SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 40
ภาวะสมดุลเคมี จัดทำโดย นายชินกร  ดีดวงพันธ์ เสนอ คุณครู วีระพงษ์  บรรจง
คำนำ   ในปัจจุบันนี้การเรียนรู้เรื่องเคมีมีความสำคัญใน  ชีวิตประจำวันและใช้ในการศึกษา ค้นคว้าและยังใช้ในการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆ  อย่างเช่น  สบู่  แชมพู ฯลฯ   รายงานนี้ผู้จัดทำได้ทำขึ้นมาเพื่อ เป็นสื่อในการเรียนการสอนอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งหวังว่า  ผู้อ่านคงจะเข้าใจเรื่องนี้เป็นอย่างมากเพราะเป็นเรื่องที่ใช้กันในชีวิตประจำวัน     ชินกร
สารบัญ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมดุลเคมี ,[object Object],ของเหลว ไอ ร้อนขึ้น เย็นลง
คุณสมบัติของสมดุลเคมี 1.  ต้องเกิดในระบบปิด 2.  เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ 3.  ที่ภาวะสมดุลอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเท่ากับ อัตราการเกิดปฏิกิริยาผันกลับ 4.  มีสารตั้งต้นเหลืออยู่ทุกสารในระบบ 5.  สมบัติของระบบคงที่
ปฏิกิริยาผันกลับได้ ,[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีที่ผันกลับได้ ชมพู น้ำเงิน น้ำตาล  ไม่มีสี เขียว  น้ำตาล น้ำตาลแดง ไม่มีสี
น้ำตาล  ไม่มีสี แดงเข้ม
ข้อสังเกตเกี่ยวกับปฏิกิริยาผันกลับได้ 1.  เป็นปฏิกิริยาที่สารผลผลิตจากปฏิกิรยาทำปฏิกิร ิ ยากัน ได้ผลผลิตที่เป็นสารผลิตภัณฑ์ 2.  ปฏิกิริยาไปข้างหน้า และปฏิกิริยาผันกลับเกิดขึ้นพร้อมกัน 3.  ถ้าเริ่มต้นจากปฏิกิริยาด้านใดให้ถือว่าปฏิกิริยานั้นเป็น ปฏิกิริยาไปข้างหน้า 4.  เขียนลูกศรคู่  (  )  ในสมการ เพื่อแสดงว่าปฏิกิริยา ผันกลับได้
5.  พบในปฏิกิร ิ ยาการสลายตัว ปฏิกิริยารวมตัว และปฏิกิริยา แทนที่ 6.  ปฏิกิริยาผันกลับเกิดขึ้นได้หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับภาวะของ ปฏิกิริยา เช่น อุณหภูมิ ความดัน สภาพละลายได้ และค่าคงที่ สมดุลของปฏิกิริยา 7.  ปฏิกิริยาจะผันกลับได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับค่าคงที่ สมดุลของปฏิกิริยานั้น
ภาวะสมดุล มีลักษณะดังนี้ 1.  ภาวะสมดุลจะเกิดขึ้นได้เมื่อความเข้มข้นของตัวทำปฏิกิรยา และความเข้มข้นของสารผลผลิตในปฏิกิริยาไม่มีการเปลี่ยน แปลงใด ๆ  2.  ภาวะสมดุลจะเกิดขึ้นได้ เมื่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า เท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิรยาผันกลับ
3.  สารทุกชนิดที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยายังคงอยู่ในระบบ 4.  ภาวะสมดุลจะเกิดขึ้นในระบบปิดเท่านั้น เช่น
ค่าคงที่สมดุล 1.  ที่ภาวะสมดุลเคมีใด ๆ ก็ตามที่อุณหภูมิคงที่ “  ผลคูณความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ยกกำลัง ด้วยสัมประสิทธิ์แสดงจำนวนโมลหารด้วยผลคูณ ความเข้มข้นของสารตั้งต้น ยกกำลังด้วย สัมประสิทธิ์แสดงจำนวนโมลมีค่าเท่ากับ  ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานั้น ๆ ”
จากสมการ เมื่อกำหนด  [  ]  แทนความเข้มข้นของสาร ,  K  คือค่าคงที่สมดุลจะได้ว่า
ตัวอย่าง การแสดงความหมายค่าคงที่สมดุล ก . * ข . ค . * *
พิจารณาปฏิกิริยาในสมการ สมการ เมื่อของแข็งมีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นน้อยมาก สมการ เมื่อ  มีค่าคงที่ไม่ต้องนำมาคิด
ความสัมพันธ์ของค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี 1)  ค่าคงที่ของสมดุลที่ได้จากปฏิกิริยาย่อยรวมกัน เท่ากับผลคูณของค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาย่อยนั้น
2)  ค่าคงที่ของสมดุลที่ได้จากปฏิกิริยาย่อยลบกัน เท่ากับผลหารของค่าคงที่สมดุลปฏิกิริยาย่อยนั้น ๆ
3)  ถ้าสมการค่าคงที่ของสมดุลใหม่ จะเป็นส่วน กลับของค่าคงที่สมดุลเดิม
4)  ถ้าคูณสมการเดิมด้วยตัวเลขใด ๆ ค่าคงที่ของสมการใหม่ จะเท่ากับค่าคงที่เดิมยกกำลังด้วยตัวเลขนั้น
