SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 37
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เอกสารประกอบการอบรม
โปรแกรม Adobe Illustrator CS
โครงการอบรมคอมพิวเตอรหลักสูตร
“ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานออกแบบสิ่งพิมพและจัดทําเว็บเพจ”
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สารบัญ
1 Introduction......................................................................................................................................1
Illustrator คืออะไร แนะนําเครื่องมือ....................................................................................................1
2 Drawing Paths..................................................................................................................................5
การวาดรูปโดยใชรูปทรงสําเร็จ.............................................................................................................5
ความสําคัญของ Path.............................................................................................................................9
การวาดโดยใช Pen tool และ Selection Tools ตางๆ ..........................................................................10
3 Painting Objects.............................................................................................................................12
ระบบสีในโปรแกรม Illustrator..........................................................................................................12
การกําหนดคุณสมบัติของเสนดวย Stroke Palette..............................................................................15
Swatch Palette.....................................................................................................................................16
4 Painting Tools ................................................................................................................................16
การใสสีดวย Eyedropper....................................................................................................................16
การใสสีดวย Paint Bucket ..................................................................................................................17
วิธีการใช Brush...................................................................................................................................17
5 Type.................................................................................................................................................19
เครื่องมือที่ใชในการสรางขอความและทิศทางการเรียงตัวของตัวหนังสือ ........................................19
การจัดหนากระดาษและการกําหนด Paragraph..................................................................................20
การเลื่อนตําแหนงของขอความบนเสน Path.......................................................................................22
การพลิกตัวหนังสือบน Path ...............................................................................................................22
6 Text Effects.....................................................................................................................................23
การลิงค (Link) ขอความที่ลนกรอบไปยังกรอบใหม..........................................................................23
การแบงขอความเปนคอลัมนเพื่อจัดเลเอาต........................................................................................24
การทําขอความลอมรอบภาพ (Text Wrap).........................................................................................24
การทําใหตัวหนังสือกลายเปน Path (Create Outline).........................................................................25
7 Transformations............................................................................................................................25
Origin Point ........................................................................................................................................25
การปรับแตงวัตถุ (Transforming).......................................................................................................26
8 Mask and Compound Paths.........................................................................................................28
Place....................................................................................................................................................28
การทํา Clipping Mask.........................................................................................................................29
การใช Pathfinder................................................................................................................................29
การจัดเรียงวัตถุ (Align).......................................................................................................................31
การจัดลําดับการซอนทับวัตถุ (Arrange).............................................................................................32
1
1 Introduction
Illustrator คืออะไร และทําอะไรไดบาง
โปรแกรมพื้นฐานที่นักออกแบบทุกคนตองเรียนรูในการสรางงานกราฟกมี 2 ชนิด คือโปรแกรม
ประเภทวาดภาพ และโปรแกรมประเภทตกแตงภาพ
Illustrator คือ โปรแกรมที่ใชในการวาดภาพ โดยจะสรางภาพที่มีลักษณะเปนลายเสน หรือที่
เรียกวา Vector Graphic จัดเปนโปรแกรมระดับมืออาชีพที่ใชกันเปนมาตรฐานในการออกแบบระดับสากล
สามารถทํางานออกแบบตางๆ ไดหลากหลาย ไมวาจะเปนสิ่งพิมพ บรรจุภัณฑ เว็บ และภาพเคลื่อนไหว
ตลอดจนการสรางภาพเพื่อใชเปนภาพประกอบในการทํางานอื่นๆ เชน การตูน ภาพประกอบหนังสือ เปน
ตน
แนะนําเครื่องมือตางๆ ในโปรแกรม
เมื่อเราเขาสูโปรแกรมหรือเมื่อเราสรางไฟลใหมดวยการคลิกที่เมนู File>New จะปรากฏหนาตาของ
โปรแกรมเหมือนตัวอยางขางลางนี้
หนาตาโดยรวมของโปรแกรม Illustrator
1. แถบคําสั่ง (Menu Bar)
2. แถบเครื่องมือ (Tool Box)
3. พื้นที่ทํางาน (Art Board)
4. จานเครื่องมือตางๆ (Palette)
1
4
2
3
2
แถบคําสั่ง (Menu Bar)
เปนเมนูคําสั่งหลักโปรแกรม แบงออกเปนหมวดหมูตางๆ ดังนี้
File: เปนหมวดของคําสั่งที่จัดการเกี่ยวกับไฟลและโปรแกรมทั้งหมด ไมวาจะเปนการ เปด-ปดไฟล การ
บันทึกไฟล การนําภาพเขามาใช (Place) ตลอดจนการออกจากโปรแกรม (Exit)
Edit: เปนหมวดของคําสั่งที่จัดการแกไข เชน Undo Cut Copy Paste Select รวมทั้งการกําหนดคุณสมบัติ
ตางๆ ที่มีผลตอการปรับแตงภาพดวย เชนการสรางรูปแบบ (Define Pattern) การกําหนดคาสี (Color Setting)
เปนตน
Type: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชจัดการตัวหนังสือ เชน Fonts Paragraph เปนตน
Select: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชในการเลือกวัตถุ สามารถเลือกดวยคุณสมบัติได เชน เลือกวัตถุที่มี Fill และ
Stroke แบบเดียวกัน วัตถุที่อยูบน Layer เดียวกัน เปนตน
Filter: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชสรางเทคนิคพิเศษใหกับภาพ โดยจะมีผลตอรูปรางของ Path
Effect: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชสรางเทคนิคพิเศษใหกับภาพคลาย Filter แตจะไมมีผลกับรูปรางของ Path
View: เปนหมวดของคําสั่งเกี่ยวกับการมองทุกสิ่งในงาน เชน Zoom Show/Hide Ruler Bounding Box
Outline Mode/Preview Mode เปนตน
Window: เปนหมวดของคําสั่งเกี่ยวกับการเปด-ปดหนาตางเครื่องมือตางๆ เชน Palette Tool Box เปนตน
Help: เปนหมวดที่รวบรวมวิธีการใชงานและคําแนะนําเพื่อชวยเหลือผูใชโปรแกรม
กลองเครื่องมือ (Tool Box)
Tool Box เปนเครื่องมือพื้นฐานที่ใชในการทํางานเกี่ยวกับภาพทั้งหมด ซึ่งจะแบงออกเปนชวงๆ
ตามกลุมการใชงาน ดังนี้
1. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการเลือกวัตถุ
2. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการวาดและการสรางตัวหนังสือ
3. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการปรับแตงวัตถุ
4. กลุมเครื่องมือในการสราง Symbol และ Graph
5. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการกําหนดสี
6. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการตัดแบงวัตถุ
7. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับพื้นที่ทํางาน
8. กรอบที่ใชระบุสีใหวัตถุและสีของเสน
9. ปุมกําหนดรูปแบบของมุมมองในหนาจอโปแกรม
1
3
2
4
5
6
7
8 9
3
พื้นที่ทํางาน (Art board Area)
เปนขอบเขตของพื้นที่การทํางาน ซึ่งมีจุดที่ตองระวังคือ บริเวณที่อยูในเสนประเปนพื้นที่ที่จะถูก
พิมพออกมา และสวนของภาพที่อยูนอกเสนนี้จะถูกตัดขาดไปเวลาพิมพ
จานเครื่องมือตางๆ (Palette)
เปรียบเสมือนแผนหรือจานผสมสีของจิตรกร ที่เปนแหลงกําเนิดของเสนสายหรือสีสันของภาพ จาน
เครื่องมือตางๆ เหลานี้เปนหนาตางขนาดเล็กที่รวบรวมคําสั่งและคุณสมบัติของเครื่องมือตางๆ ไวเปน
หมวดหมูการเรียกใช Palette ใหคลิกที่เมนู Window จะเห็นรายชื่อ Palette ตางๆ ใหเลือกตามตองการ ซึ่ง
Palette ที่ใชบอยๆ มีดังนี้
1. Palette ที่เกี่ยวของกับการใชสีและเสน ไดแก
Color Palette: เหมือนจานสีที่ใชผสมสีไวใชเอง โดยระบุคาสีหรือสุม
เลือกที่แถบสีดานลางก็ได เพื่อใหไดสีใหมไมจํากัดอยูแตสีที่ผสมไวใหใน
Swatch
Swatch Palette: เหมือนกลองเก็บสีที่ผสมสําเร็จรูปไวใชไดทันที ทําใหไม
ตองผสมใหมทุกครั้งที่จะใสสี
Gradient Palette: ใชกําหนดคาการไลโทนสีใหวัตถุ ทั้งการกําหนด
รูปแบบการไลสีระหวางแบบเสนตรงหรือรัศมี และปรับแตงโทนโดยใช
แทบ Gradient Bar ดานลางทําใหรูปมีมิติและความลึกมากขึ้น
Stroke Palette: ใชกําหนดคุณสมบัติตาง ๆ เชนขนาดของเสน รูปแบบ
ของรอยตอหรือปลายเสน ฯลฯ
Brushes Palette: บรรจุชนิดของหัวพูกันสําเร็จรูปไวใหเลือกใช โดย
สามารถเลือกกําหนดคุณสมบัติของหัวพูกันไดดวย ทําใหเสนสายพลิ้ว
พราย มีลูกเลนไมธรรมดา
4
2. Palette ที่เกี่ยวของกับการปรับแตงและจัดการวัตถุ
Transform Palette: ใชกําหนดตําแหนง ขนาดและปรับแตงรูปรางของ
วัตถุ โดยการระบุคาเปนตัวเลข เพื่อใหไดระยะที่ถูกตองและแมนยํา
Align Palette: ใชควบคุมการจัดเรียงวัตถุ ไมวาจะเปนการจัดแนวของวัตถุ
ใหตรงกันในแนวตาง ๆ หรือการจัดระยะหางระหวางวัตถุ โดยคลิกเลือก
วัตถุกอน แลวเลือกวิธีการจัดเรียงที่ตองการ ชวยใหงานมีระเบียบเรียบรอย
สวยงาม
Pathfinder Palette: ใชสรางวัตถุใหม จากการรวมรูปรางของวัตถุเดิมเขา
ดวยกัน ชวยในการสรางวัตถุ โดยไมจําเปนตองเริ่มวาดเองใหมทั้งหมด
ใชรวมกันใหเกิดเปนรูปรางใหมไดสะดวกและรวดเร็ว
3. Palette ที่เกี่ยวของกับการใชงานตัวหนังสือ
Character Palette: ใชกําหนดรูปแบบตัวหนังสือ โดยกําหนดไดละเอียด
