SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
โครงงาน วิช า ประวัต ิศ าสตร์
               เรื่อ ง ศาลตาปู่ บ้า นฝาง
                      จัด ทำา โดย
       1 นางสาว สุภ าพร คำา เครื่อ ง เลขที่ 29
        2 นางสาว ศิร ิร ัต น์ น้อ ยผาง เลขที่ 31
         3 นางสาว พิม พ์อ ัม พร ไชยนามน เลขที่ 17
        4 นางสาว นุช นาฎ บุด ดาซุย เลขที่ 16
        5 นางสาว นิส าชล แจ้ง พรมมา เลขที่ 15
                 มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 5/2
                         เสนอ
             อาจารย์ อรวรรณ กองพิล า
           ภาคเรีย นที่ 2 ปีก ารศึก ษา 2553
โรงเรีย นฝางวิท ยายน อำา เภอบ้า นฝาง จัง หวัด ขอนแก่น
ประกาศคุณ ูป การ
การทำาโครงงานประวัติบ้านฝางในครั้งนี้สำาเร็จลงด้วยดี เพราะได้รับความกรุณา
อย่างยิ่งดีจากผู้อำานวยการโรงเรียนฝางวิทยายน
นายธนัท ไชยทิพย์ ที่ให้การสนับสนุนส่งเสริมและอนุญาตในการทำาโครงงาน
ประวัติบ้านฝางในครั้งนี้
ขอขอบพระคุณ คุณครูอรวรรณ กองพิลา แม่ครูที่ปรึกษาของเรา ที่กรุณาให้คำา
ปรึกษาแนะนำาแนวทางช่วยเหลือในด้านต่างๆแก่พวกเราจนทำาให้โครงงาน การ
ศึกษาประวัติบ้านฝางผ่านการบอกเล่าผู้เฒ่าผู้แกในหมู่บ้านและหนังสือประวัติ
บ้านฝาง สำาเร็จลงได้ด้วยดี
ขอขอบพระคุณคุณตาโท พรมจักร์ และชาวบ้านฝางฝางทุกท่านที่คอยให้ขอมูล
                                                             ้
ในทุกๆเรื่อง และทุกครั้งที่ผู้จัดทำาโครงงานทำาการลงภาคสนาม
ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ คือผู้ที่อุปการคุณในการทำาโครงงานในครั้งนี้ ขอให้ทุก
หน่วยงานทุกท่านที่กล่าวมาข้างต้นจงให้ความอุปการคุณแก่เพื่อนๆที่ทำาโครง
งานในหัวข้อใกล้เคียงกันที่มาทำาในท้องถิ่นในอนาคต กลุ่มทำาโครงงานขอมอบ
ความดีที่เกิดขึ้นทั้งที่เป็นผลลการดำาเนินงาน และสิ่งสร้างสรรค์ต่าง ที่เกิดขึ้นมา
เพราะผลการทำาโครงงาน ให้แก่บุพการี และทุกท่านที่มีอุปการคุณ
บทคัด ย่อ
การศึกษาประวัติศาสตร์ในท้องถินผ่านการบอกเล่าจากผู้เฒ่าผู้แก่โดยมี
                                 ่
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่องราววิถีชีวิตของคนในชุมชนและศึกษาแนวทางการ
สืบทอดอนุรักษ์วรรณกรรมอีสาน โดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและงาวิจัยที่
หนังสือการเก็บข้อมูลภาคสนาม การสนทนากลุ่ม การประชุมเชิงปฏิบัติการ การ
จักเวทีเสวนา การนำาเสนอผลงานการดำาเนินงานโดยใช้วิเคราะห์เป็นความเรียง
การศึก ษาปรากฏดัง นี้
ประวัติบ้านฝางเป็นที่ได้รับความนิยมจากคนในท้องถิ่นที่เชื่อว่าเป็นพฤติกรรม
ของคน ในอดีตและเรื่องราวต่างๆในอดีต ในอดีตเชื่อว่าศาลตาปู่ในอดีตเป็นที่
ได้รับความศรัทธาจากชาวเพราะเชื่อว่าการที่ได้สิ่งที่เราสมปรารถนานั้นเป็นผล
มาจากศาลตาปู่ประจำาหมู่บ้านเพราะการที่เราไปบนบานศาลเจ้านั้นเราก็ต้องมี
สิ่งของที่เส้นไหว้เพื่อความศักสิทธิ์หรือเป็นการแลกเปลี่ยนกัน
การศึกษาเรื่องราวในอดีตประวัติบ้านฝางชาวบ้านฝางพยายามฟื้นฟูให้มีความ
สำาคัญโยมีการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ในเรื่องของประวัติบ้านฝางผ่านการบอกเล่า
ของผู้เฒ่าผูแก่ในชุมชนนี่เป็นส่วนหนึ่งที่แสดงให้เห็นของความร่วมมือในท้องถิ่น
            ้
ที่ให้ความสำาคัญของประวัติบ้านฝางของคนรุ่นก่อนที่ถ่ายทอดวิถีชีวิตให้แก่ลูก
หลานได้เรียนรู้
บทที่ ๑
                               บทนำา
ดินแดนที่เป็นไทยในปัจจุบันเดิมมีอาณาจักรอื่นเกิดขึ้นมากมายเมื่อเสื่อม
อำานาจลงกลุ่มคนไทยได้สถาปนาเป็นอาณาจักรของไทยในปัจจุบันมีนักมี
ชาการศึกษา เขียนเล่าเรื่องราวเกียวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยเอาไว้
                                  ่
มากมายหลายส่วน การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นซึ่งเป็นประวัติศาสตร์ที่
เกี่ยวข้องกับของคนในชุมชนเล็กๆ ที่ไม่มีอำานาจ ไม่มีโอกาสแต่เขาเหล่านี้
เป็นผู้ที่ผลักดันประวัติศาสตร์ในท้องถินให้เคลื่อนอยู่ตลอดเวลา
                                      ่
ด้วยสังคมไทยในปัจจุบันมีค่านิยมและการดำารงชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปจึงนำา
วัฒนธรรมของชาติอื่นมาเป็นเกณฑ์ในการดำารงชีวิต ส่งผลให้เยาวชน
ไทยหลงลืมมรดกที่มีคุณค่าทั้งทางด้านวัฒนธรรม วรรณกรรม ศิลปกรรม
ซึ่งแสดงถึงภูมิปัญญาในท้องถิ่น
ที่ม าและความสำา คัญ ของ
                           โครงงาน
เนื้อหาส่วนมาก เป็นการเล่าประสบการณ์ตรงจากการได้ยินและได้ประสบ
ด้วยตนเองมาเล่าให้ฟังเท่านั้น และความทรงจำาจากประสาทสัมผัสทั้งสอง
หลายอย่างหลายเหตุการณ์ก็หลงลืมไปบ้าง จำาได้ครึ่งๆ กลางๆ บ้าง แต่ก็
ด้วยใจจริงอยากจะนำามาเล่าสู่ฟังจึงนำามาเขียนไว้ จุดประสงค์ในการเขียน
หนังสือเล่มนี้มี ๒ ประการคือ
๑.เพื่อสะท้อนวิถีชีวิตของบรรพชนบ้านฝางในอดีตมา และให้คนรุ่นหลัง
ได้ได้เห็นภาพของสังคมในอดีตของตนว่าแต่กอนมีการเป็นอยู่อย่างไร ทำา
                                        ่
มาหาสู่กนอย่างไร
         ั
๒.เพื่อเป็นอนุสรณ์เครื่องรำาลึกถึงในโอกาส เช่น ประเพณีบุญมหาชาติ แต่
อย่างไรก็ตามความบกพร่องทั้งหลายทั้งปวงที่มีอยูในรายงานเล่มนี้ พวก
                                                ่
เราก็ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วยค่ะ
จุด ประสงค์
เพือศึกษาประวัติความเป็นมาประวัติท้องถิ่นของตน
   ่
เพือสืบสานและอนุรักษ์วฒนธรรมที่มีอยู่ในท้องถิน
     ่                   ั                     ่
เพือรู้จักการทำางานร่วมกันและเรียนรู้เป็นหมู่คณะ
       ่
เพือศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์นอกห้องเรียน
         ่
เพือให้คนรุ่นหลังได้นำาไปศึกษา หาความรู้จากรายงานที่ทำา
           ่
  ขอบเขตของการทำา โครงงาน
สถานที่ที่ทำาการศึกษาคือ บ้านฝาง ต. บ้านฝาง อ. บ้านฝาง จ. ขอนแก่น
ประโยชน์ท ี่ค าดว่า จะได้ร ับ
1.ได้ศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมในท้องถิ่น
2.ได้แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ประสบการณ์ต่างๆ
3.ได้ศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเป็นการเรียนรู้นอกห้องเรียน
บทที่ ๒
                       ประวัต ิค วามเป็น
                                    มา
๑.๑ ภูมิสถานอันเป็นเป็นที่ตั้งหมู่บ้านฝางทุกวันนี้ เดิมเป็นดงไม้
ฝาง(ฝางเล็ก) ซึ่งชาวบ้าน เรียกว่า “ฝางไก่” มีลักษณะประเภทไม่
ประเภทครึ่งต้นครึ่งเถาว์ (ไม้ชนิดนี้จะอยูตามบริเวณรอบๆ หนองนำ้าที่มี
                                         ่
ผืนดินชุ่มชื้น อุดมสมบูรณ์ดี) ใกล้หนองนำ้าใหญ่ เป็นที่โนนลาดไปทาง
ทิศตะวันออกของหนองนำ้า ซึ่งเหมาะที่จะใช้เป็น ภูมิสถานตั้งบ้านยิ่ง
นัก
สมัยตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประมาณ พ.ศ. ๒๓๗๙ เมื่อครั้ง
เจ้าพระยา มหากษัตริยศึก (ทองด้วง) ต่อมาเป็นพระปฐมบรมกษัตริยต้น
                        ์                                       ์
ราชวงศ์จักรี และเจ้าพระยาสุรสีห์ (บุญมา) ได้ยกกองทัพไปปราบ
จลาจลที่เมืองเวียงจันทร์ ในครั้งนั้นหลวงแก้วบุญโฮม และเพียเมือง
แพนสองพี่น้องซึ่งเป็นข้าราชกาลที่เมืองเวียงจันทร์ ได้พากันอพยพ
ผู้คนจากฝั่งซ้ายแม่นำ้าโขงประมาณ ๕๐๐ คน เข้ามาพึ่งพระบรม
โพธิสมภารในราชอาณาจักกรไทยสยาม โดยมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้าน
ทุ่ม (อำาเภอเมืองขอนแก่น) ต่อมาบ้านทุ่มได้เกิดแห้งแล้งขาดแคลนนำ้า
ชาวบ้านทุ่มจงได้อพยพจากบ้านทุ่ม ไปหาทำาเลที่เหมาะกว่าโดยแยก
ย้ายกันไป คนละทิศละทางชนิดไปตายดาบหน้า
ประวัต ิค วามเป็น มาของศาลตาปู่
 เล่าจากปากต่อปาก ศาลนี้ตั้งอยู่ทนี่ประมาณ 100-200 กว่าปีแล้ว ปู่นี่ชื่อว่า ปู่นครินทร์ ปู่พา
                                            ี่
กันมาจาก เขมร คนขอม มาอยูที่นี่ 4-5 คน พากันมาตั้งบ้าน หาที่อยู่  ที่กน เพราะอยู่ที่นั่นมัน
                                   ่                                        ิ
แล้งมาก ก็เลยพากันมา พากันพายถุงมา คนถือมีดก็ถือ คนถือขวานก็ถือ อาหารก็พากันมีแจ่ว
มากินขณะเดินทาง เดินมาเรื่อยๆ เรื่อย ๆพอมาถึงบ้านทุ่ม ก็มาหยุดอยูที่นี่ เลยหาทีอยู่ทกิน ที่
                                                                        ่          ่   ี่
บ้านทุ่มก็ไม่มี มันไม่สมบูรณ์ ก็เลยกลับมา เดินหน้าไป เรื่อย ๆ เลยมาถึงหนองแวง แล้วมาถึง
หนองแสง         
หนองแวงคือว่าต้นมะขามใหญ่ทอยู่ศาลานี้ อยู่หมู่12 ของบ้านฝางปัจจุบันนี้ตรงตรงต้นมะขาม
                                       ี่
นี้ เมือ200-300 ปี ก็พากันมาอยูที่นั่น แล้วก็เอาถุงไปห้อย อาศัยต้นมะขามต้นนั้น ตอนนั้นเป็น
       ่                             ่
ดงช้างดงเสือหมด มีคนเฒ่าคนแก่เล่าให้ฟัง แล้วถ้าใครมาถามก็ให้บอกไปแบบนี้ เหมือนเดิม
พอดีอยูนั่นก็เลยพากัน หาทีทำาอยู่ทำากิน มาก็มาถึงหนองแสง ก็เลยพากันสร้างบ้านแยกกันไป
         ่                  ่
คนละทิศ ละทาง ก็มหนองหนึ่งเป็น
                      ี
หนองแสง มีฝายอิ่ด่อยเป็นห้วยนำ้า  อีกทางหนึ่งก็เป็นคูใหญ่ อีกทางหนึ่งก็เป็นท่ามาลัย แยก
ออกไปทางละคน สองคน แล้วก็กลับมาหากัน อาหารการกินเยอะแยะมากมาย  งันเราก็ปัก
หลักอยู่ทนี่แหละ  ปักหลักอยู่ทนี่ จากที่ ที่เคยเป็นป่าเป็นดงก็ตัดหญ้าตัดต้นไม้ออก เพื่อทำาที่อยู่
           ี่                   ี่
อาศัย ใครที่สร้างบ้านเสร็จสมบูรณ์แล้ว ก็ไปเรียกเอาครอบครัวมาอยูด้วยกัน  ตอนที่ไปรับ
                                                                     ่
ครอบครัว คนกลุ่มนี้ก็ได้นึกชื่อบ้านว่าจะตั้งว่าอะไร จึงได้เห็นต้นไม้ที่อยูโรงเรียนชุมชน
                                                                          ่
บ้านฝาง  ก็เลยพากันว่า เราตั้งชื่อบ้านว่าอะไร ทีนี่อุดมสมบูรณ์ดีเนอะ ตกลงกันว่าเอาชื่อ
                                                   ่
ต้นไม้ต้นนี้ซะ ก็เลยเป็นบ้านฝางเท่าทุกวันนี้ พวกหนึ่งก็ไปอยู่หนองแวง ก็ยายจากหนองแวง
                                                                              ้
มาอยู่ด้วยกัน เมือก่อนบริเวณนี้มนเป็นสระนำ้า ก็เลยมาถมเป็นสถานที่ เป็นอำาเภอบ้านฝางทุก
                  ่                       ั
วันนี้
ประชากร และการ
ประชากร             ปกครอง
เป็นธรรมดาของโลกว่า ทุกสิ่งอย่างเริ่มจากน้อยไปหา
มาก ประชากรของชาวบ้านฝางในสมัยของท่าน หลวง
ราชนรินทร์ ก็มีเพียง ๙-๑๐ หลังคาเรือน ต่อมาก็ขยาย
ขึ้นเรื่อย ๆ เพราระเกิดกิตติศัพท์ของหมู่บ้าน
ที่ตั้งใหม่นี้อุดมสมบูรณ์ดีด้วยนำ้าท่า ข้าวปลาอาหาร จึง
มีคนพากันอพยพหนีความกันดาร แห้งแล้งจากที่ต่าง ๆ
เข้ามาเสี่ยงดวง เพื่อผจญกับ ไข้ป่ามาลาเรีย และภัย
จาก สัตว์ป่าที่ดุราย ภัยจากผีกองกอย สารพัดภัย เมื่อมี
                  ้
หลายหลังคาเรือน ทางราชกาลก็ได้ตั้งหมู่บ้าน ให้มี
ผู้ใหญ่บ้านปกครอง เป็นบ้านฝาง หมู่ที่๑๙ ตำาบลบ้าน
ทุ่ม อำาเภอพระลับ จังหวัดขอนแก่น (คือหมู่๒ทุกวันนี้)
โดยมีผู้ใหญ่บ้านปกครองกันมา ถึงทุกวันนี้
การปกครอง
a. พ่อเฒ่าจันทะรัง เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรกของบ้านฝาง หมู่ที่ ๑๙
b. ขุนศรีจวง ต้นตระกูลดาวแหม่ว หมู่ที่๑๙ ตำาบลบ้านทุ่ม
c. เฒ่าเสมียนอ้ม ต้นตระกูลอุทธาโกสม หมู่ที่ ๑๙ ตำาบลบ้านทุ่ม
d. พ่อปุ้ม โพนทองวิจิตร หมู่ที่๑๙ ตำาบลบ้านทุ่ม
e. พ่อพันธ์ สุแดงน้อย หมู่ที่๑๙ ตำาบลบ้านทุ่ม
f. พ่อคำาพา โชติทอง หมู่ที่๑๙ ตำาบลบ้านทุ่ม
g. พ่อโสภา สมวงษา หมู่ที่๑๙ ตำาบลบ้านทุ่ม
h. พ่อวันทอง ใหญ่ลา เปลี่ยนเป็นหมู่ที่๒ ตำาบลหนองบัว อำาเภอเมือง
   ขอนแก่น
i. นายคำา พรมจักร หมู่ที่๒ ตำาบลหนองบัว อำาเภอเมืองขอนแก่น
j. นายขาว หร่องบุตรศรี หมี่๒ ตำาบลหนองบัว อำาเภอเมืองขอนแก่น และเป็น
   กำานัลคนที่๓ ของตำาบลหนองบัว แล้วเปลี่ยนมาเป็นกำานัลคนที่๑ ของ
   ตำาบลบ้านฝาง อำาเภอบ้านฝาง
k. นายธรรมรัตน์ สุวัฒศรีสกุล หมู่ที่๒ ตำาบลบ้านฝาง อำาเภอบ้านฝาง และ
ที่ต ั้ง และอาณาเขต


บ้านฝาง เมื่อประมาณ ๒๐๐ ปีเศษโน้น ตั้งอยูท่ามกลางดงไม้ฝาง ทึบ มี
                                             ่
ลำาห้วยธรรมชาติเล็ก ๆ แต่มีนำ้าใสเย็นตลอดปีขนาบอยู่ ๒ ข้าง ด้านทิศใต้
เป็นห้วยวังบง ส่วนด้านทิศเหนืออยูห้วยนำ้าจั้น ออกจากหนองใหญ่ที่ติดอยู่
                                   ่
ติดบ้านทั้ง ๒ หนองดังกล่าวแล้วนั้น แต่จะไม่อยู่ใกล้แม่นำ้าภูเขาสูงแต่
ประการใด จึงไม่ต้องวิตกกังวนกับภัยนำ้าท่วมใหญ่ นำ้าท่วมฉับพลัน หรือว่า
ภูเขาถล่มทับซึ่งก็นับว่าบรรพบุรุษของบ้านฝางท่านเป็นผู้มีความรอบครอบ มี
วิสัยทัศน์ที่กว้างไกลแต่ก่อนโน้นเป็นถิ่นอันตรายจากสัตว์ดุร้าย แต่ปัจจุบัน
นี้บ้านฝางตั้งอยูกลางทุ่งนาติดกับทางหลวงแผ่นดินสามที่
                  ่
ปัจจุบันนี้ บ้านฝางจึงมีอาณาเขตติดกับหมู่บ้านฝางต่างๆดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับบ้านโคกใหญ่ ตำาบลบ้านฝาง
ทิศตะวันออก ติดต่อกับบ้านหนองกุง บ้านแดงน้อย ตำาบลบ้านทุ่ม อำาเภอ
เมืองขอนแก่น และบ้านสระแก้ว ตำาบลบ้านฝาง
ทิศใต้ ติดต่อกับบ้านหัวบึง บ้านโคกสี ตำาบลบ้านฝาง และบ้านหนองชาติ
ตำาบลบ้านเหล่า ตำาบลบ้านฝาง
ทิศตะวันตก ติดต่อกับบ้านหนองบัว และบ้านนาดอกไม้ ตำาบลหนองบัว
สภาพสัง คม เศรษฐกิจ วัฒ นธรรม และค่า นิย ม
๑ ฝางยุคแรก คือนับตั้งแต่ยุคบุกเบิกจนมาถึงทางราชการ ได้ตั้งเป็น
หมู่บ้าน คือหมู่ที่๑๙ ตำาบลบ้านทุ่ม
๒ ฝางยุคกลาง คือ นับตั้งแต่ พ.ศ ๒๔๔๙ ถึง พ.ศ ๒๔๗๕ คือยุคขนแห่
ขนทรายเข้าวัดและยุคชายฉกรรจ์หัดทหาร ทั้งยุคแรกและยุคกลาง
ข้าพเจ้าจะขออนุญาตนำาพาท่านทัวร์ชมในขบวนเดียวกันเลย
ทั้งนี้ก็เพราะสภาพสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและค่านิยม ในสองยุคจะ
ไม่ค่อยแตกต่างกันเท่าใดนัก
วิถีชีวิตของคนในสองยุคนี้ เป็นสังคมแบบปฐมภูมิ มีการเป็นอยู่แบบ
เครือญาติ หรือมีวิถีชีวิตแบบสันโดษ เป็นวิถีชีวิตแบบเกษตรกรรม ช่อง
ว่างระหว่างคนจนกับคนรวยไม่หางกันมากเหมือนทุกวันนี้ คนทุกคนใน
                                  ่
หมู่บ้านจะมีกี่สิบกีร้อยหลังคาเรือนก็ตาม จะมีความรู้จักมักคุ้นกันหมด
                    ่
ไม่มีการแบ่งชนชั้นว่าคนจนคนรวย หรือเหล่านี้คือชนชั้นปกครอง พวก
นั้นคือชนชั้นกรรมาชีพ ผู้ใช้แรงงาน อย่างนี้จะไม่มี ใครมีธุระภารกิจ
อะไรที่หนักก็จะวานเพื่อนบ้านให้ช่วยทำาจนสำาเร็จเข้าทำานองว่า ถ้า
เหลือกำาลังมาก ก็ออกปากชวนแขกช่วยแบกหาม การช่วยงานใดๆ
ก็ตามของเพื่อนบ้าน จะไม่มีคำาว่าจ้างให้ทำา ไม่ว่าจะหนักหรือเบาก็จะ
ช่วยกันทำาให้สำาเร็จ
ฝางยุค พัฒ นา
    ในการพัฒนาหมู่บ้านของบ้านฝาง เพือให้อนุชนชาวบ้านาฝางได้มองเห็นปัญหา
                                    ่
อุปสรรค ในการพัฒนาชุมชนของบ้านเกิด      ว่า มีกันอย่างไรบ้าง แล้วจะได้นำามาเป็นครู
หรืออาจแก้ไขปรับปรุงตามยุคสมัย
   จึงจะขอแบ่งยุคพัฒนาเป็นหลายยุค คือ
 ยุคพัฒนาแบบขนแห่งขนทรายเข้าวัด
  พ.ศ. ๒๔๔๙ เมื่อได้รับพระบรมราชโองการ ทรงอนุญาตให้ก่อสร้างวิสุงคามสีมา เป็นที่
เรียบรอยแล้ว พอออกพรรษาพระอาจารย์เม้า และสมบัติเจ้าอาวาสวัดบูรพาในขณะนั้นจึง
ได้ประชุมญาติโยมวางแผนงานทีจะดำาเนินการก่อสร้าง วิสุงคามสีมา พอถึงเดือนสิบสอง
                                  ่
เอาข้าวขึนเล้า (เก็บเกี่ยวข้าว) เสร็จเรียบร้อยแล้ว พ่อผู้ใหญ่บ้านก็ประกาศใช้ชาวบ้าน
         ้
ช่วยกันเอาครุ ตะกร้า ไปหาบอาหินเอาทรายมาเข้ากองไว้ในวัด เพื่อจะได้เริ่มก่อสร้าง
อุโบสถต่อไป และในการก่อสร้างดังกล่าว จะไม่มการว่าจ้างช่างแต่ประการใด เพราะ
                                                  ี
หลวงพ่อผู้เป็นสมภารวัด(พระอาจารย์เม้า แสนสมบัติ) ท่านเป็นพระช่างก่อสร้างอยู่แล้ว
 งานการขนแห่ทรายเข้าวัด จึงเริมขึนตั้งแต่เดือนสิบสองของปีวอก ร.ศ.๑๒๕ เป็นต้นมา
                                   ่ ้
ใช้เวลาเกือบ๕ปีจนแล้วเสร็จ ทำาให้บ่าวสาวหลายคู่ได้ถือเอาโอกาสนี้ระหว่างที่ชวยกันขน
                                                                           ่
แห่ขนทรายเข้าวัดนี้ ได้สารภาพรักต่อกัน และได้แต่งงานสร้างฐานะกันไปหลายคู่เพราะ
โอกาสทองแห่งความรักเช่นกับการขนแห่ขนทรายเข้าวัดครั้งนี้ หามิได้อีกแล้วก็นับว่า
พระคุณท่าน พระอาจารย์เม้า แสนสมบัติ (ซึงต่อมาท่านได้อุปสมบทอีกครั้งเป็นพระนัก
                                            ่
ปฏิบัติ ได้มาก่อตั้งวัด ศรีประทุมวานรามทีป่าช้าบ้านฝาง พ.ศ. ๒๔๙๓) ทานได้กศลสอง
                                         ่                                   ุ
โกฐาฎ คือโกฐาฎที่ ๑ ได้ก่อสร้างพระอุโบสถ โกฐาฎที่ ๒ ก็ได้ให้โอกาสให้แก่คู่หนุ่มสาว
ช่วยกันสร้างครอบครัวหลายคน คุณแม่ของนักเขียนได้เล่าให้ฟังว่าปีตอนขนแห่ขน
ยุค กุฎ ีไ ม้เ สา ๑๓๖ ต้น
  ยุคพัฒนา ยุคนี้สืบต่อการก่อสร้างโบสถ์เสร็จเรียบร้อยแล้ว ฉลองโบสถ์เสร็จแล้ว
พระอาจารย์ซาเม้า แสนสมบัติ ก็ลาสิกขาบทสึกออกมา
    แล้วสมภารวัดรูปต่อมาก็คือ คูบาจารย์คูใบ ข้อตุ่ย หรือที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า
 “คูบาใบ” หรือที่พระเณรเรียกกันในวัดว่า         “คูบาเฒ่า” ได้เป็นเจ้าอาวาสต่อ
จึงได้ทำาการก่อสร้างกุฏิที่พัก ของภิกษุสามเณรขึ้นหลังหนึ่ง เป็นกุฏิไม้มุงสังกะสี
ฟื้นฝากระดาน ขนาดต้นเสาไม้จำานวน ๑๓๙ ต้น หลังคามุขทรงไทย แฝด ๕ แฝด
นับเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่และสวยงามที่สุดในระแวกนี้
    สมัย พ.ศ. ๒๔๙๒ ผู้เขียนบรรพชาเป็นสามเณร ยังได้พักอาศัยอยู่ เฉพาะกุฏิหลัง
นี้ บรรจุพระภิกษุสามเณรได้ ๑๖๓ รูป เป็นกุฏิชั้นเดี่ยวใต้ถุนสูง ที่ใต้กุฏินี้ยังเป็น
ห้องเรียน ของนักเรียนชั้นประถมอีก และตอนที่ผู้เขียนเรียนอยูชั้นประถมปีที่ ๒ ได้
                                                              ่
อาศัยเรียนอยู่ที่ใต้กุฏิหลังดังกล่าวนี้
   งานการก่อสร้างถาวร วัตถุที่ใหญ่ ๆอย่างนี้ นับเป็นประกาศนียบัตร ที่รับรอง หรือ
แสดงถึงความสามารถในการปกครองผู้นำาทางวัดและผู้นำาทางหมู่บ้าน ว่ามีความ
เด็ดเดี่ยว เข้มแข็งและแสดงถึงความสามัคคีกลมเกลียวของประชาชนในหมู่บ้านและ
ความสามัคคีของพระภิกษุสามเณรภายในวัดอีกด้วยเพราะไม้ทุกตัวกระดานทุกแผ่น
เสาทุกต้น จะสำาเร็จออกมาก็ดวยฝีมือและนำ้าพักนำ้าแรงของแต่ละคนทั้งนั้น ไม่ใช่ได้
                            ้
มาจากโรงเรียนเรื่อยแต่ประการใด ความมั่นคงทางด้านศาสนาในยุตนี้พูดออกได้
บทที่3
               วิธ ีด ำา เนิน การทำา โครงงาน
3.1 อุป กรณ์               ตารางการปฏิบ ัต ิง าน
1.กระดาษ
2.ปากกา        รายการปฏิบ ัต ิง าน
3.กล้องถ่ายรูป 1. หาหัวข้อโครงงาน    ระยะเวลาการ
4.ค่าใช้จ่าย 2. เริ่มหาข้อมูล        ทำา งาน
5.นำ้ายาลบคำาผิด สอบถามข้อมูล        14 ธ.ค 53
               3.
3.2 การดำา เนิน งาน ยบเรียงข้อมูล    20 ธ.ค 53
               4. เรี
1.สอบถามข้อมูล                       4 ม.ค 54
               5. จัดทำาโครงงาน
2.เรียบเรียงข้อมูล นำาเสนอโครงงาน    31 ม.ค 54
               6.
                                     19 ก.พ 54
3.จัดทำาโครงงาน
                                     4 ก.พ 54
4.นำาเสนอโครงงาน
บทที่ 4
                  ผลการดำา เนิน งานจัด ทำา โครงงาน
เมื่อพวกเราได้ลงมือทำาโครงงานเรื่องศาลตาปู่บ้านฝางขึ้นมาพวกเราก็ได้
ดำาเนินงานจัดทำาโครงงานเป็นไปตามจุดประสงค์ที่พวกเราได้กำาหนดไว้
คือ 1.เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาประวัติท้องถิ่นของตน 2.เพื่อสืบสาน
และอนุรักษ์วัฒนธรรมที่มีอยู่ในท้องถิ่น 3.เพื่อรู้จักการทำางานร่วมกันและ
เรียนรู้เป็นหมู่คณะ 4.เพื่อศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์นอกห้องเรียน 5.เพื่อ
ให้คนรุ่นหลังได้นำาไปศึกษา หาความรู้จากรายงานที่ทำาและพวกเราก็ได้
รับประโยชน์จากการทำาโครงงานเรื่องนี้ขึ้นมามีดังนี้
1.ได้ศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมในท้องถิน      ่
2.ได้แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ประสบการณ์ต่างๆ
3.ได้ศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเป็นการเรียนรู้นอกห้องเรียน
ส่วนปัญหาและอุปสรรค์ในการทำาโครงงานเรื่องนี้ขึ้นของพวกเราก็ไม่มี
พวกเราทำาโครงงานเป็นไปด้วยความราบรื่นสะดวกต่อการเดินทางไปทำา
โครงงานการที่พวกเราได้ทำาโครงงานนี้ทำาให้รู้ว่าการทำางานเป็นกลุ่มเป็น
คณะนั้นทำาให้เรามีความสามัคคีกันมากขึนและทำาให้เราไม่แตกแยกกัน
                                          ้
บทที่ 5
                         สรุป และอภิป รายผลการศึก ษา
สรุปผลการศึกษา
ประวัต ิค วามเป็น มา
 เล่าจากปากต่อปาก ศาลนี้ตั้งอยู่ทนี่ประมาณ 100-200 กว่าปีแล้ว ปู่นี่ชื่อว่า ปู่
                                       ี่
นครินทร์ ปู่พากันมาจาก เขมร คนขอม มาอยู่ทนี่ 4-5 คน พากันมาตั้งบ้าน หาที่อยู่ 
                                                     ี่
ทีกิน เพราะอยู่ทนั่นมันแล้งมาก ก็เลยพากันมา พากันพายถุงมา คนถือมีดก็ถือ คนถือ
  ่              ี่
ขวานก็ถือ อาหารก็พากันมีแจ่วมากินขณะเดินทาง เดินมาเรือยๆ เรื่อย ๆพอมาถึงบ้าน
                                                               ่
ทุม ก็มาหยุดอยู่ทนี่ เลยหาที่อยูที่กิน ทีบ้านทุมก็ไม่มี มันไม่สมบูรณ์ ก็เลยกลับมา เดิน
    ่               ี่            ่       ่        ่
หน้าไป เรื่อย ๆ เลยมาถึงหนองแวง แล้วมาถึงหนองแสง         
หนองแวงคือว่าต้นมะขามใหญ่ทอยู่ศาลานี้ อยู่หมู่12 ของบ้านฝางปัจจุบันนี้ตรงตรง
                                    ี่
ต้นมะขามนี้ เมื่อ200-300 ปี ก็พากันมาอยูทนั่น แล้วก็เอาถุงไปห้อย อาศัยต้นมะขาม
                                              ่ ี่
ต้นนั้น ตอนนั้นเป็นดงช้างดงเสือหมด มีคนเฒ่าคนแก่เล่าให้ฟัง แล้วถ้าใครมาถามก็
ให้บอกไปแบบนี้ เหมือนเดิมพอดีอยู่นั่นก็เลยพากัน หาทีทำาอยูทำากิน มาก็มาถึงหนอง
                                                           ่     ่
แสง ก็เลยพากันสร้างบ้านแยกกันไปคนละทิศ ละทาง ก็มหนองหนึ่งเป็นี
หนองแสง มีฝายอิ่ด่อยเป็นห้วยนำ้า  อีกทางหนึ่งก็เป็นคูใหญ่ อีกทางหนึ่งก็เป็นท่า
มาลัย แยกออกไปทางละคน สองคน แล้วก็กลับมาหากัน อาหารการกินเยอะแยะ
มากมาย  งันเราก็ปักหลักอยู่ทนี่แหละ  ปักหลักอยู่ทนี่ จากที่ ที่เคยเป็นป่าเป็นดงก็ตัด
                               ี่                       ี่
หญ้าตัดต้นไม้ออก เพื่อทำาทีอยู่อาศัย ใครทีสร้างบ้านเสร็จสมบูรณ์แล้ว ก็ไปเรียกเอา
                             ่                  ่
ครอบครัวมาอยู่ด้วยกัน  ตอนที่ไปรับครอบครัว คนกลุ่มนี้ก็ได้นึกชื่อบ้านว่าจะตั้งว่า
อะไร จึงได้เห็นต้นไม้ที่อยูโรงเรียนชุมชนบ้านฝาง  ก็เลยพากันว่า เราตั้งชื่อบ้านว่า
                           ่
อะไร ที่นี่อุดมสมบูรณ์ดีเนอะ ตกลงกันว่าเอาชื่อต้นไม้ต้นนี้ซะ ก็เลยเป็นบ้านฝางเท่า
ทุกวันนี้ พวกหนึ่งก็ไปอยู่หนองแวง ก็ยายจากหนองแวงมาอยู่ด้วยกัน เมือก่อนบริเวณ
                                            ้                              ่
นี้มนเป็นสระนำ้า ก็เลยมาถมเป็นสถานที่ เป็นอำาเภอบ้านฝางทุกวันนี้
      ั
พิธ ีก รรม
วันเลี้ยงตาปู่ จะกำาหนดหลังจากหลังสงกรานต์ไปแล้ว เมือกำาหนดวันแล้ว ผู้ชายจะมา
                                                        ่
ทำาความสะอาดบริเวณศาล เตรียมเครื่อง เซ่น ได้แก่ ไข่ต้ม เหล้า ขนมต้มแดง ขนม
ต้มขาว เครื่องแต่งกายสำาหรับตาปู่ และโทน 3-5 ลูก ในวันประกอบพิธี ชาวบ้านชาย
หญิง จะนั่งล้อมศาลตาปู่ บุคคลสำาคัญในพิธีไหว้ตาปู่ คือท้าวเธอ ได้แก่คนทรงกับ
บริวาร ซึงอาจมีจำานวน 2-5 คน เมือเริ่มพิธีคนตีโทนจะตีโทนเสียงดังกระหึ่ม จนตาปู่
           ่                         ่
มาเข้าทรง บริวารซึงส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ทีได้รับการเคารพนับถือ ตาปู่ทเข้าทรง
                      ่                        ่                          ี่
จะใช้เสื้อผ้าที่เตรียมไว้ และรับเครื่องเซ่น โดยใช้ตะเกียบคีบขึ้นมาดม จากนนั้นร่าย
รำาตามเสียงและจังหวะโทน เมื่ออวยชัยให้พรแก่ลูกหลาน แต่ถ้าหากว่าชาวบ้านไป
บนบาน ให้ตาปู่ช่วย เช่น ขอให้ได้ของทีหาย หรือขอให้ช่วยอะไร ถ้าได้แล้วอาจ
                                            ่
แก้บนด้วย เหล้าให ไก่ตัว ข้าวปากหม้อ ขนมหวาน เป็นต้น
ความเชื่อ
ตาปู่คือผีคุ้มครองหมู่บ้าน ส่านใหญ่รู้จกกันในนามปู่นครินทร์ ชาวบ้านเรียกว่าตาปู่
                                        ั
ตาปู่เจ้าบ้าน หรือชาวอีสานเรียกว่าตาปู่ ที่สิงสถิตของตาปู่คือศาล เรียกว่า ศาลตาปู่
มักตั้งอยู่ทดอน ทีเนินซึงเป็นทางเข้าหมูบ้าน ทีมีต้นไม้ใหญ่ ลักษณะของศาล เป็น
             ี่     ่     ่               ่      ่
ศาลสี่เสาร์ หลังคาจัว กว้างประมาณ 2 เมตร ยาวประมาณ3 เมตร พืนยกสูงประมาณ
                        ่                                          ้
อกผู้ใหญ่ 1.50 เมตร ภายในศาลมีรูปปั้น ช้าง ม้า ตุ๊กตาคน ชายหญิง อาวุธทำาด้วย
ไม้ เช่นมีด ดาบ หอก ปืน
2.ค่า ใช้จ ่า ยในการทำา โครงงาน
ค่านำ้ามันรถ 50 บาท
ค่าอินเตอร์เน็ต 30 บาท
ค่าปริ้นงาน 80 บาท

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงloveonlyone
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย0857226950bb
 
ภูมิปัญญา
ภูมิปัญญาภูมิปัญญา
ภูมิปัญญาphaudjantuk
 
บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่niralai
 
ศิริวรรณ เคนมา
ศิริวรรณ เคนมาศิริวรรณ เคนมา
ศิริวรรณ เคนมาaon1112
 

Was ist angesagt? (6)

เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
 
ภูมิปัญญา
ภูมิปัญญาภูมิปัญญา
ภูมิปัญญา
 
5
55
5
 
บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่
 
ศิริวรรณ เคนมา
ศิริวรรณ เคนมาศิริวรรณ เคนมา
ศิริวรรณ เคนมา
 

Andere mochten auch

Webquest
WebquestWebquest
Webquestmarara7
 
The use of email ana y mara
The use of email ana y maraThe use of email ana y mara
The use of email ana y maramarara7
 
La construccion-del-camino-lector-laura-devetach
La construccion-del-camino-lector-laura-devetachLa construccion-del-camino-lector-laura-devetach
La construccion-del-camino-lector-laura-devetachPablo Gustavo Salinardi
 
Sheila holder's disseration proposal 2.3a
Sheila holder's disseration proposal 2.3aSheila holder's disseration proposal 2.3a
Sheila holder's disseration proposal 2.3aVivian Holder
 
Holidays 2012
Holidays 2012Holidays 2012
Holidays 2012tserilu20
 
Optimización de contenidos
Optimización de contenidosOptimización de contenidos
Optimización de contenidosEilis Boyle
 
Activity plan song
Activity plan songActivity plan song
Activity plan songmarara7
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
Lesson plan email
Lesson plan emailLesson plan email
Lesson plan emailmarara7
 
Ppp technology
Ppp technologyPpp technology
Ppp technologymarara7
 
PR 101 EO Forum 102416
PR 101 EO Forum 102416PR 101 EO Forum 102416
PR 101 EO Forum 102416SandraFekete
 
Let Your Company Culture Inspire Your Brand
Let Your Company Culture Inspire Your BrandLet Your Company Culture Inspire Your Brand
Let Your Company Culture Inspire Your BrandSandraFekete
 
Design Thinking Flash Sessions - Event Experience Design
Design Thinking Flash Sessions - Event Experience Design Design Thinking Flash Sessions - Event Experience Design
Design Thinking Flash Sessions - Event Experience Design Claudia Brückner
 

Andere mochten auch (15)

Webquest
WebquestWebquest
Webquest
 
Envision - An Overview of Solutions & Services
Envision - An Overview of Solutions & ServicesEnvision - An Overview of Solutions & Services
Envision - An Overview of Solutions & Services
 
The use of email ana y mara
The use of email ana y maraThe use of email ana y mara
The use of email ana y mara
 
La construccion-del-camino-lector-laura-devetach
La construccion-del-camino-lector-laura-devetachLa construccion-del-camino-lector-laura-devetach
La construccion-del-camino-lector-laura-devetach
 
Sheila holder's disseration proposal 2.3a
Sheila holder's disseration proposal 2.3aSheila holder's disseration proposal 2.3a
Sheila holder's disseration proposal 2.3a
 
Holidays 2012
Holidays 2012Holidays 2012
Holidays 2012
 
Test
TestTest
Test
 
Optimización de contenidos
Optimización de contenidosOptimización de contenidos
Optimización de contenidos
 
Activity plan song
Activity plan songActivity plan song
Activity plan song
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Lesson plan email
Lesson plan emailLesson plan email
Lesson plan email
 
Ppp technology
Ppp technologyPpp technology
Ppp technology
 
PR 101 EO Forum 102416
PR 101 EO Forum 102416PR 101 EO Forum 102416
PR 101 EO Forum 102416
 
Let Your Company Culture Inspire Your Brand
Let Your Company Culture Inspire Your BrandLet Your Company Culture Inspire Your Brand
Let Your Company Culture Inspire Your Brand
 
Design Thinking Flash Sessions - Event Experience Design
Design Thinking Flash Sessions - Event Experience Design Design Thinking Flash Sessions - Event Experience Design
Design Thinking Flash Sessions - Event Experience Design
 

Ähnlich wie File

ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการfufee
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงloveonlyone
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย0857226950bb
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควนTum Meng
 
สังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางสังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางtonsocial
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชีธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชีbawtho
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือtonsocial
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่งtie_weeraphon
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”Tum Meng
 
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ดุซงญอ ตำบล
 
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านหรร 'ษๅ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1rever39
 

Ähnlich wie File (20)

ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการ
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
 
7
77
7
 
1
11
1
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 
สังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางสังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลาง
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชีธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
ธรรมชาติยาตรา เพื่อลำน้ำชี
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอีเล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
4
44
4
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
 
ก่อเจดีย์ทราย
ก่อเจดีย์ทรายก่อเจดีย์ทราย
ก่อเจดีย์ทราย
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
 
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
 
presentation
presentationpresentation
presentation
 
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

File

  • 1. โครงงาน วิช า ประวัต ิศ าสตร์ เรื่อ ง ศาลตาปู่ บ้า นฝาง จัด ทำา โดย 1 นางสาว สุภ าพร คำา เครื่อ ง เลขที่ 29 2 นางสาว ศิร ิร ัต น์ น้อ ยผาง เลขที่ 31 3 นางสาว พิม พ์อ ัม พร ไชยนามน เลขที่ 17 4 นางสาว นุช นาฎ บุด ดาซุย เลขที่ 16 5 นางสาว นิส าชล แจ้ง พรมมา เลขที่ 15 มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 5/2 เสนอ อาจารย์ อรวรรณ กองพิล า ภาคเรีย นที่ 2 ปีก ารศึก ษา 2553 โรงเรีย นฝางวิท ยายน อำา เภอบ้า นฝาง จัง หวัด ขอนแก่น
  • 2. ประกาศคุณ ูป การ การทำาโครงงานประวัติบ้านฝางในครั้งนี้สำาเร็จลงด้วยดี เพราะได้รับความกรุณา อย่างยิ่งดีจากผู้อำานวยการโรงเรียนฝางวิทยายน นายธนัท ไชยทิพย์ ที่ให้การสนับสนุนส่งเสริมและอนุญาตในการทำาโครงงาน ประวัติบ้านฝางในครั้งนี้ ขอขอบพระคุณ คุณครูอรวรรณ กองพิลา แม่ครูที่ปรึกษาของเรา ที่กรุณาให้คำา ปรึกษาแนะนำาแนวทางช่วยเหลือในด้านต่างๆแก่พวกเราจนทำาให้โครงงาน การ ศึกษาประวัติบ้านฝางผ่านการบอกเล่าผู้เฒ่าผู้แกในหมู่บ้านและหนังสือประวัติ บ้านฝาง สำาเร็จลงได้ด้วยดี ขอขอบพระคุณคุณตาโท พรมจักร์ และชาวบ้านฝางฝางทุกท่านที่คอยให้ขอมูล ้ ในทุกๆเรื่อง และทุกครั้งที่ผู้จัดทำาโครงงานทำาการลงภาคสนาม ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ คือผู้ที่อุปการคุณในการทำาโครงงานในครั้งนี้ ขอให้ทุก หน่วยงานทุกท่านที่กล่าวมาข้างต้นจงให้ความอุปการคุณแก่เพื่อนๆที่ทำาโครง งานในหัวข้อใกล้เคียงกันที่มาทำาในท้องถิ่นในอนาคต กลุ่มทำาโครงงานขอมอบ ความดีที่เกิดขึ้นทั้งที่เป็นผลลการดำาเนินงาน และสิ่งสร้างสรรค์ต่าง ที่เกิดขึ้นมา เพราะผลการทำาโครงงาน ให้แก่บุพการี และทุกท่านที่มีอุปการคุณ
  • 3. บทคัด ย่อ การศึกษาประวัติศาสตร์ในท้องถินผ่านการบอกเล่าจากผู้เฒ่าผู้แก่โดยมี ่ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่องราววิถีชีวิตของคนในชุมชนและศึกษาแนวทางการ สืบทอดอนุรักษ์วรรณกรรมอีสาน โดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและงาวิจัยที่ หนังสือการเก็บข้อมูลภาคสนาม การสนทนากลุ่ม การประชุมเชิงปฏิบัติการ การ จักเวทีเสวนา การนำาเสนอผลงานการดำาเนินงานโดยใช้วิเคราะห์เป็นความเรียง การศึก ษาปรากฏดัง นี้ ประวัติบ้านฝางเป็นที่ได้รับความนิยมจากคนในท้องถิ่นที่เชื่อว่าเป็นพฤติกรรม ของคน ในอดีตและเรื่องราวต่างๆในอดีต ในอดีตเชื่อว่าศาลตาปู่ในอดีตเป็นที่ ได้รับความศรัทธาจากชาวเพราะเชื่อว่าการที่ได้สิ่งที่เราสมปรารถนานั้นเป็นผล มาจากศาลตาปู่ประจำาหมู่บ้านเพราะการที่เราไปบนบานศาลเจ้านั้นเราก็ต้องมี สิ่งของที่เส้นไหว้เพื่อความศักสิทธิ์หรือเป็นการแลกเปลี่ยนกัน การศึกษาเรื่องราวในอดีตประวัติบ้านฝางชาวบ้านฝางพยายามฟื้นฟูให้มีความ สำาคัญโยมีการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ในเรื่องของประวัติบ้านฝางผ่านการบอกเล่า ของผู้เฒ่าผูแก่ในชุมชนนี่เป็นส่วนหนึ่งที่แสดงให้เห็นของความร่วมมือในท้องถิ่น ้ ที่ให้ความสำาคัญของประวัติบ้านฝางของคนรุ่นก่อนที่ถ่ายทอดวิถีชีวิตให้แก่ลูก หลานได้เรียนรู้
  • 4. บทที่ ๑ บทนำา ดินแดนที่เป็นไทยในปัจจุบันเดิมมีอาณาจักรอื่นเกิดขึ้นมากมายเมื่อเสื่อม อำานาจลงกลุ่มคนไทยได้สถาปนาเป็นอาณาจักรของไทยในปัจจุบันมีนักมี ชาการศึกษา เขียนเล่าเรื่องราวเกียวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยเอาไว้ ่ มากมายหลายส่วน การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นซึ่งเป็นประวัติศาสตร์ที่ เกี่ยวข้องกับของคนในชุมชนเล็กๆ ที่ไม่มีอำานาจ ไม่มีโอกาสแต่เขาเหล่านี้ เป็นผู้ที่ผลักดันประวัติศาสตร์ในท้องถินให้เคลื่อนอยู่ตลอดเวลา ่ ด้วยสังคมไทยในปัจจุบันมีค่านิยมและการดำารงชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปจึงนำา วัฒนธรรมของชาติอื่นมาเป็นเกณฑ์ในการดำารงชีวิต ส่งผลให้เยาวชน ไทยหลงลืมมรดกที่มีคุณค่าทั้งทางด้านวัฒนธรรม วรรณกรรม ศิลปกรรม ซึ่งแสดงถึงภูมิปัญญาในท้องถิ่น
  • 5. ที่ม าและความสำา คัญ ของ โครงงาน เนื้อหาส่วนมาก เป็นการเล่าประสบการณ์ตรงจากการได้ยินและได้ประสบ ด้วยตนเองมาเล่าให้ฟังเท่านั้น และความทรงจำาจากประสาทสัมผัสทั้งสอง หลายอย่างหลายเหตุการณ์ก็หลงลืมไปบ้าง จำาได้ครึ่งๆ กลางๆ บ้าง แต่ก็ ด้วยใจจริงอยากจะนำามาเล่าสู่ฟังจึงนำามาเขียนไว้ จุดประสงค์ในการเขียน หนังสือเล่มนี้มี ๒ ประการคือ ๑.เพื่อสะท้อนวิถีชีวิตของบรรพชนบ้านฝางในอดีตมา และให้คนรุ่นหลัง ได้ได้เห็นภาพของสังคมในอดีตของตนว่าแต่กอนมีการเป็นอยู่อย่างไร ทำา ่ มาหาสู่กนอย่างไร ั ๒.เพื่อเป็นอนุสรณ์เครื่องรำาลึกถึงในโอกาส เช่น ประเพณีบุญมหาชาติ แต่ อย่างไรก็ตามความบกพร่องทั้งหลายทั้งปวงที่มีอยูในรายงานเล่มนี้ พวก ่ เราก็ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วยค่ะ
  • 6. จุด ประสงค์ เพือศึกษาประวัติความเป็นมาประวัติท้องถิ่นของตน ่ เพือสืบสานและอนุรักษ์วฒนธรรมที่มีอยู่ในท้องถิน ่ ั ่ เพือรู้จักการทำางานร่วมกันและเรียนรู้เป็นหมู่คณะ ่ เพือศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์นอกห้องเรียน ่ เพือให้คนรุ่นหลังได้นำาไปศึกษา หาความรู้จากรายงานที่ทำา ่ ขอบเขตของการทำา โครงงาน สถานที่ที่ทำาการศึกษาคือ บ้านฝาง ต. บ้านฝาง อ. บ้านฝาง จ. ขอนแก่น ประโยชน์ท ี่ค าดว่า จะได้ร ับ 1.ได้ศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมในท้องถิ่น 2.ได้แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ประสบการณ์ต่างๆ 3.ได้ศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเป็นการเรียนรู้นอกห้องเรียน
  • 7. บทที่ ๒ ประวัต ิค วามเป็น มา ๑.๑ ภูมิสถานอันเป็นเป็นที่ตั้งหมู่บ้านฝางทุกวันนี้ เดิมเป็นดงไม้ ฝาง(ฝางเล็ก) ซึ่งชาวบ้าน เรียกว่า “ฝางไก่” มีลักษณะประเภทไม่ ประเภทครึ่งต้นครึ่งเถาว์ (ไม้ชนิดนี้จะอยูตามบริเวณรอบๆ หนองนำ้าที่มี ่ ผืนดินชุ่มชื้น อุดมสมบูรณ์ดี) ใกล้หนองนำ้าใหญ่ เป็นที่โนนลาดไปทาง ทิศตะวันออกของหนองนำ้า ซึ่งเหมาะที่จะใช้เป็น ภูมิสถานตั้งบ้านยิ่ง นัก สมัยตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประมาณ พ.ศ. ๒๓๗๙ เมื่อครั้ง เจ้าพระยา มหากษัตริยศึก (ทองด้วง) ต่อมาเป็นพระปฐมบรมกษัตริยต้น ์ ์ ราชวงศ์จักรี และเจ้าพระยาสุรสีห์ (บุญมา) ได้ยกกองทัพไปปราบ จลาจลที่เมืองเวียงจันทร์ ในครั้งนั้นหลวงแก้วบุญโฮม และเพียเมือง แพนสองพี่น้องซึ่งเป็นข้าราชกาลที่เมืองเวียงจันทร์ ได้พากันอพยพ ผู้คนจากฝั่งซ้ายแม่นำ้าโขงประมาณ ๕๐๐ คน เข้ามาพึ่งพระบรม โพธิสมภารในราชอาณาจักกรไทยสยาม โดยมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้าน ทุ่ม (อำาเภอเมืองขอนแก่น) ต่อมาบ้านทุ่มได้เกิดแห้งแล้งขาดแคลนนำ้า ชาวบ้านทุ่มจงได้อพยพจากบ้านทุ่ม ไปหาทำาเลที่เหมาะกว่าโดยแยก ย้ายกันไป คนละทิศละทางชนิดไปตายดาบหน้า
  • 8. ประวัต ิค วามเป็น มาของศาลตาปู่  เล่าจากปากต่อปาก ศาลนี้ตั้งอยู่ทนี่ประมาณ 100-200 กว่าปีแล้ว ปู่นี่ชื่อว่า ปู่นครินทร์ ปู่พา ี่ กันมาจาก เขมร คนขอม มาอยูที่นี่ 4-5 คน พากันมาตั้งบ้าน หาที่อยู่  ที่กน เพราะอยู่ที่นั่นมัน ่ ิ แล้งมาก ก็เลยพากันมา พากันพายถุงมา คนถือมีดก็ถือ คนถือขวานก็ถือ อาหารก็พากันมีแจ่ว มากินขณะเดินทาง เดินมาเรื่อยๆ เรื่อย ๆพอมาถึงบ้านทุ่ม ก็มาหยุดอยูที่นี่ เลยหาทีอยู่ทกิน ที่ ่ ่ ี่ บ้านทุ่มก็ไม่มี มันไม่สมบูรณ์ ก็เลยกลับมา เดินหน้าไป เรื่อย ๆ เลยมาถึงหนองแวง แล้วมาถึง หนองแสง          หนองแวงคือว่าต้นมะขามใหญ่ทอยู่ศาลานี้ อยู่หมู่12 ของบ้านฝางปัจจุบันนี้ตรงตรงต้นมะขาม ี่ นี้ เมือ200-300 ปี ก็พากันมาอยูที่นั่น แล้วก็เอาถุงไปห้อย อาศัยต้นมะขามต้นนั้น ตอนนั้นเป็น ่ ่ ดงช้างดงเสือหมด มีคนเฒ่าคนแก่เล่าให้ฟัง แล้วถ้าใครมาถามก็ให้บอกไปแบบนี้ เหมือนเดิม พอดีอยูนั่นก็เลยพากัน หาทีทำาอยู่ทำากิน มาก็มาถึงหนองแสง ก็เลยพากันสร้างบ้านแยกกันไป ่ ่ คนละทิศ ละทาง ก็มหนองหนึ่งเป็น ี หนองแสง มีฝายอิ่ด่อยเป็นห้วยนำ้า  อีกทางหนึ่งก็เป็นคูใหญ่ อีกทางหนึ่งก็เป็นท่ามาลัย แยก ออกไปทางละคน สองคน แล้วก็กลับมาหากัน อาหารการกินเยอะแยะมากมาย  งันเราก็ปัก หลักอยู่ทนี่แหละ  ปักหลักอยู่ทนี่ จากที่ ที่เคยเป็นป่าเป็นดงก็ตัดหญ้าตัดต้นไม้ออก เพื่อทำาที่อยู่ ี่ ี่ อาศัย ใครที่สร้างบ้านเสร็จสมบูรณ์แล้ว ก็ไปเรียกเอาครอบครัวมาอยูด้วยกัน  ตอนที่ไปรับ ่ ครอบครัว คนกลุ่มนี้ก็ได้นึกชื่อบ้านว่าจะตั้งว่าอะไร จึงได้เห็นต้นไม้ที่อยูโรงเรียนชุมชน ่ บ้านฝาง  ก็เลยพากันว่า เราตั้งชื่อบ้านว่าอะไร ทีนี่อุดมสมบูรณ์ดีเนอะ ตกลงกันว่าเอาชื่อ ่ ต้นไม้ต้นนี้ซะ ก็เลยเป็นบ้านฝางเท่าทุกวันนี้ พวกหนึ่งก็ไปอยู่หนองแวง ก็ยายจากหนองแวง ้ มาอยู่ด้วยกัน เมือก่อนบริเวณนี้มนเป็นสระนำ้า ก็เลยมาถมเป็นสถานที่ เป็นอำาเภอบ้านฝางทุก ่ ั วันนี้
  • 9. ประชากร และการ ประชากร ปกครอง เป็นธรรมดาของโลกว่า ทุกสิ่งอย่างเริ่มจากน้อยไปหา มาก ประชากรของชาวบ้านฝางในสมัยของท่าน หลวง ราชนรินทร์ ก็มีเพียง ๙-๑๐ หลังคาเรือน ต่อมาก็ขยาย ขึ้นเรื่อย ๆ เพราระเกิดกิตติศัพท์ของหมู่บ้าน ที่ตั้งใหม่นี้อุดมสมบูรณ์ดีด้วยนำ้าท่า ข้าวปลาอาหาร จึง มีคนพากันอพยพหนีความกันดาร แห้งแล้งจากที่ต่าง ๆ เข้ามาเสี่ยงดวง เพื่อผจญกับ ไข้ป่ามาลาเรีย และภัย จาก สัตว์ป่าที่ดุราย ภัยจากผีกองกอย สารพัดภัย เมื่อมี ้ หลายหลังคาเรือน ทางราชกาลก็ได้ตั้งหมู่บ้าน ให้มี ผู้ใหญ่บ้านปกครอง เป็นบ้านฝาง หมู่ที่๑๙ ตำาบลบ้าน ทุ่ม อำาเภอพระลับ จังหวัดขอนแก่น (คือหมู่๒ทุกวันนี้) โดยมีผู้ใหญ่บ้านปกครองกันมา ถึงทุกวันนี้
  • 10. การปกครอง a. พ่อเฒ่าจันทะรัง เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรกของบ้านฝาง หมู่ที่ ๑๙ b. ขุนศรีจวง ต้นตระกูลดาวแหม่ว หมู่ที่๑๙ ตำาบลบ้านทุ่ม c. เฒ่าเสมียนอ้ม ต้นตระกูลอุทธาโกสม หมู่ที่ ๑๙ ตำาบลบ้านทุ่ม d. พ่อปุ้ม โพนทองวิจิตร หมู่ที่๑๙ ตำาบลบ้านทุ่ม e. พ่อพันธ์ สุแดงน้อย หมู่ที่๑๙ ตำาบลบ้านทุ่ม f. พ่อคำาพา โชติทอง หมู่ที่๑๙ ตำาบลบ้านทุ่ม g. พ่อโสภา สมวงษา หมู่ที่๑๙ ตำาบลบ้านทุ่ม h. พ่อวันทอง ใหญ่ลา เปลี่ยนเป็นหมู่ที่๒ ตำาบลหนองบัว อำาเภอเมือง ขอนแก่น i. นายคำา พรมจักร หมู่ที่๒ ตำาบลหนองบัว อำาเภอเมืองขอนแก่น j. นายขาว หร่องบุตรศรี หมี่๒ ตำาบลหนองบัว อำาเภอเมืองขอนแก่น และเป็น กำานัลคนที่๓ ของตำาบลหนองบัว แล้วเปลี่ยนมาเป็นกำานัลคนที่๑ ของ ตำาบลบ้านฝาง อำาเภอบ้านฝาง k. นายธรรมรัตน์ สุวัฒศรีสกุล หมู่ที่๒ ตำาบลบ้านฝาง อำาเภอบ้านฝาง และ
  • 11. ที่ต ั้ง และอาณาเขต บ้านฝาง เมื่อประมาณ ๒๐๐ ปีเศษโน้น ตั้งอยูท่ามกลางดงไม้ฝาง ทึบ มี ่ ลำาห้วยธรรมชาติเล็ก ๆ แต่มีนำ้าใสเย็นตลอดปีขนาบอยู่ ๒ ข้าง ด้านทิศใต้ เป็นห้วยวังบง ส่วนด้านทิศเหนืออยูห้วยนำ้าจั้น ออกจากหนองใหญ่ที่ติดอยู่ ่ ติดบ้านทั้ง ๒ หนองดังกล่าวแล้วนั้น แต่จะไม่อยู่ใกล้แม่นำ้าภูเขาสูงแต่ ประการใด จึงไม่ต้องวิตกกังวนกับภัยนำ้าท่วมใหญ่ นำ้าท่วมฉับพลัน หรือว่า ภูเขาถล่มทับซึ่งก็นับว่าบรรพบุรุษของบ้านฝางท่านเป็นผู้มีความรอบครอบ มี วิสัยทัศน์ที่กว้างไกลแต่ก่อนโน้นเป็นถิ่นอันตรายจากสัตว์ดุร้าย แต่ปัจจุบัน นี้บ้านฝางตั้งอยูกลางทุ่งนาติดกับทางหลวงแผ่นดินสามที่ ่ ปัจจุบันนี้ บ้านฝางจึงมีอาณาเขตติดกับหมู่บ้านฝางต่างๆดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับบ้านโคกใหญ่ ตำาบลบ้านฝาง ทิศตะวันออก ติดต่อกับบ้านหนองกุง บ้านแดงน้อย ตำาบลบ้านทุ่ม อำาเภอ เมืองขอนแก่น และบ้านสระแก้ว ตำาบลบ้านฝาง ทิศใต้ ติดต่อกับบ้านหัวบึง บ้านโคกสี ตำาบลบ้านฝาง และบ้านหนองชาติ ตำาบลบ้านเหล่า ตำาบลบ้านฝาง ทิศตะวันตก ติดต่อกับบ้านหนองบัว และบ้านนาดอกไม้ ตำาบลหนองบัว
  • 12. สภาพสัง คม เศรษฐกิจ วัฒ นธรรม และค่า นิย ม ๑ ฝางยุคแรก คือนับตั้งแต่ยุคบุกเบิกจนมาถึงทางราชการ ได้ตั้งเป็น หมู่บ้าน คือหมู่ที่๑๙ ตำาบลบ้านทุ่ม ๒ ฝางยุคกลาง คือ นับตั้งแต่ พ.ศ ๒๔๔๙ ถึง พ.ศ ๒๔๗๕ คือยุคขนแห่ ขนทรายเข้าวัดและยุคชายฉกรรจ์หัดทหาร ทั้งยุคแรกและยุคกลาง ข้าพเจ้าจะขออนุญาตนำาพาท่านทัวร์ชมในขบวนเดียวกันเลย ทั้งนี้ก็เพราะสภาพสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและค่านิยม ในสองยุคจะ ไม่ค่อยแตกต่างกันเท่าใดนัก วิถีชีวิตของคนในสองยุคนี้ เป็นสังคมแบบปฐมภูมิ มีการเป็นอยู่แบบ เครือญาติ หรือมีวิถีชีวิตแบบสันโดษ เป็นวิถีชีวิตแบบเกษตรกรรม ช่อง ว่างระหว่างคนจนกับคนรวยไม่หางกันมากเหมือนทุกวันนี้ คนทุกคนใน ่ หมู่บ้านจะมีกี่สิบกีร้อยหลังคาเรือนก็ตาม จะมีความรู้จักมักคุ้นกันหมด ่ ไม่มีการแบ่งชนชั้นว่าคนจนคนรวย หรือเหล่านี้คือชนชั้นปกครอง พวก นั้นคือชนชั้นกรรมาชีพ ผู้ใช้แรงงาน อย่างนี้จะไม่มี ใครมีธุระภารกิจ อะไรที่หนักก็จะวานเพื่อนบ้านให้ช่วยทำาจนสำาเร็จเข้าทำานองว่า ถ้า เหลือกำาลังมาก ก็ออกปากชวนแขกช่วยแบกหาม การช่วยงานใดๆ ก็ตามของเพื่อนบ้าน จะไม่มีคำาว่าจ้างให้ทำา ไม่ว่าจะหนักหรือเบาก็จะ ช่วยกันทำาให้สำาเร็จ
  • 13. ฝางยุค พัฒ นา ในการพัฒนาหมู่บ้านของบ้านฝาง เพือให้อนุชนชาวบ้านาฝางได้มองเห็นปัญหา ่ อุปสรรค ในการพัฒนาชุมชนของบ้านเกิด ว่า มีกันอย่างไรบ้าง แล้วจะได้นำามาเป็นครู หรืออาจแก้ไขปรับปรุงตามยุคสมัย จึงจะขอแบ่งยุคพัฒนาเป็นหลายยุค คือ ยุคพัฒนาแบบขนแห่งขนทรายเข้าวัด พ.ศ. ๒๔๔๙ เมื่อได้รับพระบรมราชโองการ ทรงอนุญาตให้ก่อสร้างวิสุงคามสีมา เป็นที่ เรียบรอยแล้ว พอออกพรรษาพระอาจารย์เม้า และสมบัติเจ้าอาวาสวัดบูรพาในขณะนั้นจึง ได้ประชุมญาติโยมวางแผนงานทีจะดำาเนินการก่อสร้าง วิสุงคามสีมา พอถึงเดือนสิบสอง ่ เอาข้าวขึนเล้า (เก็บเกี่ยวข้าว) เสร็จเรียบร้อยแล้ว พ่อผู้ใหญ่บ้านก็ประกาศใช้ชาวบ้าน ้ ช่วยกันเอาครุ ตะกร้า ไปหาบอาหินเอาทรายมาเข้ากองไว้ในวัด เพื่อจะได้เริ่มก่อสร้าง อุโบสถต่อไป และในการก่อสร้างดังกล่าว จะไม่มการว่าจ้างช่างแต่ประการใด เพราะ ี หลวงพ่อผู้เป็นสมภารวัด(พระอาจารย์เม้า แสนสมบัติ) ท่านเป็นพระช่างก่อสร้างอยู่แล้ว งานการขนแห่ทรายเข้าวัด จึงเริมขึนตั้งแต่เดือนสิบสองของปีวอก ร.ศ.๑๒๕ เป็นต้นมา ่ ้ ใช้เวลาเกือบ๕ปีจนแล้วเสร็จ ทำาให้บ่าวสาวหลายคู่ได้ถือเอาโอกาสนี้ระหว่างที่ชวยกันขน ่ แห่ขนทรายเข้าวัดนี้ ได้สารภาพรักต่อกัน และได้แต่งงานสร้างฐานะกันไปหลายคู่เพราะ โอกาสทองแห่งความรักเช่นกับการขนแห่ขนทรายเข้าวัดครั้งนี้ หามิได้อีกแล้วก็นับว่า พระคุณท่าน พระอาจารย์เม้า แสนสมบัติ (ซึงต่อมาท่านได้อุปสมบทอีกครั้งเป็นพระนัก ่ ปฏิบัติ ได้มาก่อตั้งวัด ศรีประทุมวานรามทีป่าช้าบ้านฝาง พ.ศ. ๒๔๙๓) ทานได้กศลสอง ่ ุ โกฐาฎ คือโกฐาฎที่ ๑ ได้ก่อสร้างพระอุโบสถ โกฐาฎที่ ๒ ก็ได้ให้โอกาสให้แก่คู่หนุ่มสาว ช่วยกันสร้างครอบครัวหลายคน คุณแม่ของนักเขียนได้เล่าให้ฟังว่าปีตอนขนแห่ขน
