SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
กิจการลูกเสือโลก ประวัติ และ บทเรียนที่ ๐๓ เวลา  ๔๕  นาที
ประวัติและกิจการลูกเสือโลก วัตถุประสงค์ของบทเรียน เมื่อจบบทเรียนนี้แล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ควรจะสามารถ ๑ .  บอกวัตถุประสงค์ หลักสำคัญ และวิธีการ    ลูกเสือได้อย่างถูกต้อง ๒ .  อธิบายลักษณะและผลการประชุม     สมัชชาลูกเสือโลกได้ ๓ .  อธิบายลักษณะและอำนาจหน้าที่ของ   คณะกรรมการลูกเสือโลกได้ ๔ .  บอกลักษณะการบริหารกิจการลูกเสือ   โลกได้
๑ .  นำเข้าสู่บทเรียนและ ชี้แจงวัตถุประสงค์ ๕  นาที  ๒ .  บรรยาย   ๓๐  นาที ๓ .  สรุป  /  ซักถาม   ๑๐  นาที วิธีสอนและกิจกรรม เวลา  ๔๕  นาที
ภูมิหลัง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วัตถุประสงค์  หลักสำคัญ และวิธีการของลูกเสือ การลูกเสือ เป็นขบวนการทางการศึกษาสำหรับเยาวชน เปิดโอกาสให้สำหรับคนทั่วไป -  ปฏิบัติตามหลักการสำคัญของการลูกเสือ -  มีความจงรักภักดีต่อชาติบ้านเมือง -  มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง -  เข้าร่วมในการพัฒนาสังคม ด้วยการยก ย่อง  และเคารพในเกียรติของบุคคลอื่น
กำเนิดของการลูกเสือ Robert Stephenson   Smyth BadenPowell   ( B.-P. )  เกิดเมื่อ  22  กุมภาพันธ์  1857  ( ๒๔๐๐ ) อายุ  19  ปี   B.-P.   สอบเข้าเป็นนักเรียนโรงเรียนนายร้อย ค . ศ . 1876   บรรจุเป็นนายทหารกองร้อยที่  13  ประเทศอินเดีย ค . ศ . 1884   B.-P.   กลับประเทศอังกฤษ ค . ศ . 1884   General Sir Henry Smyth  ผู้เป็นลุงของ  B.-P.   ไปประจำที่  Cape Town  ในแอฟริกา ได้นำ  B.-P.   ไปเป็นนายทหารคนสนิท
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตุลาคม  1899  สงครามระหว่างอังกฤษกับพวก  Boer  ของฮอลันดา Boers  มีทหาร  9,000  คน เดินทัพเข้าบุกเมือง  Mafeking  ซึ่งอยู่ในที่ราบไม่มีการป้องกันที่เข้มแข็งแต่ต้องล้อมอยู่นานถึง  7  เดือน B.-P.  มีทหารประมาณ  1,000  คน ทำไม  Mafeking  จึงปะทะข้าศึกได้ถึง  7  เดือน คำตอบ คือ  B.-P.  เป็นผู้รอบรู้ มีใจร่าเริง ไม่ย่อท้อต่อความยากลำบาก   หน่วยสอดแนมของเมือง  Mafeking -  ใช้เด็กหนุ่มชาวเมือง เป็นผู้สื่อข่าว บรุษพยาบาล
16  พฤษภาคม  1900  กองทัพอังกฤษมาช่วยเมือง  Mafeking สู้พวก  Boers  ถึง  217  วัน B.-P.  เป็นวีระบุรุษ 31  ก . ค . – 9  ส . ค . 1907  นำเด็ก  20  คน พักแรมที่   Brown Sea Island  ในอ่าว   Poole  เมือง   Dorset กลับจาก  Brown Sea Island  เขียน  Scouting For Boys  ( การลูกเสือสำหรับเด็กชาย ) กิจการลูกเสือขยายไป -  Chile  เป็นประเทศแรกที่รับเอากิจการลูกเสือไปตั้งขึ้น ใน ค . ศ . 1909 -  ปี ค . ศ . 1910  อเมริกา
- Mr.William D.Boyce -  ปี  1911  ไทย  Crystal Palace -  1919  ลูกเสือชุมนุมกันเป็นครั้งแรก - 1916  ตั้งลูกเสือสำรอง   Cub Scouts -  1918  ตั้งกองลูกเสือวิสามัญ   Rover Scouts กิจการเนตรนารี  Girl Guid  (1916) - 1920  ชุมนุมครั้งแรกที่   Olympic  มีค่ายอยู่ที่ Richmond  B.-P.   ประมุขลูกเสือโลก  “ Chief Scout of the World ” ตั้งสำนักงาน   International Bureau B.-P.  ถึงอนิจกรรมที่ประเทศ  Kenya 1941 ในทวีปแอฟริกา  หลุมศพอยู่ที่เมืองไนโรบี
Scout = สอดแนม S  =  sincerity  =  จริงใจ C  =  Courtesy   =  อ่อนน้อม   เอื้อเฟื้อ O  =  Obedience =  เชื่อฟัง U  =  Unity  =  สามัคคี T  =   Thrifty  =  ประหยัด   =  Train  =  ฝึก ,  อบรม
สมาชิก ๑๕๑ ประเทศ  ลูกเสือ ๓๐ ล้านคน สมัชชาลูกเสือโลก  ประชุมทุก ๆ ๓ ปี กรรมการลูกเสือโลก   มี ๑๒ คน สำนักงานลูกเสือโลก   ( เจนีวา – สวิสฯ ) อัฟริกา   ไนโรบี - เคนยา อาหรับ  ไคโร - อียิปต์ เอเชียแปซิฟิค   มนิลา - ฟิลิปปินส์ ยุโรป   บรัสเซล - เบลเยี่ยม อินเตอรอเมริกา   ซานดิเอโก - ชิลี ยูเรเซีย   ยูเครน
สมัชชาลูกเสือโลก ได้แก่ ที่ประชุม อันประกอบด้วยสมาชิก ๑๕๑ ประเทศ ประเทศละ ๖ คน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สำนักงานลูกเสือโลก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
คณะกรรมการลูกเสือโลก ประกอบด้วย ผู้ที่ได้รับการเลือกตั้ง ๑๒ คน อยู่ในตำแหน่งคราวละ ๖ ปี ทุก ๓ ปี เลือกใหม่ ๑ ใน ๒ ภารกิจที่สำคัญ ๑ .  ประชุมอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ๒ .  เลขาธิการฯ เป็นผู้บริหารสูงสุด ๓ .  ส่งเสริม เยี่ยมเยียน แนะนำ ๔ .  แต่งตั้งเลขาธิการ ๕ .  ดูแลการดำเนินงาน การจัดหาทุน ๖ .  อนุมัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๗ . แต่งตั้งกรรมการ อนุกรรมการเฉพาะเรื่อง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61Beerza Kub
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวทับทิม เจริญตา
 