มาก ทั้งชนิด ขนาด ความสูง ความกวาง ตัวยก ตัวหอย ฯลฯ เพื่อทําให
ตัวอักษรดูหลากหลายและมีลูกเลนตาง ๆ
Paragraph Palette: ใชกําหนดรูปแบบการจัดเรียงขอความ โดยกําหนดได
ละเอียดมาก ทั้งการจัดชิดซาย ขวา กลาง ฯลฯ ตลอดจนระยะยอหนาตาง
ๆ ซึ่งสามารถระบุคาเปนตัวเลขได เพื่อทําใหขอความเปนระเบียบ
เรียบรอยสวยงาม
4. Palette ที่เกี่ยวของกับการควบคุมและการจัดการในหนากระดาษ
Layers Palette: ใชจัดการวัตถุที่บรรจุอยูในแตละเลเยอร ซึ่งทํางานเหมือน
เปนแผนใสที่ซอนกันเปนชั้น ๆ ใชควบคุมทั้งการมองเห็น การล็อควัตถุ
การจัดลําดับซอนทับกัน ฯลฯ
Links Palette: ใชควบคุมการเชื่อมตอขอมูลกับภาพตนฉบับที่นําเขามาใช
โดยสามารถเลือก ใหไฟลภาพที่นําเขามาลิงคอยูหรือฝงอยูในไฟลก็ได
สวนใหญมักจะเลือกลิงคภาพเพื่อไมใหไฟลงานมีขนาดใหญเกินไป
5
5. Palette ที่เกี่ยวของกับการใสลูกเลนหรือเอฟเฟกตใหวัตถุ
Transparency Palette: ใชกําหนดคาความโปรงแสงของวัตถุ โดยคลิก
เลือกรูปแบบของ Blending Mode ที่ตองการและกําหนดคาความทึบที่ชอง
Opacity เพื่อทําใหภาพมีลูกเลนแปลก ๆ โดยสัมพันธกับวัตถุอื่น ๆ ที่ซอน
กันอยูดานลาง
Styles Palette: ใชกําหนดสี เสน และเอฟเฟกตตาง ๆ แบบสําเร็จรูป โดย
คลิกเลือกวัตถุแลวคลิกเลือกไอคอนสไตลที่ตองการ ชวยใหทํางานไดเร็ว
ขึ้น เพราะเปนการเก็บคุณสมบัติไวใชกับวัตถุอื่น ๆ ไดโดยไมตองกําหนด
ใหมทีละอัน ๆ
Symbols Palette: บรรจุชนิดของวัตถุสําเร็จรูปใหใชซ้ํา โดยใชรวมกับ
เครื่องมือในกลุม Symbolism Tool เปนการเอาวัตถุเดียวมาใชซ้ําไปซ้ํามา
ในงาน จึงมีขอมูลเพียงอันเดียวของวัตถุสําเร็จรูปนั้น ชวยลดขนาดของ
ไฟลไดมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อนําไปใชในงานที่เกี่ยวกับเว็บ
นอกจากนี้ยังมี Palette อื่น ๆ อีกบางอันที่ไมไดกลาวถึงในตอนนี้ เพราะไมไดใชมากนัก จะนําไปไว
ในสวนเนื้อหาที่เกี่ยวของโดยตรงในภายหลัง
2 Drawing Paths
การวาดภาพโดยใชรูปทรงสําเร็จ
รูปเลขาคณิตและรูปรางที่ใชกันบอย ๆ ไดแก สี่เหลี่ยมจัตุรัส
สี่เหลี่ยมผืนผา สี่เหลี่ยมมุมมน สามเหลี่ยม วงกลม วงรี รูปหลายเหลี่ยม
รูปดาว ฯลฯ ซึ่งสามารถสรางไดงาย ๆ ดวยเครื่องมือในกลุม Shape Tool
ซึ่งมีทั้งหมด 6 ชนิดคือ
1. Rectangle Tool ใชสรางสี่เหลี่ยมทั้งจัตุรัสและผืนผา
2. Rounded Rectangle Tool ใชสรางสี่เหลี่ยมทั้งจัตุรัสและผืนผาที่มีมุมโคงมน
3. Ellipse Tool ใชสรางวงกลมและวงรี
1 2 3 4 5 6
6
4. Polygon Tool ใชสรางรูปหลายเหลี่ยม เชน สามเหลี่ยม หาเหลี่ยม หกเหลี่ยม ฯลฯ
5. Star Tool ใชสรางรูปดาว รูปหลายแฉก
6. Flare Tool ใชสรางรูปประกายรัศมี
เครื่องมือที่ชวยในการวาดรูปรางพื้นฐาน มีหลักการใชอยู 2 แบบ เชนเดียวกับ Line Tool คือ
1. วาดอิสระตามการแดรกเมาส (Freehand)
2. วาดโดยการระบุคาตาง ๆ ใหโปรแกรมคํานวณออกมาเปนภาพ (Properties Specification)
การอธิบายเครื่องมือจะอยูบนพื้นฐานการวาดทั้ง 2 แบบนี้ จะเลือกใชวิธีการใดก็ขึ้นกับความตองการ
และความถนัดของผูใช โดยมากการวาดแบบที่ 2 มักใชเมื่อตองการงานที่แมนยํา เชน งานอารตเวิรก เปนตน
การวาดสี่เหลี่ยม วงกลมและวงรี
เครื่องมือที่ใชในการวาดสี่เหลี่ยม วงกลม และวงรี มีหลักการใชงานคลายคลึงกันดังนี้
วิธีที่ 1 การวาดเสนแบบอิสระ (Freehand)
วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเครื่องมือ รูปสี่เหลี่ยม สี่เหลี่ยมมุมมน หรือวงรี ตามตองการ
2. ถายังไมไดเปดหนาตาง Stroke Palette และ Swatch Palette ใหเปด Palette ทั้งสองโดยไปที่
เมนู แลวเลือก Window > Stroke (หรือกด F10 ) และ Window > Swatches
3. เลือกขนาดของเสนที่ Stroke Palette ในชอง Weight
4. คลิกที่ Stroke Box คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับเสน
5. คลิกที่ Fill Box
6. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับวัตถุ
7. แดรกเมาสบน Art board จากมุมหนึ่งไปยังอีกมุมหนึ่ง
การวาดสามเหลี่ยมและรูปหลายเหลี่ยม
เครื่องมือที่ใชในการวาดรูปสามาเหลี่ยมและรูปหลายเหลี่ยมคือ เครื่องมือ Polygon Tool
วิธีที่ 1 การวาดเสนแบบอิสระ (Freehand)
แดรกเมาสตามทิศลูกศร
แดรกเมาสตามทิศลูกศร
7
วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเครื่องมือ Polygon Tool
2. เลือกขนาดของเสนที่ Stroke Palette ในชอง Weight
3. คลิกที่ Stroke Box
4. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับเสน
5. คลิกที่ Fill Box
6. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับวัตถุ
7. เลื่อนเคอรเซอรไปยังตําแหนงที่ตองการใหเปนศูนยกลางของรูปหลายเหลี่ยม แลวแดรก
เมาสจนไดรูปในขนาดที่ตองการ โดยขณะที่แดรกใหลองหมุนเคอรเซอรไปมา จะเปนการ
หมุนรูปหลายเหลี่ยม
8. กดคีย Shift คางขณะแดรกเมาสจะเปนการสรางรูปหลายเหลี่ยมที่ยืดออกในมุม 45องศา
เสมอไมวาจะแดรกไปในทิศทางไหนก็ตาม
9. กดปุมลูกศรขึ้น-ลงขณะแดรกเมาส จะเปนการเพิ่ม-ลดจํานวนดานของรูปหลายเหลี่ยม โดย
จํานวนดานที่นอยที่สุดคือ รูปสามเหลี่ยม และจํานวนดานที่มากที่สุดก็จะไดรูปใกลเคียง
วงกลม
วิธีการวาดโดยการระบุคาตาง ๆ (Properties Specification)
วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเลือกเครื่องมือ Polygon Tool
2. คลิกบน Art board หรือดับเบิลคลิกที่รูปเครื่องมือ จะปรากฏหนาตางขึ้นมาเพื่อกําหนดคา
ตาง ๆ
3. ระบุคาที่ตองการแลวกดปุม OK
Radius คือรัศมีจากจุดศูนยกลางไปยังจุดมุมของรูป ซึ่งเทากับความยาวของเสน
ในแตละดาน
Sides คือจํานวนดานของรูปหลายเหลี่ยม
3 cm
8
การวาดรูปหลายแฉก (Star)
วิธีการที่ 1 การวาดเสนแบบอิสระ (Freehand)
วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเครื่องมือ Star Tool
2. ถายังไมไดเปดหนาตาง Stroke Palette และ Swatch Paletteใหเปด Palette ทั้งสองโดยไปที่
เมนู แลวคลิก Window > Stroke (หรือกด F10) และ Window > Swatches
3. เลือกขนาดของเสนที่ Stroke Palette ในชอง Weight
4. คลิกที่ Stroke Box
5. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับเสน
6. คลิกที่ Fill Box
7. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับวัตถุ
8. เคลื่อนเคอรเซอรไปยังตําแหนงที่ตองการใหเปนศูนยกลางของรูปหลายแฉก แลวแดรก
เมาสจนไดรูปในขนาดที่ตองการ โดยขณะที่แดรกใหลองหมุนเคอรเซอรไปมาจะเปนการ
หมุนรูปหลายแฉก
9. กดคีย Shift ขางขณะแดรกเมาสจะเปนการสรางรูปหลายแฉกที่ยืดออกในมุม 45องศาเสมอ
ไมวาจะแดรกไปในทิศทางไหนก็ตาม
10. กดปุมลูกศรขึ้น-ลงขณะแดรกเมาส จะเปนการเพิ่ม-ลดจํานวนดานของรูปหลายแฉก โดย
จํานวนดานที่นอยที่สุดคือรูปสามเหลี่ยม
วิธีที่ 2 การวาดโดยการระบุคาตาง ๆ (Properties Specification)
วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเลือกเครื่องมือ Star Tool
2. คลิกบน Art board หรือดับเบิลคลิกที่รูปเครื่องมือ จะปรากฏหนาตางขึ้นมาใหกรอกขอมูล
3. ระบุคาที่ตองการ แลวกดปุม OK
แดรกเมาสตามทิศลูกศร
9
Radius 1 คือระยะจากจุดศูนยกลางไปยังจุดที่อยูนอกสุด
Radius 2 คือระยะจากจุดศูนยไปยังจุดที่อยูในสุด
Points คือจํานวนแฉกของรูปหลายเหลี่ยม
ความสําคัญของ Path
“หากไมมี Path ก็ไมมีภาพ” เปนคํากลาวที่ไมเกินจริงเลยสําหรับโปรแกรมนี้ เพราะ Path คือหัวใจ
ของโปรแกรมสรางภาพแบบเวกเตอรแทบทุกโปรแกรม ไมวาจะเปน Freehand Corel Draw แมกระทั่ง Flash
แตในขณะเดียวกัน เราอาจมีเสน Path โดยไมมีภาพได
ธรรมชาติของ Path
Path ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้
1. จุดปลายของ Path (End Point) หรือเรียกสั้น ๆ วา “จุดปลาย” เปนจุดที่อยูปลายสุดของPath ทั้ง
2 ดาน คือ ทั้งจุดเริ่มตนและจุดสุดทายของ Path
2. จุดยึด (Anchor Point) หรือเรียกกันวา ” จุด Anchor” (แอง-เคอร)เปนจุดที่อยูบนเสนระหวางจุด
ปลายทั้งสองดาน ใชเพื่อเปลี่ยนทิศทางของเสน นึกภาพงาย ๆ เหมือนกับการเดินสายไฟบนผนัง
ซึ่งตองใชหมุดยึดเมื่อตองการเปลี่ยนทิศทางของสายไฟ
3. เสน (Segment) ไมวาจะเปนเสนตรงหรือเสนโคง เกิดจากการเชื่อมตอกันของจุด 2 จุดไมวาจะ
เปนจุดปลายหรือจุด Anchor จํานวนของเสนมีผลตอความนุมนวลของ Path (ใชในการสราง
ภาพแบบระบุคา ซึ่งจะกลาวถึงภายหลัง)
4. แขนปรับทิศทาง (Direction Line) หรือเรียกสั้น ๆ วา “แขน” เปนตัวชี้บอกวาเสนจะโคงไปทาง
ไหนและมีความโคงมากนอยเทาไหร
5. จุดปลายของแขนปรับทิศทาง (Direction Point) หรือเรียกสั้น ๆ วา “จุดปรับ” เปนจุดที่อยูตรง
ปลายแขนปรับทิศทาง ใชเปนตัวบังคับให “แขน” ชี้ไปในทิศทางที่ตองการ
1
2
5
3 4
10
ซึ่งองคประกอบเหลานี้จะทําใหเกิด Path ที่มีรูปรางแตกตางกันไป รูปรางของ Path มี 2 ลักษณะ
ใหญ ๆ คือ
1. Path ที่เปนรูปเปด คือรูปรางที่มีจุดปลายของ Path เปนคนละจุดแยกจากกัน
2. Path ที่เปนรูปปด คือรูปรางที่มีจุดปลายของ Path มาบรรจบกันและเปนจุดเดียวกัน
Anchor และแขน (Direction Line) มีผลกับ Path อยางไร
จุด Anchor และแขนเปนตัวกําหนดรูปรางของ Path วา Path นั้นจะไปในทิศทางไหน เปนเสนตรง
หรือเสนโคง โคงมากหรือโคงนอย ในการวาด Path เราจะใสจุด Anchor ในตําแหนงที่ตองการเปลี่ยนทิศทาง
ของเสน หรือตองการดัดเสนใหโคง แลวลากแขนไปในทิศทางที่เราตองการใหโคงไปทางนั้น
จุด Anchor บน Path มี 2 ชนิดคือ จุด Anchor ที่เปนมุม (Comer Point) และจุด Anchor ที่เปนรอยตอ
ของเสนโคง (Smooth Point) ในการวาด Path ตองเลือกใช Anchor ใหถูกชนิดมาผสมกัน จึงจะไดเสนที่
ตองการ ดังตัวอยาง
รูปที่ 1 คือจุด Anchor ที่ไมมีแขน ทําใหเกิดเสนตรงหักมุมตอกัน
รูปที่ 2 คือจุด Anchor ที่มีแขน 1 ขาง ทําใหเกิดเสนโคงและเสนตรงตอกัน
รูปที่ 3 คือจุด Anchor ที่มีแขน 2 ขาง ทําใหเกิดเสนโคง 2 เสนตอกัน
การวาดโดยใช Pen tool
• Pen เปนเครื่องมือที่ใชในการวาดเสนและรูป สามารถวาดไดทั้งเสนตรงเสนโคง
1
2
1
2
3
11
วิธีการใชงาน
1. เสนเฉียง ใชเครื่องมือ Pen Click บนกระดาษตามแนวที่ตองการไดเลย
2. เสนตรง ใหกดปุม Shift คางไว แลวใชเครื่องมือ Pen Click บนกระดาษ เสนที่ไดจะเปนเสนตรง
แนวตั้ง แนวนอน และเฉียง 45 องศา
3. เสนโคง ใชเครื่องมือ Pen Drag บนกระดาษจะมีแขนเกิดขึ้นตรงจุดที่ Drag จากนั้นให Drag จุด
ตอไปนี้จะมีเสนโคงเกิดขึ้นระหวางจุดแรกกับจุดที่สอง เมื่อ Drag จุดตอไปจะมีเสนโคงเกิดขึ้น
ระหวางจุดที่ Drag จะเปนอยางนี้เรื่อยไป
การเลือกวัตถุโดยใช Selection Tools
• Direct Selection เปนเครื่องมือที่ใชในการเลือกวัตถุที่จะทํางานดวย โดยวัตถุนั้นจะมีสถานะเปน
Ungroup ชั่วคราว การใชเครื่องมือชนิดนี้เพื่อแกไขรูปทรงของรูป
วิธีการใชงาน
1. เปนการเลือกแกไขจากจุด Anchor โดยตรงเมื่อแดรกเมาสไปที่จุดแลวเลื่อนจะเห็นวาจุดจะถูกยาย
ตําแหนงไปตามเมาสและเสนที่เชื่อมกับจุดนั้นก็เลื่อนตามไปดวย
2. เปนการเลือกแกไขจากจุด Direction Point นั้นจะสังเกตไดวาจุด Anchor ไมไดเลื่อนไปไหน จะ
เลื่อนไปก็เฉพาะแขนทั้งสองดานเทานั้น
3. เราสามารถแกไขโดยตรงจากเสน Segment ไดดวยจากรูปจะเห็นวามีการยืดออกของเสน Segment
และ แขน Direction Point แตจุด Anchor ที่ยึดอยูทั้งสองขางไมมีการเปลี่ยนแปลง
• Group Selection เปนเครื่องมือที่ใชในการเคลื่อนยาย Object ออกจากกลุมงานที่ใชคําสั่ง Group โดย
ชั่วคราว ( ขณะที่อยูใน View ที่เปน Art work)
วิธีการใชงาน
ขณะที่เปน View-Art work ใชเครื่องมือนี้ Drag Object ที่ตองการแยกออกจากกลุมชั่วคราวจะเห็นไดวา
รูปที่ Drag เทานั้นที่ Active สวนรูปอื่น ๆ จะไม Active
12
• Add Anchor Point เปนเครื่องมือที่ถูกใชในการเพิ่มจุดบนเสน เพื่อใชงานกับจุดนั้น
วิธีการใชงาน