  • 14. ยุค กุฎ ีไ ม้เ สา ๑๓๖ ต้น ยุคพัฒนา ยุคนี้สืบต่อการก่อสร้างโบสถ์เสร็จเรียบร้อยแล้ว ฉลองโบสถ์เสร็จแล้ว พระอาจารย์ซาเม้า แสนสมบัติ ก็ลาสิกขาบทสึกออกมา แล้วสมภารวัดรูปต่อมาก็คือ คูบาจารย์คูใบ ข้อตุ่ย หรือที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า “คูบาใบ” หรือที่พระเณรเรียกกันในวัดว่า “คูบาเฒ่า” ได้เป็นเจ้าอาวาสต่อ จึงได้ทำาการก่อสร้างกุฏิที่พัก ของภิกษุสามเณรขึ้นหลังหนึ่ง เป็นกุฏิไม้มุงสังกะสี ฟื้นฝากระดาน ขนาดต้นเสาไม้จำานวน ๑๓๙ ต้น หลังคามุขทรงไทย แฝด ๕ แฝด นับเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่และสวยงามที่สุดในระแวกนี้ สมัย พ.ศ. ๒๔๙๒ ผู้เขียนบรรพชาเป็นสามเณร ยังได้พักอาศัยอยู่ เฉพาะกุฏิหลัง นี้ บรรจุพระภิกษุสามเณรได้ ๑๖๓ รูป เป็นกุฏิชั้นเดี่ยวใต้ถุนสูง ที่ใต้กุฏินี้ยังเป็น ห้องเรียน ของนักเรียนชั้นประถมอีก และตอนที่ผู้เขียนเรียนอยูชั้นประถมปีที่ ๒ ได้ ่ อาศัยเรียนอยู่ที่ใต้กุฏิหลังดังกล่าวนี้ งานการก่อสร้างถาวร วัตถุที่ใหญ่ ๆอย่างนี้ นับเป็นประกาศนียบัตร ที่รับรอง หรือ แสดงถึงความสามารถในการปกครองผู้นำาทางวัดและผู้นำาทางหมู่บ้าน ว่ามีความ เด็ดเดี่ยว เข้มแข็งและแสดงถึงความสามัคคีกลมเกลียวของประชาชนในหมู่บ้านและ ความสามัคคีของพระภิกษุสามเณรภายในวัดอีกด้วยเพราะไม้ทุกตัวกระดานทุกแผ่น เสาทุกต้น จะสำาเร็จออกมาก็ดวยฝีมือและนำ้าพักนำ้าแรงของแต่ละคนทั้งนั้น ไม่ใช่ได้ ้ มาจากโรงเรียนเรื่อยแต่ประการใด ความมั่นคงทางด้านศาสนาในยุตนี้พูดออกได้
  • 15. บทที่3 วิธ ีด ำา เนิน การทำา โครงงาน 3.1 อุป กรณ์ ตารางการปฏิบ ัต ิง าน 1.กระดาษ 2.ปากกา รายการปฏิบ ัต ิง าน 3.กล้องถ่ายรูป 1. หาหัวข้อโครงงาน ระยะเวลาการ 4.ค่าใช้จ่าย 2. เริ่มหาข้อมูล ทำา งาน 5.นำ้ายาลบคำาผิด สอบถามข้อมูล 14 ธ.ค 53 3. 3.2 การดำา เนิน งาน ยบเรียงข้อมูล 20 ธ.ค 53 4. เรี 1.สอบถามข้อมูล 4 ม.ค 54 5. จัดทำาโครงงาน 2.เรียบเรียงข้อมูล นำาเสนอโครงงาน 31 ม.ค 54 6. 19 ก.พ 54 3.จัดทำาโครงงาน 4 ก.พ 54 4.นำาเสนอโครงงาน
  • 16. บทที่ 4 ผลการดำา เนิน งานจัด ทำา โครงงาน เมื่อพวกเราได้ลงมือทำาโครงงานเรื่องศาลตาปู่บ้านฝางขึ้นมาพวกเราก็ได้ ดำาเนินงานจัดทำาโครงงานเป็นไปตามจุดประสงค์ที่พวกเราได้กำาหนดไว้ คือ 1.เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาประวัติท้องถิ่นของตน 2.เพื่อสืบสาน และอนุรักษ์วัฒนธรรมที่มีอยู่ในท้องถิ่น 3.เพื่อรู้จักการทำางานร่วมกันและ เรียนรู้เป็นหมู่คณะ 4.เพื่อศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์นอกห้องเรียน 5.เพื่อ ให้คนรุ่นหลังได้นำาไปศึกษา หาความรู้จากรายงานที่ทำาและพวกเราก็ได้ รับประโยชน์จากการทำาโครงงานเรื่องนี้ขึ้นมามีดังนี้ 1.ได้ศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรมในท้องถิน ่ 2.ได้แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ประสบการณ์ต่างๆ 3.ได้ศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเป็นการเรียนรู้นอกห้องเรียน ส่วนปัญหาและอุปสรรค์ในการทำาโครงงานเรื่องนี้ขึ้นของพวกเราก็ไม่มี พวกเราทำาโครงงานเป็นไปด้วยความราบรื่นสะดวกต่อการเดินทางไปทำา โครงงานการที่พวกเราได้ทำาโครงงานนี้ทำาให้รู้ว่าการทำางานเป็นกลุ่มเป็น คณะนั้นทำาให้เรามีความสามัคคีกันมากขึนและทำาให้เราไม่แตกแยกกัน ้
  • 17. บทที่ 5 สรุป และอภิป รายผลการศึก ษา สรุปผลการศึกษา ประวัต ิค วามเป็น มา  เล่าจากปากต่อปาก ศาลนี้ตั้งอยู่ทนี่ประมาณ 100-200 กว่าปีแล้ว ปู่นี่ชื่อว่า ปู่ ี่ นครินทร์ ปู่พากันมาจาก เขมร คนขอม มาอยู่ทนี่ 4-5 คน พากันมาตั้งบ้าน หาที่อยู่  ี่ ทีกิน เพราะอยู่ทนั่นมันแล้งมาก ก็เลยพากันมา พากันพายถุงมา คนถือมีดก็ถือ คนถือ ่ ี่ ขวานก็ถือ อาหารก็พากันมีแจ่วมากินขณะเดินทาง เดินมาเรือยๆ เรื่อย ๆพอมาถึงบ้าน ่ ทุม ก็มาหยุดอยู่ทนี่ เลยหาที่อยูที่กิน ทีบ้านทุมก็ไม่มี มันไม่สมบูรณ์ ก็เลยกลับมา เดิน ่ ี่ ่ ่ ่ หน้าไป เรื่อย ๆ เลยมาถึงหนองแวง แล้วมาถึงหนองแสง          หนองแวงคือว่าต้นมะขามใหญ่ทอยู่ศาลานี้ อยู่หมู่12 ของบ้านฝางปัจจุบันนี้ตรงตรง ี่ ต้นมะขามนี้ เมื่อ200-300 ปี ก็พากันมาอยูทนั่น แล้วก็เอาถุงไปห้อย อาศัยต้นมะขาม ่ ี่ ต้นนั้น ตอนนั้นเป็นดงช้างดงเสือหมด มีคนเฒ่าคนแก่เล่าให้ฟัง แล้วถ้าใครมาถามก็ ให้บอกไปแบบนี้ เหมือนเดิมพอดีอยู่นั่นก็เลยพากัน หาทีทำาอยูทำากิน มาก็มาถึงหนอง ่ ่ แสง ก็เลยพากันสร้างบ้านแยกกันไปคนละทิศ ละทาง ก็มหนองหนึ่งเป็นี หนองแสง มีฝายอิ่ด่อยเป็นห้วยนำ้า  อีกทางหนึ่งก็เป็นคูใหญ่ อีกทางหนึ่งก็เป็นท่า มาลัย แยกออกไปทางละคน สองคน แล้วก็กลับมาหากัน อาหารการกินเยอะแยะ มากมาย  งันเราก็ปักหลักอยู่ทนี่แหละ  ปักหลักอยู่ทนี่ จากที่ ที่เคยเป็นป่าเป็นดงก็ตัด ี่ ี่ หญ้าตัดต้นไม้ออก เพื่อทำาทีอยู่อาศัย ใครทีสร้างบ้านเสร็จสมบูรณ์แล้ว ก็ไปเรียกเอา ่ ่ ครอบครัวมาอยู่ด้วยกัน  ตอนที่ไปรับครอบครัว คนกลุ่มนี้ก็ได้นึกชื่อบ้านว่าจะตั้งว่า อะไร จึงได้เห็นต้นไม้ที่อยูโรงเรียนชุมชนบ้านฝาง  ก็เลยพากันว่า เราตั้งชื่อบ้านว่า ่ อะไร ที่นี่อุดมสมบูรณ์ดีเนอะ ตกลงกันว่าเอาชื่อต้นไม้ต้นนี้ซะ ก็เลยเป็นบ้านฝางเท่า ทุกวันนี้ พวกหนึ่งก็ไปอยู่หนองแวง ก็ยายจากหนองแวงมาอยู่ด้วยกัน เมือก่อนบริเวณ ้ ่ นี้มนเป็นสระนำ้า ก็เลยมาถมเป็นสถานที่ เป็นอำาเภอบ้านฝางทุกวันนี้ ั
  • 18. พิธ ีก รรม วันเลี้ยงตาปู่ จะกำาหนดหลังจากหลังสงกรานต์ไปแล้ว เมือกำาหนดวันแล้ว ผู้ชายจะมา ่ ทำาความสะอาดบริเวณศาล เตรียมเครื่อง เซ่น ได้แก่ ไข่ต้ม เหล้า ขนมต้มแดง ขนม ต้มขาว เครื่องแต่งกายสำาหรับตาปู่ และโทน 3-5 ลูก ในวันประกอบพิธี ชาวบ้านชาย หญิง จะนั่งล้อมศาลตาปู่ บุคคลสำาคัญในพิธีไหว้ตาปู่ คือท้าวเธอ ได้แก่คนทรงกับ บริวาร ซึงอาจมีจำานวน 2-5 คน เมือเริ่มพิธีคนตีโทนจะตีโทนเสียงดังกระหึ่ม จนตาปู่ ่ ่ มาเข้าทรง บริวารซึงส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ทีได้รับการเคารพนับถือ ตาปู่ทเข้าทรง ่ ่ ี่ จะใช้เสื้อผ้าที่เตรียมไว้ และรับเครื่องเซ่น โดยใช้ตะเกียบคีบขึ้นมาดม จากนนั้นร่าย รำาตามเสียงและจังหวะโทน เมื่ออวยชัยให้พรแก่ลูกหลาน แต่ถ้าหากว่าชาวบ้านไป บนบาน ให้ตาปู่ช่วย เช่น ขอให้ได้ของทีหาย หรือขอให้ช่วยอะไร ถ้าได้แล้วอาจ ่ แก้บนด้วย เหล้าให ไก่ตัว ข้าวปากหม้อ ขนมหวาน เป็นต้น ความเชื่อ ตาปู่คือผีคุ้มครองหมู่บ้าน ส่านใหญ่รู้จกกันในนามปู่นครินทร์ ชาวบ้านเรียกว่าตาปู่ ั ตาปู่เจ้าบ้าน หรือชาวอีสานเรียกว่าตาปู่ ที่สิงสถิตของตาปู่คือศาล เรียกว่า ศาลตาปู่ มักตั้งอยู่ทดอน ทีเนินซึงเป็นทางเข้าหมูบ้าน ทีมีต้นไม้ใหญ่ ลักษณะของศาล เป็น ี่ ่ ่ ่ ่ ศาลสี่เสาร์ หลังคาจัว กว้างประมาณ 2 เมตร ยาวประมาณ3 เมตร พืนยกสูงประมาณ ่ ้ อกผู้ใหญ่ 1.50 เมตร ภายในศาลมีรูปปั้น ช้าง ม้า ตุ๊กตาคน ชายหญิง อาวุธทำาด้วย ไม้ เช่นมีด ดาบ หอก ปืน 2.ค่า ใช้จ ่า ยในการทำา โครงงาน ค่านำ้ามันรถ 50 บาท ค่าอินเตอร์เน็ต 30 บาท ค่าปริ้นงาน 80 บาท