Was ist angesagt? (20)

กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
 

Mehr von Kosamphee Wittaya School

วิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียง
วิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียงวิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียง
วิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียงKosamphee Wittaya School
 
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพ
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพ
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพKosamphee Wittaya School
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 

Mehr von Kosamphee Wittaya School (10)

Internet
InternetInternet
Internet
 
ดอกอัญชัน
ดอกอัญชันดอกอัญชัน
ดอกอัญชัน
 
ทับทิม
ทับทิมทับทิม
ทับทิม
 
ดอกอินทนิล
ดอกอินทนิลดอกอินทนิล
ดอกอินทนิล
 
แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
วิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียง
วิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียงวิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียง
วิธีการหรือลักษณะต้องห้ามการหาเสียง
 
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพ
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพ
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพ
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 

03 ประวัติลูกเสือโลก

  • 1. กิจการลูกเสือโลก ประวัติ และ บทเรียนที่ ๐๓ เวลา ๔๕ นาที
  • 2. ประวัติและกิจการลูกเสือโลก วัตถุประสงค์ของบทเรียน เมื่อจบบทเรียนนี้แล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ควรจะสามารถ ๑ . บอกวัตถุประสงค์ หลักสำคัญ และวิธีการ ลูกเสือได้อย่างถูกต้อง ๒ . อธิบายลักษณะและผลการประชุม สมัชชาลูกเสือโลกได้ ๓ . อธิบายลักษณะและอำนาจหน้าที่ของ คณะกรรมการลูกเสือโลกได้ ๔ . บอกลักษณะการบริหารกิจการลูกเสือ โลกได้
  • 3. ๑ . นำเข้าสู่บทเรียนและ ชี้แจงวัตถุประสงค์ ๕ นาที ๒ . บรรยาย ๓๐ นาที ๓ . สรุป / ซักถาม ๑๐ นาที วิธีสอนและกิจกรรม เวลา ๔๕ นาที
  • 4.
  • 5. วัตถุประสงค์ หลักสำคัญ และวิธีการของลูกเสือ การลูกเสือ เป็นขบวนการทางการศึกษาสำหรับเยาวชน เปิดโอกาสให้สำหรับคนทั่วไป - ปฏิบัติตามหลักการสำคัญของการลูกเสือ - มีความจงรักภักดีต่อชาติบ้านเมือง - มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง - เข้าร่วมในการพัฒนาสังคม ด้วยการยก ย่อง และเคารพในเกียรติของบุคคลอื่น