ตัวอย่างโจทย์  หาความสัมพันธ์ของค่าคงที่สมดุล 1) -----  1 -----  2 -----  3 นำสมการ  1  +  2   จะได้สมการ  3
-----  1 -----  2 -----  3 จากสมการ  1   กลับสมการแล้วคูณ  3 -----  4
จากสมการ  2  คูณ  2 -----  5 นำสมการ  4 + 5  จะได้สมการ  3 ดังนั้น
-----  1 -----  2 -----  3 จากสูตรสมการ  1  คูณ  2 -----  4
จากสมการ  2  กลับสมการ -----  5 นำสมการ  4 + 5  จะได้สมการ  3 ดังนั้น
ข้อสังเกตเกี่ยวกับค่าคงที่ของสมดุล  ( K) 1.  ค่า  K  จะบอกถึงปฏิกิริยาไปข้างหน้ามากเท่าใด 2.  ค่า  K  จะบอกปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น มากน้อยเพียงใด 3.  ค่า  K  ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิเท่านั้น ความเข้มข้นและ ความดันไม่มีผล แต่จะมากขึ้นหรือน้อยลงขึ้นกับ ชนิดของปฏิกิริยา 4.  ค่า  K  อาจมีหน่วยหรือไม่มีหน่วยก็ได้ ขึ้นอยู่กับ สมการเคมี
5.  ค่า  K  มิได้เกี่ยวข้องกับอัตราเร็วในการเกิด ปฏิกิริยา กล่าวคือ ค่า  K  มาก  Rate  ของปฏิกิริยา อาจจะเร็วหรือช้าก็ได้ 6.  ค่า  K  อาจมีค่ามากกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ หนึ่งก็ได้ ขึ้นอยู่กับปฏิกิริยานั้น ข้อสังเกตเกี่ยวกับค่าคงที่ของสมดุล  ( K)
ปฏิกิริยา  เวลา
เวลา เวลา A B B A
การคำนวนเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล มีหลักการดังนี้ 1.  เขียนสมการของปฏิกิริยาให้ดุล 2.  เขียนสมการแสดงค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา 3.  หาความเข้มข้นของสารทั้งหมดที่สมดุล 4.  แทนค่าความเข้มข้นที่ได้ลงไปขั้นที่  2  แล้ว คำนวณผลลัพธ์
ตัวอย่างโจทย์การหาค่าคงที่สมดุล ตัวอย่างที่  1   จากปฏิกิริยาดังแสดงในสมการต่อไปนี้ ที่ภาวะสมดุลภายในภาชนะขนาด  2  dm 3  มี  A  4 mol B 4 mol C 2 mol  และ  D 6 mol  จงคำนวณค่าคงที่สมดุล วิธีทำ
ดังนั้นค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้  = 2.25 dm 3 /mol
ตัวอย่างที่ 2   อุณหภูมิหนึ่งก๊าซ  HI 1  โมลต่อลิตร สลายตัว  2 HI  H 2 (g) + I 2 (g)  จงคำนวณหาค่า คงที่สมดุล วิธีทำ   ก๊าซ  HI 1   โมลต่อลิตร สลายตัว  20 % ก๊าซ  HI  สลายตัว  =
เดิม  -  -  - สมดุล  1-   0.2  0.1  0.1 ค่าคงที่สมดุล  =1.56 X 10 -2
ผลของการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นที่มีต่อภาวะสมดุล การเพิ่มหรือลดความเข้มข้นของสารหนึ่งสารใดในปฏิกิริยา เคมี เป็นเหตุให้ภาวะสมดุลเปลี่ยนไป  แต่ค่าคงที่สมดุลยังคงเดิม  เช่น ถ้าเพิ่มความเข้มข้นของ  H 2 , I 2  สมดุลจะเลื่อนไปทางขวา
ผลของการเปลี่ยนแปลงความดันที่มีต่อภาวะสมดุล ในระบบเคมีที่มีองค์ประกอบเป็นก๊าซ ถ้าความดันของระบบ เพิ่มขึ้น สมดุลจะเลื่อนไปทางฝ่ายที่มีจำนวนโมเลกุลน้อย เช่น  N 2  +  3H 2  2NH 3 เมื่อเพิ่มความดัน สมดุลจะเลื่อนไปทางขวา ** ในกรณีที่โมเลกุลเท่ากัน ความดันจะไม่มีผลต่อสมดุล **
ผลของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่มีต่อภาวะสมดุล 1.  ปฏิกิริยาดูดความร้อน ถ้าอุณหภูมิสูงขึ้น ค่า  K  จะมากขึ้น ถ้าอุณหภูมิลดลง ค่า  K  จะลดลง 2.  ปฏิกิริยาคายความร้อน ถ้าอุณหภูมิสูงขึ้น  ค่า  K  จะลดลง ถ้าอุณหภูมิลดลง  ค่า  K  จะเพิ่มขึ้น
หลักของเลอชาเตอลิเอ “ เมื่อระบบที่อยู่ในภาวะสมดุล ถูกรบกวนโดยการ เปลี่ยนแปลง ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุล ระบบจะเปลี่ยน แปลงไปในทิศทางที่ลดผลของการรบกวนนั้น เพื่อให้ ระบบกลับคืนสู่ภาวะสมดุลอีกครั้ง” เช่น
การใช้หลักของเลอชาเตอลิเอ ในอุตสาหกรรม การผลิตก๊าซแอมโมเนีย   ( กระบวนการฮาเบอร์ ) -  อุณหภูมิไม่สูงเกินไปเพียงพอให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นอย่าง รวดเร็ว และปฏิกิริยาการสบายตัว  NH 3   เกิดขึ้นได้น้อย -  ให้มีความเข้มข้นของก๊าซ  N 2   สูง -  ปฏิกิริยาจะต้องดำเนินไปภายใต้ความดันสูง
[object Object],[object Object]

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2Khwan Jomkhwan
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลKrujake
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีoraneehussem
 
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีJirapakorn Buapunna
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57Pipat Chooto
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์neena988
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 

Was ist angesagt? (19)

เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
2 the mole
2 the  mole2 the  mole
2 the mole
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมล
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมี
 
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reactionอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
 
Mole
MoleMole
Mole
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
 
Rate
RateRate
Rate
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 

Andere mochten auch

Andere mochten auch (6)

Cómics y dibujos 2010-2
Cómics y dibujos 2010-2Cómics y dibujos 2010-2
Cómics y dibujos 2010-2
 
Four things you gotta know about UX Research
Four things you gotta know about UX ResearchFour things you gotta know about UX Research
Four things you gotta know about UX Research
 
Peces
PecesPeces
Peces
 
Shami profile
Shami profileShami profile
Shami profile
 
Mask Wearers
Mask WearersMask Wearers
Mask Wearers
 
Sterile Power Point Training Presentation
Sterile Power Point Training PresentationSterile Power Point Training Presentation
Sterile Power Point Training Presentation
 

Ähnlich wie สมดุลเคมี

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีkamonmart
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีkamonmart
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีkamonmart
 
สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์Nnear .
 
รายงานเรียน
รายงานเรียนรายงานเรียน
รายงานเรียนtippawan61
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
สมดุล
สมดุลสมดุล
สมดุลMuk52
 
สุกัญญา
สุกัญญาสุกัญญา
สุกัญญาsukanya6679
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Nanmoer Tunteng
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 

Ähnlich wie สมดุลเคมี (20)

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์
 
รายงานเรียน
รายงานเรียนรายงานเรียน
รายงานเรียน
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุล
สมดุลสมดุล
สมดุล
 
Rate
RateRate
Rate
 
สุกัญญา
สุกัญญาสุกัญญา
สุกัญญา
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
Equilibrium mahidol
Equilibrium mahidolEquilibrium mahidol
Equilibrium mahidol
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
Bk
BkBk
Bk
 

สมดุลเคมี