นําเครื่องมือ Add Anchor Point มา Click บนเสนก็จะเกิดจุดขึ้นตามที่ตองการ
• Delete Anchor Point เปนเครื่องมือที่ใชในการลบจุดที่ไมตองการออก
วิธีการใชงาน
นําเครื่องมือ Delete Anchor Point มา Click ที่จุดที่ตองการลบ จุดก็จะหายไป
• Convert Direction Point เปนเครื่องมือในการเพิ่มแขน หรือหักแขนของจุด
วิธีการใชงาน
1. เพิ่มแขนใช Selection Tool Click รูปที่ตองการจะเพิ่มแขน หลังจากนั้นใชเครื่องมือConvert Direction
Point Drag ที่จุด Anchor เพื่อเพิ่มแขนใหกับจุดนั้น
2. หักแขนใช Selection Tool Click รูปที่ตองการจะหักแขน หลังจากนั้นใชเครื่องมือ Convert Direction
Point Drag ที่จุดปลายแขนเพื่อหักแขนใหกับจุดนั้น
3 Painting Objects
ระบบสีในโปรแกรม Illustrator (Color Mode)
หลายๆคนคงจะสงสัยวาจะทํางานที่ทําอยูในระบบสีอะไรดี ทําไมตองเลือกตั้งแตแรกเวลาสั่ง New
File ดวย นั่นเพราะการกําหนดสีใหกับไฟลมีผลตอสีของภาพที่ปรากฏเมื่อเรานําไฟลไปใช โหมดสีใน
Illustrator มี 5 โหมดสีคือ Grayscale RGB HSB CMYK และ Web Safe RGB
Grayscale Mode
เปนโหมดสีของภาพขาวดํา คือมีแตสีดําโทนตางๆ ไลตั้งแตไมมีสี (คือสีขาว) สี
เทาไปจนถึงดํา
13
RGB Mode
ระบบสี RGB เปนระบบสีของแสง (Red Green Blue) ไดแก สีบนหนาจอ
คอมพิวเตอรและสีในโทรทัศน
HSB Mode
คือหลักการมองเห็นสีตามสายตามนุษย ประกอบดวย Hue Saturation
Brightness
CMYK Mode
เปนระบบสีทางการพิมพระบบออฟเซต ที่ใชหลักการผสมสี 4 ชนิดคือ Cyan สี
ฟา Magenta สีมวงแดง Yellow สีเหลือง และ Black สีดํา
Web Safe RGB
เปนภาพโหมด RGB ที่ลดทอนจํานวนสีลง และระบุเปน Code ของคาสีเพื่อใช
บนเว็บ
องคประกอบพื้นฐานที่ใชในการระบุสีและเลือกสี
เมื่อเราเลือกโหมดสีใหกับไฟลแลว ก็มารูจักวิธีการใสสีกัน การระบุสีใหกับวัตถุสิ่งที่ตองรูเปนพื้นฐานก็คือ
1. หนาตาง Fill Box และ Stroke Box ใน Tool Box
2. Color Palette
3. Stroke Palette
หนาตาง Fill Box และ Stroke Box ใน Tool Box
1. Fill Box เปนกรอบที่บอกสีของวัตถุ
2. Stroke Box เปนกรอบที่บอกสีของเสน
3. Swap Fill and Stroke
4. Default Fill and Stroke
5. Color คลิกเพื่อเลือกใชสีธรรมดา (Solid Color)
6. Gradient คลิกเพื่อเลือกใชสีไลโทน (Gradient Color)
7. None คลิกเพื่อไมใชสีใดๆ (โปรงใส)
1
4
5
3
2
7
6
14
วิธีการใสสีใหกับวัตถุ
1. คลิกเลือกวัตถุที่จะใสสี
2. ดับเบิลคลิกที่ชอง Fill Box เพื่อเลือกสีใหวัตถุ จะปรากฏหนาตาง Color Picker ขึ้นมา เลือกสีที่
ตองการแลวคลิกปุม OK
3. ดับเบิลคลิกที่ชอง Stroke Box เพื่อเลือกสีใหเสน จะปรากฏหนาตาง Color Picker ขึ้นมา เลือกสีที่
ตองการแลวคลิกปุม OK
4. คลิกที่ปุม Swap Fill and Stroke เพื่อสลับสีระหวางสี Fill และ Stroke จะเห็นสีของวัตถุและเสน
สลับกัน
5. คลิกที่ปุม None จะเปนการยกเลิกสีใชไดทั้ง Fill Box และ Stroke Box
15
6. คลิกที่ปุม Gradient จะเปนการใสสีแบบไลโทนใหแกวัตถุที่ถูกเลือก (ใชไดเฉพาะกับสีพื้น ไม
สามารถใชกับสีของเสนได)
7. คลิกที่ปุม Default Fill and Stroke เปนการทําใหสีกลับไปเหมือนคาเริ่มตนคือขาวดํา
การกําหนดคุณสมบัติของเสนดวย Stroke Palette
เมื่อวาดเสนเสร็จแลว ถาอยากไดเสนชนิดอื่น เชน เสนประ เสนปลายมน ฯลฯ ทําโดยกําหนดขนาด
และรูปแบบของเสนไดใน Stroke Palette โดยวิธีการทํามีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเลือกเครื่องมือลูกศรสีดํา เพื่อใชเลือกวัตถุ
2. คลิกที่เสนบนArt broad เปนการเลือกเสน
Weight: ใสตัวเลขหรือคลิกที่สามเหลี่ยมเพื่อกําหนดความหนาของเสน
Miter Limit: ใสตัวเลขเพื่อปรับความแหลมของมุมรอยตอของเสน โดยการกําหนดใหเปนตัวคูณ
ของความหนาของเสน (Weight) คาปกติจะอยูที่ 4 ถาเสนหนาขึ้นตองกําหนดคา Miter ใหมากขึ้น
มุมจึงจะแหลม
Cap: คลิกเลือกรูปแบบของปลายเสน ใหเปนปลายตัดตรงพอดีกับจุดปลาย ปลายมนหรือปลายตัดที่
ยื่นเกินจุดปลาย ตามลําดับ
Join: คลิกเลือกรูปแบบของรอยตอของเสนใหเปนมุมแหลม มุมมน หรือมุมตัด ตามลําดับ
เปรียบเทียบเสนที่ใช Join ชนิดตางๆ
16
Dashed Line: คือ เสนประใหคลิกที่ชองสี่เหลี่ยมหนาคําวา Dashed Line เพื่อเลือก
a. Dash ความยาวของเสนประ
b. Gap ระยะหางระหวางเสนประ
เปรียบเทียบการกําหนด Cap ชนิดตางๆ
Swatch Palette
เปรียบเหมือนสีที่ผสมสําเร็จเก็บเปนชุดๆ ไวใชซ้ํา ทําใหไมตองระบุคาสีใน Color Palette ทุกครั้ง
4 Painting Tools
การใสสีโดยใชเครื่องมือชวย
การใสสีดวย Eyedropper
มีหลักการใชคลายกับ Paint Bucket แตเปนการดูดคาทั้งหมดจากวัตถุอื่นมาใชกับวัตถุที่ถูกเลือกไม
วาจะเปนคาสีของ Fill และ Stroke ขนาดของเสน ชนิดของ Brush รวมทั้ง Style ดวย
1
2
3
17
การใสสีดวย Paint Bucket
เปนการใสสีของทั้งคาสีของ Fill และ Stroke ขนาดของเสน ชนิดของ Brush รวมทั้ง Style ดวยแต
ไมดูดคาจากวัตถุอื่นไดเหมือน Eyedropper ตองคาสีเอาเอง
วิธีการใช Brush
การใช Brush ทําได 2 วิธีคือ
วิธีที่ 1 วาดใหมดวยเครื่องมือ Paintbrush Tool
วิธีที่ 2 กําหนดชนิดของ Brush ใหกับเสน Path ที่วาดไวแลว
วิธีที่ 1 วาดเสนพูกันดวย Paintbrush Tool
มีขั้นตอนการทําดังนี้
1. เลือกเครื่องมือ Paintbrush Tool
2. หากยังไมไดเปด Brush Paletteใหเปดโดยไปที่เมนู Window > Brushes หรือกด F5 แลวเลือก
ชนิดของหัวพูกันที่ตองการ
3. แดรกบน Art board จากตําแหนงที่จะใหเปนจุดเริ่มตน ไปยังตําแหนงที่จะใหเปนปลายของเสน
วิธีที่ 2 การกําหนด Brush ใหกับเสน Path ที่วาดไวแลว
วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี้
1
2
3
1
3
2
1
2
3
18
1. คลิกเลือกลูกศรสีดํา เพื่อใชเลือกวัตถุ
2. คลิกเลือกเสน Path บน Art board
3. หากยังไมไดเปด Brush Palette ใหเปดโดยไปที่เมนู Window > Brushes หรือกด F5 แลวเลือก
ชนิดของหัวพูกันที่ตองการใน Brush Palette
การสราง Brush ใหมไวใชเอง
หากดูใน Libraries แลวยังไมถูกใจ เราสามารถที่จะสรางหัวพูกันไวใชเอง โดยการสรางชนิดของ
Brush ใหมเพื่อเก็บไวใชได โดยทําดังนี้
1. วาดรูปบน Art board จะเปนเสนหรือรูปปดก็ได
2. ที่ Brush Palette ใหกดปุม New เพื่อกําหนดใหรูปที่สรางเปน Brush ชนิดหนึ่งจะปรากฏ
หนาตางใหเลือกประเภทของ Brush เปน New Art Brushใหเลือกแลวคลิก OK
1
2
3
ได Brush ใหม
ขึ้นมาแลว
19
3. จะปรากฏหนาตางคุณสมบัติของ Brush ใหระบุคาตาง ๆ ซึ่งจะเปนหนาตางตามประเภทของ
Brush ที่เลือกไว ใหกําหนดคุณสมบัติและตั้งชื่อ แลวคลิก OK จะเห็นไอคอนใหมใน Brush
Palette เปนรูปที่สราง
5 Types
เครื่องมือที่ใชในการสรางขอความและทิศทางการเรียงตัวของตัวหนังสือ
ในโปรแกรม Illustrator มีเครื่องมือที่ใชในการสรางขอความอยูหลายตัว รองรับการทํางานทั้งแบบ
ขอความปกติ การสรางลูกเลนตาง ๆ และการใชงานขอความยาว ๆ ซึ่งมีทั้งหมด 6 ชนิดดวยกันคือ
1. Type Tool ใชสรางขอความปกติ
2. Area Type Tool ใชสรางจอความภายในขอบเขตที่กําหนด
3. Path Type Tool ใชทําขอความที่โคงไปตามรูปรางของ Path
4. Vertical Type Toolใชสรางขอความตามแนวตั้ง รองรับการใชภาษาจีนหรือ
ญี่ปุนไดดี
นํา Brush ใหมมา
ใชในงานไดเลย
20
5. Vertical Area Type Toolใชสรางขอความตามแนวตั้งภายในขอบเขต
ที่กําหนด
6. Vertical Path Type Tool ใชสรางขอความตามแนวตั้งที่โคงไปตาม
รูปรางของ Path
การจัดหนากระดาษและการกําหนด Paragraph
1. Align Left คลิกเพื่อจัดหนากระดาษชิดซาย
2. Alight Center คลิกเพื่อจัดหนาแบบยึดแกนกลางเปนหลัก
3. Alight Right คลิกเพื่อจัดหนากระดาษชิดขวา
4. Justify Full Lines คลิกเพื่อจัดหนาแบบตรงแนวดานขวาใหเทากัน ทําใหเปนระเบียบดวยการยึด
ระยะหางของคํา (ชองวางที่กด spacebar)
5. Justify All Lines คลาย ๆ กับ Justify Full Lines แตจะยึดระยะทุกบรรทัดรวมทั้งบรรทัดสุดทาย
ดวย ซึ่งอาจทําใหระยะตัวอักษรเพียนเกินไปได
6. Left Indent คือการกําหนดระยะที่ยนเขามาทางดานซาย
7. First Line Left Indent คือการกําหนดระยะยอหนาในบรรทัดแรก
8. Right Indentคือการกําหนดระยะที่ยนเขามาทางดานขวา
9. Space Before Paragraph คือการกําหนดระยะหางระหวาง Paragraph จะชวยใหแบงขอความแต
ละชวงออกจากกันชัดเจนและอานงายขึ้น ระยะที่นิยมกําหนด ไดแก 6 pt. 12 pt. เปนตน
1 2 3 4 5
6
7
8
9
21
การเปลี่ยนรายละเอียดของตัวอักษร
การเปลี่ยนรายละเอียดของตัวอักษรตาง ๆ ของตัวอักษร ทําไดโดยใช Character Palette ซึ่งสามารถ
เรียกใชไดโดยไปที่เมนู Window > Type > Character จะปรากฏหนาตาง Character Palette ซึ่งสามารถเรียกดู
Option เพิ่มไดโดยคลิกที่ แลว Show Option
วิธีการแกไขนั้นเราตองทําการเลือกขอความที่ตองการกอน จะใชลูกศรสีดําคลิกเลือกวัตถุที่เปน
ขอความทั้งชิ้น หรือใช Type Tool แดรกใหเปนแถบดําเฉพาะขอความที่ตองการแกไขก็ได เมื่อเราเลือก
ขอความเสร็จแลว ก็ระบุรายละเอียดใหมตามตองการ โดยแตละรายการใน character Palette ใชเปลี่ยน
รายละเอียดดังตอไปนี้
1. Font Family คลิกเลือกชนิดของตัวอักษร
2. Font Style คลิกเลือกลักษณะของตัวอักษร ไดแก ตัวปกติ ตัวเอียง ตัวหนา ตัวหนาและเอียง
3. Font Size ใชเปลี่ยนขนาดของตัวอักษร
4. Leading ใชปรับระยะหางระหวางบรรทัด
5. Kerning ใชปรับระยะหางระหวางตัวอักษร 2 ตัวที่อยูขางกัน
6. Tracking ใชปรับระยะหางของตัวอักษรทั้งชุด
7. Vertical Scale ใชปรับความสูงของตัวอักษร
8. Horizontal ใชปรับความกวางของตัวอักษร
9. Baseline Shift ใชทําตัวยกหรือตัวหอยเชน 1010
H2O เปนตน
การเลื่อนตําแหนงของขอความบนเสน Path
1. ใชลูกศรสีดําคลิกที่ขอความหนึ่งครั้ง จะเห็น I-beam ปรากฏขึ้นมา
2. แดรกตรง I-beam เลื่อนไปมา จะเปนการเปลี่ยนตําแหนงของขอความบน Path
1
2
3
4
5 6
7
8
9
22
การพลิกตัวหนังสือบน Path
1. ใชลูกศรสีดําคลิกที่ขอความหนึ่งครั้ง จะเห็น I-beam ปรากฏขึ้นมา
2. แดรกตรง I-beam เลื่อนกลับลงมาอีกดานหนึ่ง จะเปนการําลิกกลับดานของขอความPath
การสรางขอความในกรอบสี่เหลี่ยม
1. คลิกเลือกเครื่องมือ Type Tool
2. แดรกบน Art board จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง จะเห็นกรอบ
สี่เหลี่ยมดังรูป
3. พิมพขอความตามตองการ โดยตัวหนังสือจะตัดขึ้น
บรรทัดใหมอัตโนมัติเมื่อสุดขอบของสี่เหลี่ยมแตหาก
ขอความยาวเกินกรอบที่วาดไว จะเห็นเปนจุดสี่เหลี่ยมที่
มุมขวาลาง แสดงวายังมีขอความตอแตไมปรากฏใหเห็น
6 Text Effects
การลิงค (Link) ขอความที่ลนกรอบไปยังกรอบใหม
1. สรางรูปสี่เหลี่ยมเพื่อเปนกรอบขอความใหม
2. คลิกเลือกกรอบขอความและสี่เหลี่ยมที่จะใหเปนกรอบใหม
23
3. ไปที่เมนูแลวคลิกเลือก Type > Block > Link
4. ขอความสวนที่ซอนอยูในกรอบแรกจะปรากฏในกรอบใหมและตอเนื่องกัน เชน หากลบ
ขอความในกรอบแรก ขอความในกรอบหลังก็จะเลื่อนขึ้นไปแทนที่ เปนตน
การแบงขอความเปนคอลัมนเพื่อจัดเลเอาต
ในการทํางานที่มีขอความยาว ๆ นั้น การแบงเนื้อหาออกเปนคอลัมนจะทําใหจัดหนากระดาษไดเปน
ระเบียบ สวยงาม และอานงายขึ้น การแบงคอลัมนทําไดดังนี้
1. คลิกเลือกขอความที่ตองการแบงเลเอาต
2. ไปที่เมนู Type > Row & Column จะปรากฏหนาตางขึ้นมาใหระบุ
3. ระบุรายละเอียดตามตองการ แลวกด OK
Rows เปนการกําหนดคาตางๆ ของแถว
Number คือจํานวนแถว
24
Height คือความสูงของกรอบขอความ
Gutter คือชองวางระหวางแถว จะแปรตามความสูงที่กําหนดใหมโดยอัตโนมัติ
Total คือความสูงของแถวทั้งหมดรวมกัน
Columns เปนการกําหนดคาตางๆ ของหลัก
Number คือจํานวนหลัก
Width คือความกวางของกรอบขอความ
Gutter คือชองวางระหวางหลัก จะแปรตามความกวางที่กําหนดใหมโดยอัตโนมัติ
Total คือความกวางของหลักทั้งหมดรวมกัน
Options
Text Flow คือการกําหนดทิศทางการเรียงลําดับเนื้อหาในแตละกรอบขอความ
Add Guides คือการสั่งใหเสนไกดของแถวและหลักดวย โดยจะเปนชุดไกดแยกตางหาก
การทําขอความลอมรอบภาพ (Text Wrap)
มีประโยชนในการจัดขอความไมใหซอนทับภาพ หรือใชสรางลูกเลนในการจัดหนากระดาษ ซึ่งไม
จําเปนตองจัดแบบคอลัมนสี่เหลี่ยมเสมอไป วิธีการทํามีขั้นตอนตัวนี้
1. วาด Path ลอมรอบวัตถุที่ตองการทํา Text Wrap
2. คลิกที่ Stroke Box ใหทํางาน
3. คลิกปุม None เพื่อไมใสสีใหเสน
4. คลิกเลือก Path และกรอบขอความ
5. ไปที่เมนู Type > Wrap >Make
25
การทําใหตัวหนังสือกลายเปน Path (Create Outline)
วิธีการทําคือ
1. เลือกวัตถุที่เปนตัวหนังสือ
2. เลือกเมนู Type > Create Outlines
7 Transformations
Origin Point
กอนที่เราจะใช Transformation Tool นั้นเราควรที่จะรูจักจุด Origin กันกอนจุด Origin เปนจุดที่ใช
เปนหลักยึดวัตถุในการเปลี่ยนแปลงแตละครั้งโดยเราสามารถยายจุด Origin ไปยังตําแหนงใดก็ได
ตัวอยาง
การปรับแตงวัตถุ (Transforming)
การยอขยายอิสระตามการแดรกเมาส
Origin Point อยูตรงกลาง Origin Point อยูซายมือ
26
ทําไดโดยใชเครื่องมือ Scale Tool หรือใชลูกศรสีดําแดรกที่ Bounding Box
1. การยอขยายวัตถุทั้งชิ้น แบงเปน
1.1. การยอขยายตามสัดสวนเดิม ใหกดคีย Shift คางขณะแดรก
Note กดคีย Alt คางขณะแดรกจะเปนการยอขยายโดยยึดจุดศูนยกลางเปนหลัก
1.2. การยอขยายเพียงดานใดดานหนึ่งคือ แนวนอน (Horizontal) หรือแนวตั้ง (Vertical)
2. การยอขยายเพียงบางสวนของวัตถุ มีขั้นตอนการทําดังนี้
2.1 ใชลูกศรสีขาวเลือกเฉพาะจุดหรือเสนที่ตองการยอขยาย
2.2 คลิกเลือกเครื่องมือ Scale Tool แลวเลื่อนเคอเซอรไปยังตําแหนงที่ตองการใชเปนจุดอางอิง
แลวคลิก
2.3 แดรกจุดที่เลือกไวแลวใหไดขนาดที่ตองการ แลวปลอยปุมเมาส
การหมุนวัตถุ (Rotate)
การหมุนวัตถุมี 2 วิธีคือ
1. หมุนอิสระตามการแดรกเมาส
2. หมุนแบบระบุคา
วิธีที่ 1 หมุนอิสระตามการแดรกเมาส
หลักการหมุนมี 3 รูปแบบ
1. หมุนรอบจุดศูนยกลาง สามารถใชเครื่องมือลูกศรสีดําคลิกเลือกใหเห็น Bounding Box ได
เลย โดยเลื่อนเคอเซอรไปอยูตรงมุมของวัตถุจะเห็นเคอเซอรเปนรูป แลวจึงแดรกเมาส
เพื่อหมุน
2. หมุนโดยกําหนดจุดอางอิงใหม จะกําหนดไวนอกวัตถุก็ได ทําไดโดย
2.1. ใชลูกศรสีดําเลือกวัตถุที่จุดหมุน
2.2. ใชเครื่องมือ Rotate Tool คลิกครั้งแรกเพื่อกําหนดจุดอางอิง
2.3. แดรกเมาสเพื่อหมุนวัตถุ
27
3. หมุนเพียงบางสวนของวัตถุ ทําไดโดย
3.1. ใชลูกศรสีขาวเลือกบางสวนของวัตถุที่ตองการหมุน
3.2. ใชเครื่องมือ Rotate Tool คลิกครั้งแรกเพื่อกําหนดจุดอางอิง
3.3. แดรกเมาสเพื่อหมุนวัตถุ
การพลิกวัตถุ (Reflect)
วิธีที่ 1 พลิกอิสระตามการแดรกเมาส
เมื่อใชลูกศรสีดําคลิกเลือกวัตถุที่ตองการแลว ใหคลิกเลือกเครื่องมือ Reflect Tool แลวทําขอใดขอ
หนึ่งดังตอไปนี้
1. คลิกครั้งแรกเพื่อกําหนดจุดอางอิง (Origin Point) คลิกอีกทีแลวปลอยเมาส วัตถุจะพลิกไปอยู
ตรงขามแนวแกนที่เกิดจากการคลิกสองครั้ง
2. แดรกวัตถุแทนการคลิก จนไดตําแหนงที่ตองการแลวปลอยเมาส จะเปนการพลิกวัตถุไปพรอม
ๆ กับหมุนวัตถุพรอมจุดที่เริ่มแดรก
การบิดวัตถุแบบเฉือน (Shear)
การบิดวัตถุแบบเฉือนทําไดโดยการใชเครื่องมือ Shear Tool
วิธีที่ 1 บิดแบบเฉือนอิสระตามการแดรกเมาส
ใชลูกศรสีดําคลิกเลือกวัตถุที่ตองการ แลวคลิกเลือกเครื่องมือ Shear Tool แลวทําขอใดขอหนึ่ง
ดังตอไปนี้
1. แดรกเมาสเปนการเฉือนวัตถุรอบจุดศูนยกลาง
2. คลิกเพื่อกําหนดจุดอางอิง แลวแดรกตรงไหนก็ไดเพื่อบิดวัตถุแบบเฉือนรอบจุดอางอิงนั้น
28
การปรับแตงอยางอิสระดวย Free Transform Tool
นอกจากการใชเครื่องมือเฉพาะในการปรับแตงแลว เรายังสามารถปรับแตงขนาดหรือรูปรางไดอยาง
อิสระดวยเครื่องมือ Free Transform Tool
วิธีการใชมีขั้นตอนดังนี้
1. ใชลูกศรสีดําเลือกวัตถุที่ตองการปรับแตง
2. คลิกเลือกเครื่องมือ Free Transform Tool
3. แดรกที่ตําแหนงมุมของวัตถุ (Bounding Box) เมื่อเริ่มแดรกแลวใหทําขอใดขอหนึ่งตอไปนี้
1.1. กดคีย Ctrl คางขณะแดรกจนกวาจะไดรูปรางที่ตองการแลวปลอยปุมเมาส เปนการบิดมุม
ดานเดียว
1.2. กดคีย Ctrl+Alt คางขณะแดรกจนจะไดรูปรางที่ตองการแลวปลอยปุมเมาส จะเปนการบิด
แบบเฉือน
1.3. กดคีย Shift+ Ctrl+Alt ขณะแดรกจนจะไดรูปรางที่ตองการแลวปลอยปุมเมาส จะเปนการ
ดัดรูปใหเปน Perspective
8 Mask and Compound Paths
Place คือการนําไฟลภาพหรือไฟลขอความ
ชนิดตางๆ เขามาใชประกอบในชิ้นงาน
โดยคลิกที่เมนู File > Place และเลือก
ไฟลที่ตองการใชงาน (หากตองการให
ภาพแนบไปกับไฟลหามคลิก
เครื่องหมาย หนาคําวา Link มิฉะนั้น
แลวภาพที่นํามาใชจะไมถูกบันทึกไปกับ
ไฟล) จากนั้นใหคลิกที่ปุม Place
Ctrl
Ctrl + Alt Shift + Ctrl + Alt
Original
29
การทํา Clipping Mask
Clipping Mask หรือ Mask เปนเสมือนหนากากที่สวมแลวมองเห็นเฉพาะชองที่เจาะเวนไวใหเห็น
เทานั้น เปนการใชรูปที่อยูบนสุดของวัตถุมาทําเปนกรอบครอบวัตถุที่อยูดานลางใหแสดงผลภายใตรูปราง
ของวัตถุบน สามารถใชไดทั้งภาพแบบเวกเตอรและบิตแมพ
วิธีการทําคือ
1. เอาวัตถุทั้งหมดที่ตองการทํา Mask มาวางซอนทับกัน โดยใหวัตถุที่ตองการใหเปนกรอบอยู
ดานบนสุด (ในรูป ชิ้นที่หนึ่งคือรูปที่ Place เขามา ชิ้นที่สองคือวงกลมสีขาว)
2. เลือกวัตถุทั้งหมดแลวไปที่เมนู Object > Clipping Mask > Make
3. การยกเลิก Mask ใหเลือกไปที่เมนู Object > Clipping Mask> Release
การใช Pathfinder
Pathfinder เปนสิ่งที่ชวยในการสรางรูปไดสะดวกและรวดเร็วขึ้นมาก โดยเราอาจจะสรางรูปรางแต
ละสวนเปนชิ้น ๆ แลวนํามาทํา Pathfinder เพื่อใหเปนรูปรางใหม ซึ่งจะเปนชิ้นเดียวกัน
วิธีการรวมรางดวย Pathfinder มีดังนี้
1. ใชลูกศรสีดําคลิกเลือกวัตถุที่ซอนทับกันทีละชิ้น
2. ถายังไมไดเปด Pathfinder Palette ใหเปดโดยไปที่เมนูแลวเลือก Window > Pathfinder หรือ
กดคีย Shift +F9
3. คลิกที่ปุมบน Pathfinder Palette ตามชนิดที่ตองการ
การใช Pathfinder ในการรวมรางนั้นมีหลายรูปแบบ ขึ้นกับชนิดของการรวมรางใน Pathfinder
Palette ซึ่งจะมาทําความรูจักกัน
1
2
30
รายละเอียดของ Pathfinder Palette
ในหนาตางของ Pathfinder Palette จะแบงเปน 2 หมวดดวยกัน คือ
หมวด Shape Modes: เปนการทําใหรูปรางของวัตถุเปลี่ยนไป แตรูปรางของ Path ยังคงเดิมสีและ
เสนของวัตถุที่เกิดขึ้นใหมจะมีผลตามลําดับการซอนทับของวัตถุเดิม โดยวัตถุที่อยูหนาจะเปนตัว
หลักในการเปลี่ยนรูป ยกเวน Subtract to Shape Areas เทานั้นที่ใชวัตถุที่อยูหลังเปนหลัก
1. Add to Shape Area คือการรวมวัตถุทุกชิ้นเปนชิ้นเดียวโดยเอาเสนรอบรูปทั้งหมดรวมกัน
2. Subtract to Shape Area คือการเอาวัตถุที่อยูดานหลังตัดวัตถุที่อยูดานหนา
3. Intersect Shape Area ใชกับวัตถุ 2 ชิ้น โดยจะเหลือแตสวนที่ซอนทับกันไว
4. Exclude Overlapping Shape Area เปนการเจาะเอาสวนที่ซอนทับกันออกไปเหลือแตสวนที่ไม
ซอนทับกันไว
5. Expand คือการลดรูป Path ของรูปรางเดิมทั้งหมดใหเหลือเพียงชุดเดียว ผลที่ออกมาจะ
เหมือนกับการเลือกใชหมวด Pathfinder ซึ่งไมสามารถคืนกลับเปนรูปรางเดิมไดอีก
Original Add to Shape Area Subtract to Shape
Intersect Shape Area Exclude Overlapping
Shape Area
Expand
31
หมวด Pathfinders: จะเปนการรวมรูปรางโดยเปลี่ยนรูปรางของ Path ตนฉบับไปเลยไมสามารถ
แกไขกลับคืนมาเปนรูปรางเดิมได
1. Divide คือการตัดแบงวัตถุทั้งหมดเปนชิ้น ๆ ตามแนวเสนขอบวัตถุเขาดวยกัน
2. Trim การใชวัตถุบนตัดวัตถุลาง โดยลบสวนที่ถูกบังอยูออกไป และจะไมรวมวัตถุเขาดวยกันแม
จะมีลักษณะของสีและเสนเหมือนกันก็ตาม
3. Merge คลายกับ Trim คือการใชวัตถุบนตัดวัตถุลาง โดยลบสวนที่ถูกบังอยูออกไป แตหากวัตถุ
มีลีกษณะเดียวกันจะเปนการรวมเขาดวยกัน
4. Crop คือการเอาวัตถุบนเปนกรอบในการตัดวัตถุลาง วัตถุลางอยูนอกกรอบจะถูกลบทิ้ง
5. Outline คือการตัดแบงวัตถุเปนชิ้น ๆ ในรูปของเสน โดยยกเลิกสีและ Style ตาง ๆ ออกหมดมี
ประโยชนในการใชเตรียมอารตเวิรกในกระบวนการพิมพเพื่อทํา Trap สําหรับทําสี Overprint
เพื่อปองกันสีเหลื่อม
6. Minus Back คือการใชวัตถุลางตัดวัตถุบน
การจัดเรียงวัตถุ (Align)
ในการทํางานที่ตองการความมีระเบียบและแมนยํา การยายวัตถุโดยการกะดวยสายตานั้นไมเพียงพอ
วิธีที่ดีคือ การใช Align เขาชวย ขั้นตอนการทํามีดังนี้
Divide Trim Merge
Crop Outline Minus Back
32
1. เลือกวัตถุที่ตองการจัดเรียง
2. ถายังไมไดเปด Align Palette ใหเปดโดยไปที่ Window > Align หรือกดคีย Shift + F7
3. คลิกปุม Align ชนิดที่ตองการ
การจัดลําดับการซอนทับวัตถุ (Arrange)
เมื่อทํางานกับวัตถุหลาย ๆ ชิ้นที่มีการวางทับกัน ลําดับในการซอนหนาหรือหลัง จะมีผลตอภาพที่
ปรากฏ วัตถุที่อยูหนาจะบังวัตถุที่อยูหลัง วิธีการจัดลําดับซอนทับของวัตถุ ทําไดโดยการคลิกเลือกวัตถุที่
ตองการเปลี่ยนลําดับ แลวคลิกเลือกเมนู Object > Arrange ซึ่งมีเมนูยอยใหเลือก 4 อยางดังนี้
Bring Forward ดึงขึ้นมาขางหนา 1 ขั้น
Bring to Front คือดึงมาอยูหนาสุดของวัตถุทั้งหมดในเลเยอรนั้น
Send Backward คือผลักไปขางหลัง 1 ขั้น
Send to Back คือผลักไปอยูหลังสุดของวัตถุทั้งหมดในเลเยอรนั้น
Original Bring Forward Bring to Front
Send Backward Send to Back
33
แบบฝกหัด (File Download – http://tulip.bu.ac.th/~ittipon.s/ai10lock/ex.html
ขอ 1
1. ใหนักศึกษานําสวนประกอบตางๆ ที่ใหมาจัดวางเปนตัวโดเรมอนตามภาพตัวอยาง
2. นักศึกษาเพิ่มเติมรายละเอียดสวนตางๆ ที่ขาดไปใหสมบูรณเหมือนภาพตัวอยาง
3. ใสสีสันใหแกโดเรมอนตามใจชอบ
ตัวอยาง
ขอ 2
1. วาดสี่เหลี่ยมขอบมน ขนาด 1.6 x 4.5 ซม. Corner Radius 0.7 ซม. สีแดง C4 M 95 Y 93 K0
2. ทําการ Copy ออกมาเปน 3 ชิ้น (โดยใช เครื่องมือ Direction tool แลวกด Alt) แลวหมุน ชิ้นที่ 2 > 45 องศา ,
ชิ้นที่ 3 > 90 องศา ตามภาพ
3. จัดเรียง Shape ดวย Align (เปดที่เมนู Window) ใหเปนรูปลูกศร
34
4. รวม shape ทั้ง 3 ชิ้นดวย Pathfinder (ใชปุม Add) แลวกดปุม Expand
5. สรางเสน guide จากไมบรรทัด และใช Direct tool เคลื่อนยาย point ใหไดทรงสี่เหลี่ยมดังภาพ
6. Copy ภาพลูกศร เปน 4 ชิ้น (ใชเครื่องมือ Direction tool แลวกดปุม Alt ) แลวหมุนลูกศรเขาหากัน ดังภาพ
7. รวมลูกศร ทั้ง 4 ชิ้นเขาดวยกัน โดยใช Pathfinder (ใชปุม Add) แลวกดปุม Expand
8. สรางวงกลม 1 วง แลวใช Align จัดใหวงกลมอยูตรงกลาง จากนั้นใช Pathfinder กดปุม Subtract เพื่อตัด
สวนที่ทับกันออกไป
9. สรางวงกลมอีก 2 ชิ้น (เพื่อสรางตัววงกลมตรงกลาง Logo) ใหวงกลมวงเล็กอยูตรงกลางวงกลมวงใหญ (สีแดง)
แลวเลือกวงกลมทั้ง 2 วงพรอมกัน แลวใช Pathfinder กดปุม Subtract ตัดสวนที่ทับกัน นํามาวางในโลโก
35
10. สรางสี่เหลี่ยมชิ้นเล็กๆ ดังภาพ เพื่อตัดใหเปนรูปตัว C โดยการ Click เลือกสี่เหลี่ยมพรอมกันเลือกวงกลม
ดานใน ใช Pathfinder กดปุม Subtract อีกครั้ง
เสร็จแลวโลโก Central ถาตองการใสเงาก็ใชคําสั่ง Effect สามารถใสเงาได
ขอ 3 จัดหนา Layout
1. สรางเอกสารขนาด A4 แนวตั้ง โหมดสี CMYK
2. เปดไฟล text04.ai เพื่อคัดลอกขอความ และจัดวางใสคอลัมน 2 คอลัมน
3. วางรูป SixDegree04 ดานบนของหนางาน (ตามตัวอยาง)
4. วางภาพ Orange04 ดานลางขวาของคอลัมนที่ 2 โดยใชเทคนิค Text Wrap โดยกําหนดคา Offset 6 pt
8. วาดสี่เหลี่ยมขนาด 3 x 21 ซม. ใสสีดํา ลด Opacity เหลือ 30 วางตามตําแหนง
9. พิมพชื่อนักศึกษาดวยตัวพิมพใหญ Font Century Gothic ขนาด 65 pt สีขาว
10. วางสี่เหลี่ยมขนาด A4 กําหนดสี C48 M15 Y98 K3 แลวสงไปไวดานหลัง
ตัวอยาง

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie คู่มือ Illustrator-2

โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8
Teraphat Aroonpairoj
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
natnardtaya
 
Excel 2007 adv manual for kku
Excel 2007 adv manual for kkuExcel 2007 adv manual for kku
Excel 2007 adv manual for kku
s0rn
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Jinwara Sriwichai
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
ใบงานที่ 5 เฟินสวย
ใบงานที่ 5 เฟินสวยใบงานที่ 5 เฟินสวย
ใบงานที่ 5 เฟินสวย
ValenKung
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
Papam_Virinrda
 
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDการออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Word2007 moce
Word2007 moceWord2007 moce
Word2007 moce
520147141
 
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
pom_2555
 
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตาโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
pom_2555
 

Ähnlich wie คู่มือ Illustrator-2 (20)

โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8
 
Photoshop ict
Photoshop ictPhotoshop ict
Photoshop ict
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
Excel 2007 adv manual for kku
Excel 2007 adv manual for kkuExcel 2007 adv manual for kku
Excel 2007 adv manual for kku
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ใบงานที่ 5 เฟินสวย
ใบงานที่ 5 เฟินสวยใบงานที่ 5 เฟินสวย
ใบงานที่ 5 เฟินสวย
 
Microsoft Office Word 2007
Microsoft Office Word 2007Microsoft Office Word 2007
Microsoft Office Word 2007
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
คู่มือใช้งาน Microsoft Office-365
คู่มือใช้งาน Microsoft Office-365คู่มือใช้งาน Microsoft Office-365
คู่มือใช้งาน Microsoft Office-365
 
Publisher2003
Publisher2003Publisher2003
Publisher2003
 
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDการออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
การพัฒนา Software
การพัฒนา Softwareการพัฒนา Software
การพัฒนา Software
 
Profile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้นProfile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้น
 
Word2007 moce
Word2007 moceWord2007 moce
Word2007 moce
 
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
 
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตาโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
 

คู่มือ Illustrator-2

  • 1. เอกสารประกอบการอบรม โปรแกรม Adobe Illustrator CS โครงการอบรมคอมพิวเตอรหลักสูตร “ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานออกแบบสิ่งพิมพและจัดทําเว็บเพจ” มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
  • 2. สารบัญ 1 Introduction......................................................................................................................................1 Illustrator คืออะไร แนะนําเครื่องมือ....................................................................................................1 2 Drawing Paths..................................................................................................................................5 การวาดรูปโดยใชรูปทรงสําเร็จ.............................................................................................................5 ความสําคัญของ Path.............................................................................................................................9 การวาดโดยใช Pen tool และ Selection Tools ตางๆ ..........................................................................10 3 Painting Objects.............................................................................................................................12 ระบบสีในโปรแกรม Illustrator..........................................................................................................12 การกําหนดคุณสมบัติของเสนดวย Stroke Palette..............................................................................15 Swatch Palette.....................................................................................................................................16 4 Painting Tools ................................................................................................................................16 การใสสีดวย Eyedropper....................................................................................................................16 การใสสีดวย Paint Bucket ..................................................................................................................17 วิธีการใช Brush...................................................................................................................................17 5 Type.................................................................................................................................................19 เครื่องมือที่ใชในการสรางขอความและทิศทางการเรียงตัวของตัวหนังสือ ........................................19 การจัดหนากระดาษและการกําหนด Paragraph..................................................................................20 การเลื่อนตําแหนงของขอความบนเสน Path.......................................................................................22 การพลิกตัวหนังสือบน Path ...............................................................................................................22 6 Text Effects.....................................................................................................................................23 การลิงค (Link) ขอความที่ลนกรอบไปยังกรอบใหม..........................................................................23 การแบงขอความเปนคอลัมนเพื่อจัดเลเอาต........................................................................................24 การทําขอความลอมรอบภาพ (Text Wrap).........................................................................................24 การทําใหตัวหนังสือกลายเปน Path (Create Outline).........................................................................25 7 Transformations............................................................................................................................25 Origin Point ........................................................................................................................................25 การปรับแตงวัตถุ (Transforming).......................................................................................................26 8 Mask and Compound Paths.........................................................................................................28 Place....................................................................................................................................................28 การทํา Clipping Mask.........................................................................................................................29 การใช Pathfinder................................................................................................................................29 การจัดเรียงวัตถุ (Align).......................................................................................................................31 การจัดลําดับการซอนทับวัตถุ (Arrange).............................................................................................32
  • 3. 1 1 Introduction Illustrator คืออะไร และทําอะไรไดบาง โปรแกรมพื้นฐานที่นักออกแบบทุกคนตองเรียนรูในการสรางงานกราฟกมี 2 ชนิด คือโปรแกรม ประเภทวาดภาพ และโปรแกรมประเภทตกแตงภาพ Illustrator คือ โปรแกรมที่ใชในการวาดภาพ โดยจะสรางภาพที่มีลักษณะเปนลายเสน หรือที่ เรียกวา Vector Graphic จัดเปนโปรแกรมระดับมืออาชีพที่ใชกันเปนมาตรฐานในการออกแบบระดับสากล สามารถทํางานออกแบบตางๆ ไดหลากหลาย ไมวาจะเปนสิ่งพิมพ บรรจุภัณฑ เว็บ และภาพเคลื่อนไหว ตลอดจนการสรางภาพเพื่อใชเปนภาพประกอบในการทํางานอื่นๆ เชน การตูน ภาพประกอบหนังสือ เปน ตน แนะนําเครื่องมือตางๆ ในโปรแกรม เมื่อเราเขาสูโปรแกรมหรือเมื่อเราสรางไฟลใหมดวยการคลิกที่เมนู File>New จะปรากฏหนาตาของ โปรแกรมเหมือนตัวอยางขางลางนี้ หนาตาโดยรวมของโปรแกรม Illustrator 1. แถบคําสั่ง (Menu Bar) 2. แถบเครื่องมือ (Tool Box) 3. พื้นที่ทํางาน (Art Board) 4. จานเครื่องมือตางๆ (Palette) 1 4 2 3
  • 4. 2 แถบคําสั่ง (Menu Bar) เปนเมนูคําสั่งหลักโปรแกรม แบงออกเปนหมวดหมูตางๆ ดังนี้ File: เปนหมวดของคําสั่งที่จัดการเกี่ยวกับไฟลและโปรแกรมทั้งหมด ไมวาจะเปนการ เปด-ปดไฟล การ บันทึกไฟล การนําภาพเขามาใช (Place) ตลอดจนการออกจากโปรแกรม (Exit) Edit: เปนหมวดของคําสั่งที่จัดการแกไข เชน Undo Cut Copy Paste Select รวมทั้งการกําหนดคุณสมบัติ ตางๆ ที่มีผลตอการปรับแตงภาพดวย เชนการสรางรูปแบบ (Define Pattern) การกําหนดคาสี (Color Setting) เปนตน Type: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชจัดการตัวหนังสือ เชน Fonts Paragraph เปนตน Select: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชในการเลือกวัตถุ สามารถเลือกดวยคุณสมบัติได เชน เลือกวัตถุที่มี Fill และ Stroke แบบเดียวกัน วัตถุที่อยูบน Layer เดียวกัน เปนตน Filter: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชสรางเทคนิคพิเศษใหกับภาพ โดยจะมีผลตอรูปรางของ Path Effect: เปนหมวดของคําสั่งที่ใชสรางเทคนิคพิเศษใหกับภาพคลาย Filter แตจะไมมีผลกับรูปรางของ Path View: เปนหมวดของคําสั่งเกี่ยวกับการมองทุกสิ่งในงาน เชน Zoom Show/Hide Ruler Bounding Box Outline Mode/Preview Mode เปนตน Window: เปนหมวดของคําสั่งเกี่ยวกับการเปด-ปดหนาตางเครื่องมือตางๆ เชน Palette Tool Box เปนตน Help: เปนหมวดที่รวบรวมวิธีการใชงานและคําแนะนําเพื่อชวยเหลือผูใชโปรแกรม กลองเครื่องมือ (Tool Box) Tool Box เปนเครื่องมือพื้นฐานที่ใชในการทํางานเกี่ยวกับภาพทั้งหมด ซึ่งจะแบงออกเปนชวงๆ ตามกลุมการใชงาน ดังนี้ 1. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการเลือกวัตถุ 2. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการวาดและการสรางตัวหนังสือ 3. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการปรับแตงวัตถุ 4. กลุมเครื่องมือในการสราง Symbol และ Graph 5. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการกําหนดสี 6. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการตัดแบงวัตถุ 7. กลุมเครื่องมือเกี่ยวกับพื้นที่ทํางาน 8. กรอบที่ใชระบุสีใหวัตถุและสีของเสน 9. ปุมกําหนดรูปแบบของมุมมองในหนาจอโปแกรม 1 3 2 4 5 6 7 8 9
  • 5. 3 พื้นที่ทํางาน (Art board Area) เปนขอบเขตของพื้นที่การทํางาน ซึ่งมีจุดที่ตองระวังคือ บริเวณที่อยูในเสนประเปนพื้นที่ที่จะถูก พิมพออกมา และสวนของภาพที่อยูนอกเสนนี้จะถูกตัดขาดไปเวลาพิมพ จานเครื่องมือตางๆ (Palette) เปรียบเสมือนแผนหรือจานผสมสีของจิตรกร ที่เปนแหลงกําเนิดของเสนสายหรือสีสันของภาพ จาน เครื่องมือตางๆ เหลานี้เปนหนาตางขนาดเล็กที่รวบรวมคําสั่งและคุณสมบัติของเครื่องมือตางๆ ไวเปน หมวดหมูการเรียกใช Palette ใหคลิกที่เมนู Window จะเห็นรายชื่อ Palette ตางๆ ใหเลือกตามตองการ ซึ่ง Palette ที่ใชบอยๆ มีดังนี้ 1. Palette ที่เกี่ยวของกับการใชสีและเสน ไดแก Color Palette: เหมือนจานสีที่ใชผสมสีไวใชเอง โดยระบุคาสีหรือสุม เลือกที่แถบสีดานลางก็ได เพื่อใหไดสีใหมไมจํากัดอยูแตสีที่ผสมไวใหใน Swatch Swatch Palette: เหมือนกลองเก็บสีที่ผสมสําเร็จรูปไวใชไดทันที ทําใหไม ตองผสมใหมทุกครั้งที่จะใสสี Gradient Palette: ใชกําหนดคาการไลโทนสีใหวัตถุ ทั้งการกําหนด รูปแบบการไลสีระหวางแบบเสนตรงหรือรัศมี และปรับแตงโทนโดยใช แทบ Gradient Bar ดานลางทําใหรูปมีมิติและความลึกมากขึ้น Stroke Palette: ใชกําหนดคุณสมบัติตาง ๆ เชนขนาดของเสน รูปแบบ ของรอยตอหรือปลายเสน ฯลฯ Brushes Palette: บรรจุชนิดของหัวพูกันสําเร็จรูปไวใหเลือกใช โดย สามารถเลือกกําหนดคุณสมบัติของหัวพูกันไดดวย ทําใหเสนสายพลิ้ว พราย มีลูกเลนไมธรรมดา
  • 6. 4 2. Palette ที่เกี่ยวของกับการปรับแตงและจัดการวัตถุ Transform Palette: ใชกําหนดตําแหนง ขนาดและปรับแตงรูปรางของ วัตถุ โดยการระบุคาเปนตัวเลข เพื่อใหไดระยะที่ถูกตองและแมนยํา Align Palette: ใชควบคุมการจัดเรียงวัตถุ ไมวาจะเปนการจัดแนวของวัตถุ ใหตรงกันในแนวตาง ๆ หรือการจัดระยะหางระหวางวัตถุ โดยคลิกเลือก วัตถุกอน แลวเลือกวิธีการจัดเรียงที่ตองการ ชวยใหงานมีระเบียบเรียบรอย สวยงาม Pathfinder Palette: ใชสรางวัตถุใหม จากการรวมรูปรางของวัตถุเดิมเขา ดวยกัน ชวยในการสรางวัตถุ โดยไมจําเปนตองเริ่มวาดเองใหมทั้งหมด ใชรวมกันใหเกิดเปนรูปรางใหมไดสะดวกและรวดเร็ว 3. Palette ที่เกี่ยวของกับการใชงานตัวหนังสือ Character Palette: ใชกําหนดรูปแบบตัวหนังสือ โดยกําหนดไดละเอียด มาก ทั้งชนิด ขนาด ความสูง ความกวาง ตัวยก ตัวหอย ฯลฯ เพื่อทําให ตัวอักษรดูหลากหลายและมีลูกเลนตาง ๆ Paragraph Palette: ใชกําหนดรูปแบบการจัดเรียงขอความ โดยกําหนดได ละเอียดมาก ทั้งการจัดชิดซาย ขวา กลาง ฯลฯ ตลอดจนระยะยอหนาตาง ๆ ซึ่งสามารถระบุคาเปนตัวเลขได เพื่อทําใหขอความเปนระเบียบ เรียบรอยสวยงาม 4. Palette ที่เกี่ยวของกับการควบคุมและการจัดการในหนากระดาษ Layers Palette: ใชจัดการวัตถุที่บรรจุอยูในแตละเลเยอร ซึ่งทํางานเหมือน เปนแผนใสที่ซอนกันเปนชั้น ๆ ใชควบคุมทั้งการมองเห็น การล็อควัตถุ การจัดลําดับซอนทับกัน ฯลฯ Links Palette: ใชควบคุมการเชื่อมตอขอมูลกับภาพตนฉบับที่นําเขามาใช โดยสามารถเลือก ใหไฟลภาพที่นําเขามาลิงคอยูหรือฝงอยูในไฟลก็ได สวนใหญมักจะเลือกลิงคภาพเพื่อไมใหไฟลงานมีขนาดใหญเกินไป
  • 7. 5 5. Palette ที่เกี่ยวของกับการใสลูกเลนหรือเอฟเฟกตใหวัตถุ Transparency Palette: ใชกําหนดคาความโปรงแสงของวัตถุ โดยคลิก เลือกรูปแบบของ Blending Mode ที่ตองการและกําหนดคาความทึบที่ชอง Opacity เพื่อทําใหภาพมีลูกเลนแปลก ๆ โดยสัมพันธกับวัตถุอื่น ๆ ที่ซอน กันอยูดานลาง Styles Palette: ใชกําหนดสี เสน และเอฟเฟกตตาง ๆ แบบสําเร็จรูป โดย คลิกเลือกวัตถุแลวคลิกเลือกไอคอนสไตลที่ตองการ ชวยใหทํางานไดเร็ว ขึ้น เพราะเปนการเก็บคุณสมบัติไวใชกับวัตถุอื่น ๆ ไดโดยไมตองกําหนด ใหมทีละอัน ๆ Symbols Palette: บรรจุชนิดของวัตถุสําเร็จรูปใหใชซ้ํา โดยใชรวมกับ เครื่องมือในกลุม Symbolism Tool เปนการเอาวัตถุเดียวมาใชซ้ําไปซ้ํามา ในงาน จึงมีขอมูลเพียงอันเดียวของวัตถุสําเร็จรูปนั้น ชวยลดขนาดของ ไฟลไดมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อนําไปใชในงานที่เกี่ยวกับเว็บ นอกจากนี้ยังมี Palette อื่น ๆ อีกบางอันที่ไมไดกลาวถึงในตอนนี้ เพราะไมไดใชมากนัก จะนําไปไว ในสวนเนื้อหาที่เกี่ยวของโดยตรงในภายหลัง 2 Drawing Paths การวาดภาพโดยใชรูปทรงสําเร็จ รูปเลขาคณิตและรูปรางที่ใชกันบอย ๆ ไดแก สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผา สี่เหลี่ยมมุมมน สามเหลี่ยม วงกลม วงรี รูปหลายเหลี่ยม รูปดาว ฯลฯ ซึ่งสามารถสรางไดงาย ๆ ดวยเครื่องมือในกลุม Shape Tool ซึ่งมีทั้งหมด 6 ชนิดคือ 1. Rectangle Tool ใชสรางสี่เหลี่ยมทั้งจัตุรัสและผืนผา 2. Rounded Rectangle Tool ใชสรางสี่เหลี่ยมทั้งจัตุรัสและผืนผาที่มีมุมโคงมน 3. Ellipse Tool ใชสรางวงกลมและวงรี 1 2 3 4 5 6
  • 8. 6 4. Polygon Tool ใชสรางรูปหลายเหลี่ยม เชน สามเหลี่ยม หาเหลี่ยม หกเหลี่ยม ฯลฯ 5. Star Tool ใชสรางรูปดาว รูปหลายแฉก 6. Flare Tool ใชสรางรูปประกายรัศมี เครื่องมือที่ชวยในการวาดรูปรางพื้นฐาน มีหลักการใชอยู 2 แบบ เชนเดียวกับ Line Tool คือ 1. วาดอิสระตามการแดรกเมาส (Freehand) 2. วาดโดยการระบุคาตาง ๆ ใหโปรแกรมคํานวณออกมาเปนภาพ (Properties Specification) การอธิบายเครื่องมือจะอยูบนพื้นฐานการวาดทั้ง 2 แบบนี้ จะเลือกใชวิธีการใดก็ขึ้นกับความตองการ และความถนัดของผูใช โดยมากการวาดแบบที่ 2 มักใชเมื่อตองการงานที่แมนยํา เชน งานอารตเวิรก เปนตน การวาดสี่เหลี่ยม วงกลมและวงรี เครื่องมือที่ใชในการวาดสี่เหลี่ยม วงกลม และวงรี มีหลักการใชงานคลายคลึงกันดังนี้ วิธีที่ 1 การวาดเสนแบบอิสระ (Freehand) วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเครื่องมือ รูปสี่เหลี่ยม สี่เหลี่ยมมุมมน หรือวงรี ตามตองการ 2. ถายังไมไดเปดหนาตาง Stroke Palette และ Swatch Palette ใหเปด Palette ทั้งสองโดยไปที่ เมนู แลวเลือก Window > Stroke (หรือกด F10 ) และ Window > Swatches 3. เลือกขนาดของเสนที่ Stroke Palette ในชอง Weight 4. คลิกที่ Stroke Box คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับเสน 5. คลิกที่ Fill Box 6. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับวัตถุ 7. แดรกเมาสบน Art board จากมุมหนึ่งไปยังอีกมุมหนึ่ง การวาดสามเหลี่ยมและรูปหลายเหลี่ยม เครื่องมือที่ใชในการวาดรูปสามาเหลี่ยมและรูปหลายเหลี่ยมคือ เครื่องมือ Polygon Tool วิธีที่ 1 การวาดเสนแบบอิสระ (Freehand) แดรกเมาสตามทิศลูกศร แดรกเมาสตามทิศลูกศร
  • 9. 7 วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเครื่องมือ Polygon Tool 2. เลือกขนาดของเสนที่ Stroke Palette ในชอง Weight 3. คลิกที่ Stroke Box 4. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับเสน 5. คลิกที่ Fill Box 6. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับวัตถุ 7. เลื่อนเคอรเซอรไปยังตําแหนงที่ตองการใหเปนศูนยกลางของรูปหลายเหลี่ยม แลวแดรก เมาสจนไดรูปในขนาดที่ตองการ โดยขณะที่แดรกใหลองหมุนเคอรเซอรไปมา จะเปนการ หมุนรูปหลายเหลี่ยม 8. กดคีย Shift คางขณะแดรกเมาสจะเปนการสรางรูปหลายเหลี่ยมที่ยืดออกในมุม 45องศา เสมอไมวาจะแดรกไปในทิศทางไหนก็ตาม 9. กดปุมลูกศรขึ้น-ลงขณะแดรกเมาส จะเปนการเพิ่ม-ลดจํานวนดานของรูปหลายเหลี่ยม โดย จํานวนดานที่นอยที่สุดคือ รูปสามเหลี่ยม และจํานวนดานที่มากที่สุดก็จะไดรูปใกลเคียง วงกลม วิธีการวาดโดยการระบุคาตาง ๆ (Properties Specification) วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกเครื่องมือ Polygon Tool 2. คลิกบน Art board หรือดับเบิลคลิกที่รูปเครื่องมือ จะปรากฏหนาตางขึ้นมาเพื่อกําหนดคา ตาง ๆ 3. ระบุคาที่ตองการแลวกดปุม OK Radius คือรัศมีจากจุดศูนยกลางไปยังจุดมุมของรูป ซึ่งเทากับความยาวของเสน ในแตละดาน Sides คือจํานวนดานของรูปหลายเหลี่ยม 3 cm
  • 10. 8 การวาดรูปหลายแฉก (Star) วิธีการที่ 1 การวาดเสนแบบอิสระ (Freehand) วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเครื่องมือ Star Tool 2. ถายังไมไดเปดหนาตาง Stroke Palette และ Swatch Paletteใหเปด Palette ทั้งสองโดยไปที่ เมนู แลวคลิก Window > Stroke (หรือกด F10) และ Window > Swatches 3. เลือกขนาดของเสนที่ Stroke Palette ในชอง Weight 4. คลิกที่ Stroke Box 5. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับเสน 6. คลิกที่ Fill Box 7. คลิกเลือกสีที่ Swatch Palette เปนการกําหนดสีใหกับวัตถุ 8. เคลื่อนเคอรเซอรไปยังตําแหนงที่ตองการใหเปนศูนยกลางของรูปหลายแฉก แลวแดรก เมาสจนไดรูปในขนาดที่ตองการ โดยขณะที่แดรกใหลองหมุนเคอรเซอรไปมาจะเปนการ หมุนรูปหลายแฉก 9. กดคีย Shift ขางขณะแดรกเมาสจะเปนการสรางรูปหลายแฉกที่ยืดออกในมุม 45องศาเสมอ ไมวาจะแดรกไปในทิศทางไหนก็ตาม 10. กดปุมลูกศรขึ้น-ลงขณะแดรกเมาส จะเปนการเพิ่ม-ลดจํานวนดานของรูปหลายแฉก โดย จํานวนดานที่นอยที่สุดคือรูปสามเหลี่ยม วิธีที่ 2 การวาดโดยการระบุคาตาง ๆ (Properties Specification) วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกเครื่องมือ Star Tool 2. คลิกบน Art board หรือดับเบิลคลิกที่รูปเครื่องมือ จะปรากฏหนาตางขึ้นมาใหกรอกขอมูล 3. ระบุคาที่ตองการ แลวกดปุม OK แดรกเมาสตามทิศลูกศร
  • 11. 9 Radius 1 คือระยะจากจุดศูนยกลางไปยังจุดที่อยูนอกสุด Radius 2 คือระยะจากจุดศูนยไปยังจุดที่อยูในสุด Points คือจํานวนแฉกของรูปหลายเหลี่ยม ความสําคัญของ Path “หากไมมี Path ก็ไมมีภาพ” เปนคํากลาวที่ไมเกินจริงเลยสําหรับโปรแกรมนี้ เพราะ Path คือหัวใจ ของโปรแกรมสรางภาพแบบเวกเตอรแทบทุกโปรแกรม ไมวาจะเปน Freehand Corel Draw แมกระทั่ง Flash แตในขณะเดียวกัน เราอาจมีเสน Path โดยไมมีภาพได ธรรมชาติของ Path Path ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้ 1. จุดปลายของ Path (End Point) หรือเรียกสั้น ๆ วา “จุดปลาย” เปนจุดที่อยูปลายสุดของPath ทั้ง 2 ดาน คือ ทั้งจุดเริ่มตนและจุดสุดทายของ Path 2. จุดยึด (Anchor Point) หรือเรียกกันวา ” จุด Anchor” (แอง-เคอร)เปนจุดที่อยูบนเสนระหวางจุด ปลายทั้งสองดาน ใชเพื่อเปลี่ยนทิศทางของเสน นึกภาพงาย ๆ เหมือนกับการเดินสายไฟบนผนัง ซึ่งตองใชหมุดยึดเมื่อตองการเปลี่ยนทิศทางของสายไฟ 3. เสน (Segment) ไมวาจะเปนเสนตรงหรือเสนโคง เกิดจากการเชื่อมตอกันของจุด 2 จุดไมวาจะ เปนจุดปลายหรือจุด Anchor จํานวนของเสนมีผลตอความนุมนวลของ Path (ใชในการสราง ภาพแบบระบุคา ซึ่งจะกลาวถึงภายหลัง) 4. แขนปรับทิศทาง (Direction Line) หรือเรียกสั้น ๆ วา “แขน” เปนตัวชี้บอกวาเสนจะโคงไปทาง ไหนและมีความโคงมากนอยเทาไหร 5. จุดปลายของแขนปรับทิศทาง (Direction Point) หรือเรียกสั้น ๆ วา “จุดปรับ” เปนจุดที่อยูตรง ปลายแขนปรับทิศทาง ใชเปนตัวบังคับให “แขน” ชี้ไปในทิศทางที่ตองการ 1 2 5 3 4
  • 12. 10 ซึ่งองคประกอบเหลานี้จะทําใหเกิด Path ที่มีรูปรางแตกตางกันไป รูปรางของ Path มี 2 ลักษณะ ใหญ ๆ คือ 1. Path ที่เปนรูปเปด คือรูปรางที่มีจุดปลายของ Path เปนคนละจุดแยกจากกัน 2. Path ที่เปนรูปปด คือรูปรางที่มีจุดปลายของ Path มาบรรจบกันและเปนจุดเดียวกัน Anchor และแขน (Direction Line) มีผลกับ Path อยางไร จุด Anchor และแขนเปนตัวกําหนดรูปรางของ Path วา Path นั้นจะไปในทิศทางไหน เปนเสนตรง หรือเสนโคง โคงมากหรือโคงนอย ในการวาด Path เราจะใสจุด Anchor ในตําแหนงที่ตองการเปลี่ยนทิศทาง ของเสน หรือตองการดัดเสนใหโคง แลวลากแขนไปในทิศทางที่เราตองการใหโคงไปทางนั้น จุด Anchor บน Path มี 2 ชนิดคือ จุด Anchor ที่เปนมุม (Comer Point) และจุด Anchor ที่เปนรอยตอ ของเสนโคง (Smooth Point) ในการวาด Path ตองเลือกใช Anchor ใหถูกชนิดมาผสมกัน จึงจะไดเสนที่ ตองการ ดังตัวอยาง รูปที่ 1 คือจุด Anchor ที่ไมมีแขน ทําใหเกิดเสนตรงหักมุมตอกัน รูปที่ 2 คือจุด Anchor ที่มีแขน 1 ขาง ทําใหเกิดเสนโคงและเสนตรงตอกัน รูปที่ 3 คือจุด Anchor ที่มีแขน 2 ขาง ทําใหเกิดเสนโคง 2 เสนตอกัน การวาดโดยใช Pen tool • Pen เปนเครื่องมือที่ใชในการวาดเสนและรูป สามารถวาดไดทั้งเสนตรงเสนโคง 1 2 1 2 3
  • 13. 11 วิธีการใชงาน 1. เสนเฉียง ใชเครื่องมือ Pen Click บนกระดาษตามแนวที่ตองการไดเลย 2. เสนตรง ใหกดปุม Shift คางไว แลวใชเครื่องมือ Pen Click บนกระดาษ เสนที่ไดจะเปนเสนตรง แนวตั้ง แนวนอน และเฉียง 45 องศา 3. เสนโคง ใชเครื่องมือ Pen Drag บนกระดาษจะมีแขนเกิดขึ้นตรงจุดที่ Drag จากนั้นให Drag จุด ตอไปนี้จะมีเสนโคงเกิดขึ้นระหวางจุดแรกกับจุดที่สอง เมื่อ Drag จุดตอไปจะมีเสนโคงเกิดขึ้น ระหวางจุดที่ Drag จะเปนอยางนี้เรื่อยไป การเลือกวัตถุโดยใช Selection Tools • Direct Selection เปนเครื่องมือที่ใชในการเลือกวัตถุที่จะทํางานดวย โดยวัตถุนั้นจะมีสถานะเปน Ungroup ชั่วคราว การใชเครื่องมือชนิดนี้เพื่อแกไขรูปทรงของรูป วิธีการใชงาน 1. เปนการเลือกแกไขจากจุด Anchor โดยตรงเมื่อแดรกเมาสไปที่จุดแลวเลื่อนจะเห็นวาจุดจะถูกยาย ตําแหนงไปตามเมาสและเสนที่เชื่อมกับจุดนั้นก็เลื่อนตามไปดวย 2. เปนการเลือกแกไขจากจุด Direction Point นั้นจะสังเกตไดวาจุด Anchor ไมไดเลื่อนไปไหน จะ เลื่อนไปก็เฉพาะแขนทั้งสองดานเทานั้น 3. เราสามารถแกไขโดยตรงจากเสน Segment ไดดวยจากรูปจะเห็นวามีการยืดออกของเสน Segment และ แขน Direction Point แตจุด Anchor ที่ยึดอยูทั้งสองขางไมมีการเปลี่ยนแปลง • Group Selection เปนเครื่องมือที่ใชในการเคลื่อนยาย Object ออกจากกลุมงานที่ใชคําสั่ง Group โดย ชั่วคราว ( ขณะที่อยูใน View ที่เปน Art work) วิธีการใชงาน ขณะที่เปน View-Art work ใชเครื่องมือนี้ Drag Object ที่ตองการแยกออกจากกลุมชั่วคราวจะเห็นไดวา รูปที่ Drag เทานั้นที่ Active สวนรูปอื่น ๆ จะไม Active
  • 14. 12 • Add Anchor Point เปนเครื่องมือที่ถูกใชในการเพิ่มจุดบนเสน เพื่อใชงานกับจุดนั้น วิธีการใชงาน นําเครื่องมือ Add Anchor Point มา Click บนเสนก็จะเกิดจุดขึ้นตามที่ตองการ • Delete Anchor Point เปนเครื่องมือที่ใชในการลบจุดที่ไมตองการออก วิธีการใชงาน นําเครื่องมือ Delete Anchor Point มา Click ที่จุดที่ตองการลบ จุดก็จะหายไป • Convert Direction Point เปนเครื่องมือในการเพิ่มแขน หรือหักแขนของจุด วิธีการใชงาน 1. เพิ่มแขนใช Selection Tool Click รูปที่ตองการจะเพิ่มแขน หลังจากนั้นใชเครื่องมือConvert Direction Point Drag ที่จุด Anchor เพื่อเพิ่มแขนใหกับจุดนั้น 2. หักแขนใช Selection Tool Click รูปที่ตองการจะหักแขน หลังจากนั้นใชเครื่องมือ Convert Direction Point Drag ที่จุดปลายแขนเพื่อหักแขนใหกับจุดนั้น 3 Painting Objects ระบบสีในโปรแกรม Illustrator (Color Mode) หลายๆคนคงจะสงสัยวาจะทํางานที่ทําอยูในระบบสีอะไรดี ทําไมตองเลือกตั้งแตแรกเวลาสั่ง New File ดวย นั่นเพราะการกําหนดสีใหกับไฟลมีผลตอสีของภาพที่ปรากฏเมื่อเรานําไฟลไปใช โหมดสีใน Illustrator มี 5 โหมดสีคือ Grayscale RGB HSB CMYK และ Web Safe RGB Grayscale Mode เปนโหมดสีของภาพขาวดํา คือมีแตสีดําโทนตางๆ ไลตั้งแตไมมีสี (คือสีขาว) สี เทาไปจนถึงดํา
  • 15. 13 RGB Mode ระบบสี RGB เปนระบบสีของแสง (Red Green Blue) ไดแก สีบนหนาจอ คอมพิวเตอรและสีในโทรทัศน HSB Mode คือหลักการมองเห็นสีตามสายตามนุษย ประกอบดวย Hue Saturation Brightness CMYK Mode เปนระบบสีทางการพิมพระบบออฟเซต ที่ใชหลักการผสมสี 4 ชนิดคือ Cyan สี ฟา Magenta สีมวงแดง Yellow สีเหลือง และ Black สีดํา Web Safe RGB เปนภาพโหมด RGB ที่ลดทอนจํานวนสีลง และระบุเปน Code ของคาสีเพื่อใช บนเว็บ องคประกอบพื้นฐานที่ใชในการระบุสีและเลือกสี เมื่อเราเลือกโหมดสีใหกับไฟลแลว ก็มารูจักวิธีการใสสีกัน การระบุสีใหกับวัตถุสิ่งที่ตองรูเปนพื้นฐานก็คือ 1. หนาตาง Fill Box และ Stroke Box ใน Tool Box 2. Color Palette 3. Stroke Palette หนาตาง Fill Box และ Stroke Box ใน Tool Box 1. Fill Box เปนกรอบที่บอกสีของวัตถุ 2. Stroke Box เปนกรอบที่บอกสีของเสน 3. Swap Fill and Stroke 4. Default Fill and Stroke 5. Color คลิกเพื่อเลือกใชสีธรรมดา (Solid Color) 6. Gradient คลิกเพื่อเลือกใชสีไลโทน (Gradient Color) 7. None คลิกเพื่อไมใชสีใดๆ (โปรงใส) 1 4 5 3 2 7 6
  • 16. 14 วิธีการใสสีใหกับวัตถุ 1. คลิกเลือกวัตถุที่จะใสสี 2. ดับเบิลคลิกที่ชอง Fill Box เพื่อเลือกสีใหวัตถุ จะปรากฏหนาตาง Color Picker ขึ้นมา เลือกสีที่ ตองการแลวคลิกปุม OK 3. ดับเบิลคลิกที่ชอง Stroke Box เพื่อเลือกสีใหเสน จะปรากฏหนาตาง Color Picker ขึ้นมา เลือกสีที่ ตองการแลวคลิกปุม OK 4. คลิกที่ปุม Swap Fill and Stroke เพื่อสลับสีระหวางสี Fill และ Stroke จะเห็นสีของวัตถุและเสน สลับกัน 5. คลิกที่ปุม None จะเปนการยกเลิกสีใชไดทั้ง Fill Box และ Stroke Box
  • 17. 15 6. คลิกที่ปุม Gradient จะเปนการใสสีแบบไลโทนใหแกวัตถุที่ถูกเลือก (ใชไดเฉพาะกับสีพื้น ไม สามารถใชกับสีของเสนได) 7. คลิกที่ปุม Default Fill and Stroke เปนการทําใหสีกลับไปเหมือนคาเริ่มตนคือขาวดํา การกําหนดคุณสมบัติของเสนดวย Stroke Palette เมื่อวาดเสนเสร็จแลว ถาอยากไดเสนชนิดอื่น เชน เสนประ เสนปลายมน ฯลฯ ทําโดยกําหนดขนาด และรูปแบบของเสนไดใน Stroke Palette โดยวิธีการทํามีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกเครื่องมือลูกศรสีดํา เพื่อใชเลือกวัตถุ 2. คลิกที่เสนบนArt broad เปนการเลือกเสน Weight: ใสตัวเลขหรือคลิกที่สามเหลี่ยมเพื่อกําหนดความหนาของเสน Miter Limit: ใสตัวเลขเพื่อปรับความแหลมของมุมรอยตอของเสน โดยการกําหนดใหเปนตัวคูณ ของความหนาของเสน (Weight) คาปกติจะอยูที่ 4 ถาเสนหนาขึ้นตองกําหนดคา Miter ใหมากขึ้น มุมจึงจะแหลม Cap: คลิกเลือกรูปแบบของปลายเสน ใหเปนปลายตัดตรงพอดีกับจุดปลาย ปลายมนหรือปลายตัดที่ ยื่นเกินจุดปลาย ตามลําดับ Join: คลิกเลือกรูปแบบของรอยตอของเสนใหเปนมุมแหลม มุมมน หรือมุมตัด ตามลําดับ เปรียบเทียบเสนที่ใช Join ชนิดตางๆ
  • 18. 16 Dashed Line: คือ เสนประใหคลิกที่ชองสี่เหลี่ยมหนาคําวา Dashed Line เพื่อเลือก a. Dash ความยาวของเสนประ b. Gap ระยะหางระหวางเสนประ เปรียบเทียบการกําหนด Cap ชนิดตางๆ Swatch Palette เปรียบเหมือนสีที่ผสมสําเร็จเก็บเปนชุดๆ ไวใชซ้ํา ทําใหไมตองระบุคาสีใน Color Palette ทุกครั้ง 4 Painting Tools การใสสีโดยใชเครื่องมือชวย การใสสีดวย Eyedropper มีหลักการใชคลายกับ Paint Bucket แตเปนการดูดคาทั้งหมดจากวัตถุอื่นมาใชกับวัตถุที่ถูกเลือกไม วาจะเปนคาสีของ Fill และ Stroke ขนาดของเสน ชนิดของ Brush รวมทั้ง Style ดวย 1 2 3
  • 19. 17 การใสสีดวย Paint Bucket เปนการใสสีของทั้งคาสีของ Fill และ Stroke ขนาดของเสน ชนิดของ Brush รวมทั้ง Style ดวยแต ไมดูดคาจากวัตถุอื่นไดเหมือน Eyedropper ตองคาสีเอาเอง วิธีการใช Brush การใช Brush ทําได 2 วิธีคือ วิธีที่ 1 วาดใหมดวยเครื่องมือ Paintbrush Tool วิธีที่ 2 กําหนดชนิดของ Brush ใหกับเสน Path ที่วาดไวแลว วิธีที่ 1 วาดเสนพูกันดวย Paintbrush Tool มีขั้นตอนการทําดังนี้ 1. เลือกเครื่องมือ Paintbrush Tool 2. หากยังไมไดเปด Brush Paletteใหเปดโดยไปที่เมนู Window > Brushes หรือกด F5 แลวเลือก ชนิดของหัวพูกันที่ตองการ 3. แดรกบน Art board จากตําแหนงที่จะใหเปนจุดเริ่มตน ไปยังตําแหนงที่จะใหเปนปลายของเสน วิธีที่ 2 การกําหนด Brush ใหกับเสน Path ที่วาดไวแลว วิธีการทํามีขั้นตอนดังนี้ 1 2 3 1 3 2 1 2 3
  • 20. 18 1. คลิกเลือกลูกศรสีดํา เพื่อใชเลือกวัตถุ 2. คลิกเลือกเสน Path บน Art board 3. หากยังไมไดเปด Brush Palette ใหเปดโดยไปที่เมนู Window > Brushes หรือกด F5 แลวเลือก ชนิดของหัวพูกันที่ตองการใน Brush Palette การสราง Brush ใหมไวใชเอง หากดูใน Libraries แลวยังไมถูกใจ เราสามารถที่จะสรางหัวพูกันไวใชเอง โดยการสรางชนิดของ Brush ใหมเพื่อเก็บไวใชได โดยทําดังนี้ 1. วาดรูปบน Art board จะเปนเสนหรือรูปปดก็ได 2. ที่ Brush Palette ใหกดปุม New เพื่อกําหนดใหรูปที่สรางเปน Brush ชนิดหนึ่งจะปรากฏ หนาตางใหเลือกประเภทของ Brush เปน New Art Brushใหเลือกแลวคลิก OK 1 2 3 ได Brush ใหม ขึ้นมาแลว
  • 21. 19 3. จะปรากฏหนาตางคุณสมบัติของ Brush ใหระบุคาตาง ๆ ซึ่งจะเปนหนาตางตามประเภทของ Brush ที่เลือกไว ใหกําหนดคุณสมบัติและตั้งชื่อ แลวคลิก OK จะเห็นไอคอนใหมใน Brush Palette เปนรูปที่สราง 5 Types เครื่องมือที่ใชในการสรางขอความและทิศทางการเรียงตัวของตัวหนังสือ ในโปรแกรม Illustrator มีเครื่องมือที่ใชในการสรางขอความอยูหลายตัว รองรับการทํางานทั้งแบบ ขอความปกติ การสรางลูกเลนตาง ๆ และการใชงานขอความยาว ๆ ซึ่งมีทั้งหมด 6 ชนิดดวยกันคือ 1. Type Tool ใชสรางขอความปกติ 2. Area Type Tool ใชสรางจอความภายในขอบเขตที่กําหนด 3. Path Type Tool ใชทําขอความที่โคงไปตามรูปรางของ Path 4. Vertical Type Toolใชสรางขอความตามแนวตั้ง รองรับการใชภาษาจีนหรือ ญี่ปุนไดดี นํา Brush ใหมมา ใชในงานไดเลย
  • 22. 20 5. Vertical Area Type Toolใชสรางขอความตามแนวตั้งภายในขอบเขต ที่กําหนด 6. Vertical Path Type Tool ใชสรางขอความตามแนวตั้งที่โคงไปตาม รูปรางของ Path การจัดหนากระดาษและการกําหนด Paragraph 1. Align Left คลิกเพื่อจัดหนากระดาษชิดซาย 2. Alight Center คลิกเพื่อจัดหนาแบบยึดแกนกลางเปนหลัก 3. Alight Right คลิกเพื่อจัดหนากระดาษชิดขวา 4. Justify Full Lines คลิกเพื่อจัดหนาแบบตรงแนวดานขวาใหเทากัน ทําใหเปนระเบียบดวยการยึด ระยะหางของคํา (ชองวางที่กด spacebar) 5. Justify All Lines คลาย ๆ กับ Justify Full Lines แตจะยึดระยะทุกบรรทัดรวมทั้งบรรทัดสุดทาย ดวย ซึ่งอาจทําใหระยะตัวอักษรเพียนเกินไปได 6. Left Indent คือการกําหนดระยะที่ยนเขามาทางดานซาย 7. First Line Left Indent คือการกําหนดระยะยอหนาในบรรทัดแรก 8. Right Indentคือการกําหนดระยะที่ยนเขามาทางดานขวา 9. Space Before Paragraph คือการกําหนดระยะหางระหวาง Paragraph จะชวยใหแบงขอความแต ละชวงออกจากกันชัดเจนและอานงายขึ้น ระยะที่นิยมกําหนด ไดแก 6 pt. 12 pt. เปนตน 1 2 3 4 5 6 7 8 9
