 1
ตอนที่ 1wachiradej
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer languageIrinApat
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 

Ähnlich wie การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม (20)

Software
SoftwareSoftware
Software
 
Software languge
Software langugeSoftware languge
Software languge
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-712 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
12 ชัยวัฒน์-ปวช.3-7
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
ตอนที่ 1
ตอนที่ 1ตอนที่ 1
ตอนที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer language
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
 

การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม