SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 14
บทสวดมนต์ แ ปล (ฉบั บ วั ด ท่ า ซุ ง )
คำ า ขอขมาพระรั ต นตรั ย
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต ฯ
(ถ้าหลายคนว่า.....ขะมะตุ โน ภันเต, ฯลฯ.... ขะมะตุ โน ภันเต , อุกาสะ ขะมามะ ภันเต ฯ )
หากข้าพระพุทธเจ้า ได้เคยประมาทพลาดพลั้งล่วงเกินต่อพระรัตนตรัย อันมีพระพุทธเจ้าทุก ๆ
พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม และพระอริยสงฆ์ทงหลาย ในชาติก่อนก็ดี ชาตินี้
                                                              ั้
ก็ดี ด้วยทางกายหรือวาจาก็ดี และด้วยเจตนาหรือไม่มีเจตนาก็ดี รู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี ขอองค์สมเด็จ-
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์ทงหลาย
                                                                                    ั้
และผู้มีพระคุณทุกท่าน ได้โปรดอดโทษให้แก่ข้าพระพุทธเจ้าตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ตราบเท่าเข้าสู่พระ
นิพพานด้วยเทอญ ฯ**********

                                  บทบวงสรวงและชุ ม นุ ม เทวดา
ปุริมัญจะ ทิสง ราชา ธะตะรัฏโฐ ปะสาสะติ
             ั
คันธัพพานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส ปุตตาปิ ตัสสะ
พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา อิทธิมันโต ชุติมันโต
วัณณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมานา อัฏฐังสุ ฯ
(ท้าวธตรฏฐ์ เป็นท้าวมหาราช เป็นผู้มยศ ผู้เป็นใหญ่แห่งคนธรรพ์ทั้งหลาย เป็นเทวราชา
                                   ี
ผู้ปกครองอยู่ดานทิศตะวันออกแม้เทวดาผู้เปรียบเหมือนบุตรของท่านเป็นอันมาก มีนามว่าอินทกะ
              ้
เหมือนกันหมด ล้วนแต่มีกำาลังมาก มีฤทธิ์มีอานุภาพมาก มีรัศมี มียศต่างก็มีความยินดี ได้มายืน
อยูแล้ว ฯ)
   ่
ทักขิณัญจะ ทิสง ราชา วิรุฬโห ตัปปะสาสะติ
              ั
กุมภัณฑานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส ปุตตาปิ ตัสสะ
พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา อิทธิมันโต ชุติมันโต
วัณณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมานา อัฏฐังสุ ฯ
(ท้าววิรุฬหก เป็นท้าวมหาราช เป็นผูมียศ ผู้เป็นใหญ่แห่งกุมภัณฑ์ทั้งหลาย เป็นเทวราชา
                                  ้
ผู้ปกครองอยู่ดานทิศใต้ แม้เทวดาผู้เปรียบเหมือนบุตรของท่านเป็นอันมาก มีนามว่าอินทกะเหมือน
              ้
กันหมด ล้วนแต่มีกำาลังมากมีฤทธิ์ มีอานุภาพมาก มีรัศมี มียศ ต่างก็มีความยินดีได้มายืนอยู่แล้ว ฯ)