  • 23. 21 การเปลี่ยนรายละเอียดของตัวอักษร การเปลี่ยนรายละเอียดของตัวอักษรตาง ๆ ของตัวอักษร ทําไดโดยใช Character Palette ซึ่งสามารถ เรียกใชไดโดยไปที่เมนู Window > Type > Character จะปรากฏหนาตาง Character Palette ซึ่งสามารถเรียกดู Option เพิ่มไดโดยคลิกที่ แลว Show Option วิธีการแกไขนั้นเราตองทําการเลือกขอความที่ตองการกอน จะใชลูกศรสีดําคลิกเลือกวัตถุที่เปน ขอความทั้งชิ้น หรือใช Type Tool แดรกใหเปนแถบดําเฉพาะขอความที่ตองการแกไขก็ได เมื่อเราเลือก ขอความเสร็จแลว ก็ระบุรายละเอียดใหมตามตองการ โดยแตละรายการใน character Palette ใชเปลี่ยน รายละเอียดดังตอไปนี้ 1. Font Family คลิกเลือกชนิดของตัวอักษร 2. Font Style คลิกเลือกลักษณะของตัวอักษร ไดแก ตัวปกติ ตัวเอียง ตัวหนา ตัวหนาและเอียง 3. Font Size ใชเปลี่ยนขนาดของตัวอักษร 4. Leading ใชปรับระยะหางระหวางบรรทัด 5. Kerning ใชปรับระยะหางระหวางตัวอักษร 2 ตัวที่อยูขางกัน 6. Tracking ใชปรับระยะหางของตัวอักษรทั้งชุด 7. Vertical Scale ใชปรับความสูงของตัวอักษร 8. Horizontal ใชปรับความกวางของตัวอักษร 9. Baseline Shift ใชทําตัวยกหรือตัวหอยเชน 1010 H2O เปนตน การเลื่อนตําแหนงของขอความบนเสน Path 1. ใชลูกศรสีดําคลิกที่ขอความหนึ่งครั้ง จะเห็น I-beam ปรากฏขึ้นมา 2. แดรกตรง I-beam เลื่อนไปมา จะเปนการเปลี่ยนตําแหนงของขอความบน Path 1 2 3 4 5 6 7 8 9
  • 24. 22 การพลิกตัวหนังสือบน Path 1. ใชลูกศรสีดําคลิกที่ขอความหนึ่งครั้ง จะเห็น I-beam ปรากฏขึ้นมา 2. แดรกตรง I-beam เลื่อนกลับลงมาอีกดานหนึ่ง จะเปนการําลิกกลับดานของขอความPath การสรางขอความในกรอบสี่เหลี่ยม 1. คลิกเลือกเครื่องมือ Type Tool 2. แดรกบน Art board จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง จะเห็นกรอบ สี่เหลี่ยมดังรูป 3. พิมพขอความตามตองการ โดยตัวหนังสือจะตัดขึ้น บรรทัดใหมอัตโนมัติเมื่อสุดขอบของสี่เหลี่ยมแตหาก ขอความยาวเกินกรอบที่วาดไว จะเห็นเปนจุดสี่เหลี่ยมที่ มุมขวาลาง แสดงวายังมีขอความตอแตไมปรากฏใหเห็น 6 Text Effects การลิงค (Link) ขอความที่ลนกรอบไปยังกรอบใหม 1. สรางรูปสี่เหลี่ยมเพื่อเปนกรอบขอความใหม 2. คลิกเลือกกรอบขอความและสี่เหลี่ยมที่จะใหเปนกรอบใหม
  • 25. 23 3. ไปที่เมนูแลวคลิกเลือก Type > Block > Link 4. ขอความสวนที่ซอนอยูในกรอบแรกจะปรากฏในกรอบใหมและตอเนื่องกัน เชน หากลบ ขอความในกรอบแรก ขอความในกรอบหลังก็จะเลื่อนขึ้นไปแทนที่ เปนตน การแบงขอความเปนคอลัมนเพื่อจัดเลเอาต ในการทํางานที่มีขอความยาว ๆ นั้น การแบงเนื้อหาออกเปนคอลัมนจะทําใหจัดหนากระดาษไดเปน ระเบียบ สวยงาม และอานงายขึ้น การแบงคอลัมนทําไดดังนี้ 1. คลิกเลือกขอความที่ตองการแบงเลเอาต 2. ไปที่เมนู Type > Row & Column จะปรากฏหนาตางขึ้นมาใหระบุ 3. ระบุรายละเอียดตามตองการ แลวกด OK Rows เปนการกําหนดคาตางๆ ของแถว Number คือจํานวนแถว
  • 26. 24 Height คือความสูงของกรอบขอความ Gutter คือชองวางระหวางแถว จะแปรตามความสูงที่กําหนดใหมโดยอัตโนมัติ Total คือความสูงของแถวทั้งหมดรวมกัน Columns เปนการกําหนดคาตางๆ ของหลัก Number คือจํานวนหลัก Width คือความกวางของกรอบขอความ Gutter คือชองวางระหวางหลัก จะแปรตามความกวางที่กําหนดใหมโดยอัตโนมัติ Total คือความกวางของหลักทั้งหมดรวมกัน Options Text Flow คือการกําหนดทิศทางการเรียงลําดับเนื้อหาในแตละกรอบขอความ Add Guides คือการสั่งใหเสนไกดของแถวและหลักดวย โดยจะเปนชุดไกดแยกตางหาก การทําขอความลอมรอบภาพ (Text Wrap) มีประโยชนในการจัดขอความไมใหซอนทับภาพ หรือใชสรางลูกเลนในการจัดหนากระดาษ ซึ่งไม จําเปนตองจัดแบบคอลัมนสี่เหลี่ยมเสมอไป วิธีการทํามีขั้นตอนตัวนี้ 1. วาด Path ลอมรอบวัตถุที่ตองการทํา Text Wrap 2. คลิกที่ Stroke Box ใหทํางาน 3. คลิกปุม None เพื่อไมใสสีใหเสน 4. คลิกเลือก Path และกรอบขอความ 5. ไปที่เมนู Type > Wrap >Make
  • 27. 25 การทําใหตัวหนังสือกลายเปน Path (Create Outline) วิธีการทําคือ 1. เลือกวัตถุที่เปนตัวหนังสือ 2. เลือกเมนู Type > Create Outlines 7 Transformations Origin Point กอนที่เราจะใช Transformation Tool นั้นเราควรที่จะรูจักจุด Origin กันกอนจุด Origin เปนจุดที่ใช เปนหลักยึดวัตถุในการเปลี่ยนแปลงแตละครั้งโดยเราสามารถยายจุด Origin ไปยังตําแหนงใดก็ได ตัวอยาง การปรับแตงวัตถุ (Transforming) การยอขยายอิสระตามการแดรกเมาส Origin Point อยูตรงกลาง Origin Point อยูซายมือ
  • 28. 26 ทําไดโดยใชเครื่องมือ Scale Tool หรือใชลูกศรสีดําแดรกที่ Bounding Box 1. การยอขยายวัตถุทั้งชิ้น แบงเปน 1.1. การยอขยายตามสัดสวนเดิม ใหกดคีย Shift คางขณะแดรก Note กดคีย Alt คางขณะแดรกจะเปนการยอขยายโดยยึดจุดศูนยกลางเปนหลัก 1.2. การยอขยายเพียงดานใดดานหนึ่งคือ แนวนอน (Horizontal) หรือแนวตั้ง (Vertical) 2. การยอขยายเพียงบางสวนของวัตถุ มีขั้นตอนการทําดังนี้ 2.1 ใชลูกศรสีขาวเลือกเฉพาะจุดหรือเสนที่ตองการยอขยาย 2.2 คลิกเลือกเครื่องมือ Scale Tool แลวเลื่อนเคอเซอรไปยังตําแหนงที่ตองการใชเปนจุดอางอิง แลวคลิก 2.3 แดรกจุดที่เลือกไวแลวใหไดขนาดที่ตองการ แลวปลอยปุมเมาส การหมุนวัตถุ (Rotate) การหมุนวัตถุมี 2 วิธีคือ 1. หมุนอิสระตามการแดรกเมาส 2. หมุนแบบระบุคา วิธีที่ 1 หมุนอิสระตามการแดรกเมาส หลักการหมุนมี 3 รูปแบบ 1. หมุนรอบจุดศูนยกลาง สามารถใชเครื่องมือลูกศรสีดําคลิกเลือกใหเห็น Bounding Box ได เลย โดยเลื่อนเคอเซอรไปอยูตรงมุมของวัตถุจะเห็นเคอเซอรเปนรูป แลวจึงแดรกเมาส เพื่อหมุน 2. หมุนโดยกําหนดจุดอางอิงใหม จะกําหนดไวนอกวัตถุก็ได ทําไดโดย 2.1. ใชลูกศรสีดําเลือกวัตถุที่จุดหมุน 2.2. ใชเครื่องมือ Rotate Tool คลิกครั้งแรกเพื่อกําหนดจุดอางอิง 2.3. แดรกเมาสเพื่อหมุนวัตถุ
  • 29. 27 3. หมุนเพียงบางสวนของวัตถุ ทําไดโดย 3.1. ใชลูกศรสีขาวเลือกบางสวนของวัตถุที่ตองการหมุน 3.2. ใชเครื่องมือ Rotate Tool คลิกครั้งแรกเพื่อกําหนดจุดอางอิง 3.3. แดรกเมาสเพื่อหมุนวัตถุ การพลิกวัตถุ (Reflect) วิธีที่ 1 พลิกอิสระตามการแดรกเมาส เมื่อใชลูกศรสีดําคลิกเลือกวัตถุที่ตองการแลว ใหคลิกเลือกเครื่องมือ Reflect Tool แลวทําขอใดขอ หนึ่งดังตอไปนี้ 1. คลิกครั้งแรกเพื่อกําหนดจุดอางอิง (Origin Point) คลิกอีกทีแลวปลอยเมาส วัตถุจะพลิกไปอยู ตรงขามแนวแกนที่เกิดจากการคลิกสองครั้ง 2. แดรกวัตถุแทนการคลิก จนไดตําแหนงที่ตองการแลวปลอยเมาส จะเปนการพลิกวัตถุไปพรอม ๆ กับหมุนวัตถุพรอมจุดที่เริ่มแดรก การบิดวัตถุแบบเฉือน (Shear) การบิดวัตถุแบบเฉือนทําไดโดยการใชเครื่องมือ Shear Tool วิธีที่ 1 บิดแบบเฉือนอิสระตามการแดรกเมาส ใชลูกศรสีดําคลิกเลือกวัตถุที่ตองการ แลวคลิกเลือกเครื่องมือ Shear Tool แลวทําขอใดขอหนึ่ง ดังตอไปนี้ 1. แดรกเมาสเปนการเฉือนวัตถุรอบจุดศูนยกลาง 2. คลิกเพื่อกําหนดจุดอางอิง แลวแดรกตรงไหนก็ไดเพื่อบิดวัตถุแบบเฉือนรอบจุดอางอิงนั้น
  • 30. 28 การปรับแตงอยางอิสระดวย Free Transform Tool นอกจากการใชเครื่องมือเฉพาะในการปรับแตงแลว เรายังสามารถปรับแตงขนาดหรือรูปรางไดอยาง อิสระดวยเครื่องมือ Free Transform Tool วิธีการใชมีขั้นตอนดังนี้ 1. ใชลูกศรสีดําเลือกวัตถุที่ตองการปรับแตง 2. คลิกเลือกเครื่องมือ Free Transform Tool 3. แดรกที่ตําแหนงมุมของวัตถุ (Bounding Box) เมื่อเริ่มแดรกแลวใหทําขอใดขอหนึ่งตอไปนี้ 1.1. กดคีย Ctrl คางขณะแดรกจนกวาจะไดรูปรางที่ตองการแลวปลอยปุมเมาส เปนการบิดมุม ดานเดียว 1.2. กดคีย Ctrl+Alt คางขณะแดรกจนจะไดรูปรางที่ตองการแลวปลอยปุมเมาส จะเปนการบิด แบบเฉือน 1.3. กดคีย Shift+ Ctrl+Alt ขณะแดรกจนจะไดรูปรางที่ตองการแลวปลอยปุมเมาส จะเปนการ ดัดรูปใหเปน Perspective 8 Mask and Compound Paths Place คือการนําไฟลภาพหรือไฟลขอความ ชนิดตางๆ เขามาใชประกอบในชิ้นงาน โดยคลิกที่เมนู File > Place และเลือก ไฟลที่ตองการใชงาน (หากตองการให ภาพแนบไปกับไฟลหามคลิก เครื่องหมาย หนาคําวา Link มิฉะนั้น แลวภาพที่นํามาใชจะไมถูกบันทึกไปกับ ไฟล) จากนั้นใหคลิกที่ปุม Place Ctrl Ctrl + Alt Shift + Ctrl + Alt Original
  • 31. 29 การทํา Clipping Mask Clipping Mask หรือ Mask เปนเสมือนหนากากที่สวมแลวมองเห็นเฉพาะชองที่เจาะเวนไวใหเห็น เทานั้น เปนการใชรูปที่อยูบนสุดของวัตถุมาทําเปนกรอบครอบวัตถุที่อยูดานลางใหแสดงผลภายใตรูปราง ของวัตถุบน สามารถใชไดทั้งภาพแบบเวกเตอรและบิตแมพ วิธีการทําคือ 1. เอาวัตถุทั้งหมดที่ตองการทํา Mask มาวางซอนทับกัน โดยใหวัตถุที่ตองการใหเปนกรอบอยู ดานบนสุด (ในรูป ชิ้นที่หนึ่งคือรูปที่ Place เขามา ชิ้นที่สองคือวงกลมสีขาว) 2. เลือกวัตถุทั้งหมดแลวไปที่เมนู Object > Clipping Mask > Make 3. การยกเลิก Mask ใหเลือกไปที่เมนู Object > Clipping Mask> Release การใช Pathfinder Pathfinder เปนสิ่งที่ชวยในการสรางรูปไดสะดวกและรวดเร็วขึ้นมาก โดยเราอาจจะสรางรูปรางแต ละสวนเปนชิ้น ๆ แลวนํามาทํา Pathfinder เพื่อใหเปนรูปรางใหม ซึ่งจะเปนชิ้นเดียวกัน วิธีการรวมรางดวย Pathfinder มีดังนี้ 1. ใชลูกศรสีดําคลิกเลือกวัตถุที่ซอนทับกันทีละชิ้น 2. ถายังไมไดเปด Pathfinder Palette ใหเปดโดยไปที่เมนูแลวเลือก Window > Pathfinder หรือ กดคีย Shift +F9 3. คลิกที่ปุมบน Pathfinder Palette ตามชนิดที่ตองการ การใช Pathfinder ในการรวมรางนั้นมีหลายรูปแบบ ขึ้นกับชนิดของการรวมรางใน Pathfinder Palette ซึ่งจะมาทําความรูจักกัน 1 2
  • 32. 30 รายละเอียดของ Pathfinder Palette ในหนาตางของ Pathfinder Palette จะแบงเปน 2 หมวดดวยกัน คือ หมวด Shape Modes: เปนการทําใหรูปรางของวัตถุเปลี่ยนไป แตรูปรางของ Path ยังคงเดิมสีและ เสนของวัตถุที่เกิดขึ้นใหมจะมีผลตามลําดับการซอนทับของวัตถุเดิม โดยวัตถุที่อยูหนาจะเปนตัว หลักในการเปลี่ยนรูป ยกเวน Subtract to Shape Areas เทานั้นที่ใชวัตถุที่อยูหลังเปนหลัก 1. Add to Shape Area คือการรวมวัตถุทุกชิ้นเปนชิ้นเดียวโดยเอาเสนรอบรูปทั้งหมดรวมกัน 2. Subtract to Shape Area คือการเอาวัตถุที่อยูดานหลังตัดวัตถุที่อยูดานหนา 3. Intersect Shape Area ใชกับวัตถุ 2 ชิ้น โดยจะเหลือแตสวนที่ซอนทับกันไว 4. Exclude Overlapping Shape Area เปนการเจาะเอาสวนที่ซอนทับกันออกไปเหลือแตสวนที่ไม ซอนทับกันไว 5. Expand คือการลดรูป Path ของรูปรางเดิมทั้งหมดใหเหลือเพียงชุดเดียว ผลที่ออกมาจะ เหมือนกับการเลือกใชหมวด Pathfinder ซึ่งไมสามารถคืนกลับเปนรูปรางเดิมไดอีก Original Add to Shape Area Subtract to Shape Intersect Shape Area Exclude Overlapping Shape Area Expand
  • 33. 31 หมวด Pathfinders: จะเปนการรวมรูปรางโดยเปลี่ยนรูปรางของ Path ตนฉบับไปเลยไมสามารถ แกไขกลับคืนมาเปนรูปรางเดิมได 1. Divide คือการตัดแบงวัตถุทั้งหมดเปนชิ้น ๆ ตามแนวเสนขอบวัตถุเขาดวยกัน 2. Trim การใชวัตถุบนตัดวัตถุลาง โดยลบสวนที่ถูกบังอยูออกไป และจะไมรวมวัตถุเขาดวยกันแม จะมีลักษณะของสีและเสนเหมือนกันก็ตาม 3. Merge คลายกับ Trim คือการใชวัตถุบนตัดวัตถุลาง โดยลบสวนที่ถูกบังอยูออกไป แตหากวัตถุ มีลีกษณะเดียวกันจะเปนการรวมเขาดวยกัน 4. Crop คือการเอาวัตถุบนเปนกรอบในการตัดวัตถุลาง วัตถุลางอยูนอกกรอบจะถูกลบทิ้ง 5. Outline คือการตัดแบงวัตถุเปนชิ้น ๆ ในรูปของเสน โดยยกเลิกสีและ Style ตาง ๆ ออกหมดมี ประโยชนในการใชเตรียมอารตเวิรกในกระบวนการพิมพเพื่อทํา Trap สําหรับทําสี Overprint เพื่อปองกันสีเหลื่อม 6. Minus Back คือการใชวัตถุลางตัดวัตถุบน การจัดเรียงวัตถุ (Align) ในการทํางานที่ตองการความมีระเบียบและแมนยํา การยายวัตถุโดยการกะดวยสายตานั้นไมเพียงพอ วิธีที่ดีคือ การใช Align เขาชวย ขั้นตอนการทํามีดังนี้ Divide Trim Merge Crop Outline Minus Back
  • 34. 32 1. เลือกวัตถุที่ตองการจัดเรียง 2. ถายังไมไดเปด Align Palette ใหเปดโดยไปที่ Window > Align หรือกดคีย Shift + F7 3. คลิกปุม Align ชนิดที่ตองการ การจัดลําดับการซอนทับวัตถุ (Arrange) เมื่อทํางานกับวัตถุหลาย ๆ ชิ้นที่มีการวางทับกัน ลําดับในการซอนหนาหรือหลัง จะมีผลตอภาพที่ ปรากฏ วัตถุที่อยูหนาจะบังวัตถุที่อยูหลัง วิธีการจัดลําดับซอนทับของวัตถุ ทําไดโดยการคลิกเลือกวัตถุที่ ตองการเปลี่ยนลําดับ แลวคลิกเลือกเมนู Object > Arrange ซึ่งมีเมนูยอยใหเลือก 4 อยางดังนี้ Bring Forward ดึงขึ้นมาขางหนา 1 ขั้น Bring to Front คือดึงมาอยูหนาสุดของวัตถุทั้งหมดในเลเยอรนั้น Send Backward คือผลักไปขางหลัง 1 ขั้น Send to Back คือผลักไปอยูหลังสุดของวัตถุทั้งหมดในเลเยอรนั้น Original Bring Forward Bring to Front Send Backward Send to Back
  • 35. 33 แบบฝกหัด (File Download – http://tulip.bu.ac.th/~ittipon.s/ai10lock/ex.html ขอ 1 1. ใหนักศึกษานําสวนประกอบตางๆ ที่ใหมาจัดวางเปนตัวโดเรมอนตามภาพตัวอยาง 2. นักศึกษาเพิ่มเติมรายละเอียดสวนตางๆ ที่ขาดไปใหสมบูรณเหมือนภาพตัวอยาง 3. ใสสีสันใหแกโดเรมอนตามใจชอบ ตัวอยาง ขอ 2 1. วาดสี่เหลี่ยมขอบมน ขนาด 1.6 x 4.5 ซม. Corner Radius 0.7 ซม. สีแดง C4 M 95 Y 93 K0 2. ทําการ Copy ออกมาเปน 3 ชิ้น (โดยใช เครื่องมือ Direction tool แลวกด Alt) แลวหมุน ชิ้นที่ 2 > 45 องศา , ชิ้นที่ 3 > 90 องศา ตามภาพ 3. จัดเรียง Shape ดวย Align (เปดที่เมนู Window) ใหเปนรูปลูกศร
  • 36. 34 4. รวม shape ทั้ง 3 ชิ้นดวย Pathfinder (ใชปุม Add) แลวกดปุม Expand 5. สรางเสน guide จากไมบรรทัด และใช Direct tool เคลื่อนยาย point ใหไดทรงสี่เหลี่ยมดังภาพ 6. Copy ภาพลูกศร เปน 4 ชิ้น (ใชเครื่องมือ Direction tool แลวกดปุม Alt ) แลวหมุนลูกศรเขาหากัน ดังภาพ 7. รวมลูกศร ทั้ง 4 ชิ้นเขาดวยกัน โดยใช Pathfinder (ใชปุม Add) แลวกดปุม Expand 8. สรางวงกลม 1 วง แลวใช Align จัดใหวงกลมอยูตรงกลาง จากนั้นใช Pathfinder กดปุม Subtract เพื่อตัด สวนที่ทับกันออกไป 9. สรางวงกลมอีก 2 ชิ้น (เพื่อสรางตัววงกลมตรงกลาง Logo) ใหวงกลมวงเล็กอยูตรงกลางวงกลมวงใหญ (สีแดง) แลวเลือกวงกลมทั้ง 2 วงพรอมกัน แลวใช Pathfinder กดปุม Subtract ตัดสวนที่ทับกัน นํามาวางในโลโก
  • 37. 35 10. สรางสี่เหลี่ยมชิ้นเล็กๆ ดังภาพ เพื่อตัดใหเปนรูปตัว C โดยการ Click เลือกสี่เหลี่ยมพรอมกันเลือกวงกลม ดานใน ใช Pathfinder กดปุม Subtract อีกครั้ง เสร็จแลวโลโก Central ถาตองการใสเงาก็ใชคําสั่ง Effect สามารถใสเงาได ขอ 3 จัดหนา Layout 1. สรางเอกสารขนาด A4 แนวตั้ง โหมดสี CMYK 2. เปดไฟล text04.ai เพื่อคัดลอกขอความ และจัดวางใสคอลัมน 2 คอลัมน 3. วางรูป SixDegree04 ดานบนของหนางาน (ตามตัวอยาง) 4. วางภาพ Orange04 ดานลางขวาของคอลัมนที่ 2 โดยใชเทคนิค Text Wrap โดยกําหนดคา Offset 6 pt 8. วาดสี่เหลี่ยมขนาด 3 x 21 ซม. ใสสีดํา ลด Opacity เหลือ 30 วางตามตําแหนง 9. พิมพชื่อนักศึกษาดวยตัวพิมพใหญ Font Century Gothic ขนาด 65 pt สีขาว 10. วางสี่เหลี่ยมขนาด A4 กําหนดสี C48 M15 Y98 K3 แลวสงไปไวดานหลัง ตัวอยาง