  • 6. กำเนิดของการลูกเสือ Robert Stephenson Smyth BadenPowell ( B.-P. ) เกิดเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 1857 ( ๒๔๐๐ ) อายุ 19 ปี B.-P. สอบเข้าเป็นนักเรียนโรงเรียนนายร้อย ค . ศ . 1876 บรรจุเป็นนายทหารกองร้อยที่ 13 ประเทศอินเดีย ค . ศ . 1884 B.-P. กลับประเทศอังกฤษ ค . ศ . 1884 General Sir Henry Smyth ผู้เป็นลุงของ B.-P. ไปประจำที่ Cape Town ในแอฟริกา ได้นำ B.-P. ไปเป็นนายทหารคนสนิท
  • 7.
  • 8. ตุลาคม 1899 สงครามระหว่างอังกฤษกับพวก Boer ของฮอลันดา Boers มีทหาร 9,000 คน เดินทัพเข้าบุกเมือง Mafeking ซึ่งอยู่ในที่ราบไม่มีการป้องกันที่เข้มแข็งแต่ต้องล้อมอยู่นานถึง 7 เดือน B.-P. มีทหารประมาณ 1,000 คน ทำไม Mafeking จึงปะทะข้าศึกได้ถึง 7 เดือน คำตอบ คือ B.-P. เป็นผู้รอบรู้ มีใจร่าเริง ไม่ย่อท้อต่อความยากลำบาก หน่วยสอดแนมของเมือง Mafeking - ใช้เด็กหนุ่มชาวเมือง เป็นผู้สื่อข่าว บรุษพยาบาล
  • 9. 16 พฤษภาคม 1900 กองทัพอังกฤษมาช่วยเมือง Mafeking สู้พวก Boers ถึง 217 วัน B.-P. เป็นวีระบุรุษ 31 ก . ค . – 9 ส . ค . 1907 นำเด็ก 20 คน พักแรมที่ Brown Sea Island ในอ่าว Poole เมือง Dorset กลับจาก Brown Sea Island เขียน Scouting For Boys ( การลูกเสือสำหรับเด็กชาย ) กิจการลูกเสือขยายไป - Chile เป็นประเทศแรกที่รับเอากิจการลูกเสือไปตั้งขึ้น ใน ค . ศ . 1909 - ปี ค . ศ . 1910 อเมริกา
  • 10. - Mr.William D.Boyce - ปี 1911 ไทย Crystal Palace - 1919 ลูกเสือชุมนุมกันเป็นครั้งแรก - 1916 ตั้งลูกเสือสำรอง Cub Scouts - 1918 ตั้งกองลูกเสือวิสามัญ Rover Scouts กิจการเนตรนารี Girl Guid (1916) - 1920 ชุมนุมครั้งแรกที่ Olympic มีค่ายอยู่ที่ Richmond B.-P. ประมุขลูกเสือโลก “ Chief Scout of the World ” ตั้งสำนักงาน International Bureau B.-P. ถึงอนิจกรรมที่ประเทศ Kenya 1941 ในทวีปแอฟริกา หลุมศพอยู่ที่เมืองไนโรบี
  • 11. Scout = สอดแนม S = sincerity = จริงใจ C = Courtesy = อ่อนน้อม เอื้อเฟื้อ O = Obedience = เชื่อฟัง U = Unity = สามัคคี T = Thrifty = ประหยัด = Train = ฝึก , อบรม
  • 12. สมาชิก ๑๕๑ ประเทศ ลูกเสือ ๓๐ ล้านคน สมัชชาลูกเสือโลก ประชุมทุก ๆ ๓ ปี กรรมการลูกเสือโลก มี ๑๒ คน สำนักงานลูกเสือโลก ( เจนีวา – สวิสฯ ) อัฟริกา ไนโรบี - เคนยา อาหรับ ไคโร - อียิปต์ เอเชียแปซิฟิค มนิลา - ฟิลิปปินส์ ยุโรป บรัสเซล - เบลเยี่ยม อินเตอรอเมริกา ซานดิเอโก - ชิลี ยูเรเซีย ยูเครน
  • 13.
  • 14.
  • 15. คณะกรรมการลูกเสือโลก ประกอบด้วย ผู้ที่ได้รับการเลือกตั้ง ๑๒ คน อยู่ในตำแหน่งคราวละ ๖ ปี ทุก ๓ ปี เลือกใหม่ ๑ ใน ๒ ภารกิจที่สำคัญ ๑ . ประชุมอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ๒ . เลขาธิการฯ เป็นผู้บริหารสูงสุด ๓ . ส่งเสริม เยี่ยมเยียน แนะนำ ๔ . แต่งตั้งเลขาธิการ ๕ . ดูแลการดำเนินงาน การจัดหาทุน ๖ . อนุมัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๗ . แต่งตั้งกรรมการ อนุกรรมการเฉพาะเรื่อง