/home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 1 จาก 14
ปัจฉิมัญจะ ทิสง ราชา วิรูปักโข ปะสาสะติ
              ั
นาคานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส ปุตตาปิ ตัสสะ
พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา อิทธิมันโต ชุติมันโต
วัณณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมานา อัฏฐังสุ ฯ
(ท้าววิรูปักษ์ เป็นท้าวมหาราช เป็นผู้มยศ ผู้เป็นใหญ่แห่งนาคทังหลาย เป็นเทวราชาผู้ปกครอง
                                      ี                      ้
อยู่ดานทิศตะวันตก แม้เทวดาผู้เปรียบเหมือนบุตรของท่านเป็นอันมาก มีนามว่าอินทกะเหมือนกันหมด
     ้
ล้วนแต่มีกำาลังมาก มีฤทธิ์ มีอานุภาพมาก มีรัศมี มียศ ต่างก็มีความยินดีได้มายืนอยูแล้ว ฯ)
                                                                                 ่
อุตตะรัญจะ ทิสง ราชา กุเวโร ตัปปะสาสะติ
              ั
ยักขานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส ปุตตาปิ ตัสสะ
พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา อิทธิมันโต ชุติมันโต
วัณณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมานา อัฏฐังสุ ฯ
(ท้าวกุเวร (ท้าวเวสสุวัณ) เป็นท้าวมหาราช เป็นผู้มียศ ผูเป็นใหญ่ แห่งยักษ์ทั้งหลาย เป็น
                                                       ้
เทวราชาผู้ปกครองอยู่ด้านทิศเหนือ แม้เทวดาผู้เปรียบเหมือนบุตรของท่านเป็นอันมาก มีนามว่า
อินทกะเหมือนกันหมด ล้วนแต่มีกำาลังมาก มีฤทธิ์ มีอานุภาพมาก มีรัศมี มียศ ต่างก็มีความยินดี
ได้มายืนอยู่แล้ว ฯ)
ปุริมะทิสัง ธะตะรัฏโฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
ปัจฉิเมนะ วิรูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสง
                                       ั
จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโรทิสา
ทัททัลละมานา อัฏฐังสุ ฯ
(ท้าวธตรฏฐ์ ผู้เป็นใหญ่ดานทิศตะวันออก ท้าววิรุฬหก ผูเป็นใหญ่ด้านทิศใต้ ท้าววิรูปักษ์
                        ้                           ้
ผู้เป็นใหญ่ด้านทิศตะวันตก ท้าวกุเวร (ท้าวเวสสุวัณ) ผู้เป็นใหญ่ด้านทิศเหนือ ทัง ๔ ท่านนี้เป็น
                                                                             ้
ท้าวมหาราช ได้มายืนอยู่ทำาทิศทัง ๔ ให้รุ่งเรืองสว่างไสวแล้ว ฯ)
                               ้
สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน
ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต
ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา
ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ,
(ขอเชิญเหล่าเทพเจ้า ซึ่งสถิตอยู่ในสวรรค์ ชั้นกามภพก็ดี ชั้นรูปภพก็ดี และภูมิเทวดาซึง
                                                                                   ่
สถิตอยู่ในวิมาน หรือบนยอดเขาและในหุบเขา ในอากาศ ในเกาะ ในแว่นแคว้น ในบ้าน บนต้นไม้
และในป่าชัฏ ในเรือน และในไร่นาก็ดี ตลอดถึง ยักษ์ คนธรรพ์ และนาค ซึ่งสถิตอยู่ในนำ้า บนบก
และที่อันไม่ราบเรียบก็ดี ซึงอยู่ในที่ใกล้เคียง จงมาประชุมพร้อมกันในที่นี้ ขอท่านสาธุชนทั้งหลาย
                           ่



/home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 2 จาก 14
จงตั้งใจฟังคำาของพระมุนีผู้ประเสริฐ ที่เรากล่าวอยู่น,)
                                                    ี้
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา
(ดูก่อนท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนี้เป็นกาลสำาหรับฟังธรรม ดูก่อนท่านผู้เจริญทังหลาย กาลนี้
                                                                            ้
เป็นกาลสำาหรับฟังธรรม ดูก่อนท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนี้เป็นกาลสำาหรับฟังธรรม ฯ)



ถวายพรพระ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
(ว่า ๓ จบ)
(ขอนอบน้อมต่อพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ผู้ไกลจากกิเลสเป็นผูตรัสรู้ชอบได้ด้วยพระองค์เอง ฯ)
                                                               ้
(๓ จบ)
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
(มีเสียงยกย่องสรรเสริญอย่างนี้ว่า พระผูมีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส ผู้ควร
                                       ้
แก่การกราบไหว้บูชา เป็นผูตรัสรู้ชอบได้ด้วยพระองค์เอง)
                         ้
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร
ปุริสะทัมมะสาระถิ
(เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติอันงาม เป็นผู้เสด็จไปสู่ที่ดี คือพระนิพพาน เป็น
ผู้รแจ้งโลก เป็นผูฝึกบุคคลที่ควรฝึกอย่างยอดเยียม ไม่มีผู้อื่นเทียบได้)
    ู้            ้                           ่
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ
(เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผูตื่นแล้ว เบิกบานแล้ว เป็นผู้สามารถจำาแนกธรรม
                                        ้
สอนหมู่สัตว์ได้ถูกต้องตามอัธยาศัย ฯ)
สวากขาโต ภะคะวตา ธัมโม
(พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสไว้ดีแล้ว)
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก
(เป็นธรรมที่บุคคลจะพึงเห็นเอง เป็นธรรมที่ไม่ขึ้นกับกาลเวลา สามารถปฏิบัตแล้วเห็นผลได้
                                                                       ิ
ทุกเมื่อ เป็นธรรมที่ควรจะร้องเรียกให้ผู้อื่นมาดูว่า "ขอท่านทั้งหลายจงมาดูธรรมนี้เถิด" เป็นธรรมที่
บุคคลควรน้อมเข้ามาใส่ใจ)
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ฯ
(เป็นธรรมที่ผู้รู้ทั้งหลาย ปฏิบติแล้วจะเห็นได้ รู้ได้เฉพาะตนเท่านั้น ฯ)
                               ั


/home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 3 จาก 14
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
(พระอริยสงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว)
                        ้
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
(พระอริยสงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว)
                        ้
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
(พระอริยสงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติถูกต้องแล้ว)
                        ้
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
(พระอริยสงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติชอบแล้ว)
                        ้
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
(คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับได้ ๘ บุคคล ท่านทั้งหลายเหล่านี้คือพระอริยสงฆ์ของพระผู้มีพระภาคเจ้า)
อาหุเนยโย
(เป็นผู้ควรแก่ของที่เขานำามาบูชา,)
ปาหุเนยโย
(เป็นผู้ควรแก่ของที่เขาเตรียมไว้ต้อนรับ, )
ทักขิเณยโย
(เป็นผู้ควรแก่ทานที่เขานำามาถวาย, )
อัญชะลีกะระณีโย
(เป็นผู้ควรแก่การกราบไหว้, )
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ
(เป็นเนื้อนาบุญของโลกอย่างยอดเยียม ไม่มีนาบุญอื่นเทียบได้ ฯ)
                                ่

อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อะภิปูชะยามิ
(ข้าพเจ้าขอบูชาอย่างยิ่งต่อพระพุทธเจ้า ด้วยเครื่องสักการะนี)
                                                           ้
อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อะภิปูชะยามิ
(ข้าพเจ้าขอบูชาอย่างยิ่งต่อพระธรรม ด้วยเครื่องสักการะนี)
                                                       ้
อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อะภิปูชะยามิ
(ข้าพเจ้าขอบูชาอย่างยิ่งต่อพระสงฆ์ ด้วยเครื่องสักการะนี้)

พุ ท ธชั ย มงคลคาถา
พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง


/home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 4 จาก 14
ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท,
(พระจอมมุนี ได้เอาชนะพระยามารผู้เนรมิตแขนมากตั้งพัน ถืออาวุธครบทุกมือ ขี่ชาง
                                                                          ้
ครีเมขละ มาพร้อมกับเหล่าเสนามารซึงโห่ร้องกึกก้อง ด้วยวิธีอธิษฐานถึงทานบารมี เป็นต้น,)
                                 ่
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
(ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ)
มาราติเรกะมะภิยชฌิตะสัพพะรัตติง
               ุ
โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท,
(อนึ่ง พระจอมมุนี ได้เอาชนะยักษ์ชื่อ อาฬวกะ ผูมีจิตหยาบกระด้าง ผูไม่มีความอดทน
                                              ้                  ้
มีความพิลึกน่ากลัวกว่าพระยามาร ซึงได้เข้ามาต่อสู้อย่างยิงยวดจนตลอดคืนยันรุ่ง ด้วยวิธีทรมานอันดี
                                 ่                      ่
คือขันติความอดทน,)
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
(ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ)
นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตง
                                ั
ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท,
(พระจอมมุนี ได้เอาชนะช้างตัวประเสริฐชื่อ นาฬาคิรี ที่เมายิ่งนัก และแสนจะดุราย ประดุจ
                                                                           ้
ไฟป่าและจักราวุธและสายฟ้า ด้วยวิธีรดลงด้วยนำ้าคือ ความมีพระทัยเมตตา, )
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
(ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ)
อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะ สุทารุณันตัง
ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท,
(พระจอมมุนี ทรงคิดจะแสดงฤทธิ์ปาฏิหารย์ จึงได้เอาชนะโจรชื่อ องคุลิ-มาล ผูแสนจะดุราย
                                                                        ้       ้
มีฝมือ ถือดาบวิ่งไล่พระองค์ไปสิ้นระยะทาง ๓ โยชน์, )
   ี
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
(ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ)
กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ



/home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 5 จาก 14
สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท,
(พระจอมมุนี ได้เอาชนะคำากล่าวใส่ร้ายของ นางจิญจมาณวิกา ซึงทำาอาการเหมือนดั่งมีครรภ์
                                                         ่
เพราะเอาท่อนไม้กลมผูกไว้ที่หน้าท้อง ด้วยวิธีทรงสมาธิอันงาม คือความกระทำาพระทัยให้ตงมั่นนิ่งเฉย
                                                                                  ั้
ในท่ามกลางหมู่ชน,)
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
(ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ)
สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท,
(พระจอมมุนีผู้รุ่งเรืองด้วยแสงสว่างคือปัญญา ได้เอาชนะ สัจจกะนิครนถ์ ผูมีความคิดมุ่งหมาย
                                                                      ้
ในอันจะละทิ้งความสัตย์ มีใจคิดจะยกถ้อยคำาของตนให้สูงประดุจยกธง และมีใจมืดมนยิ่งนัก ด้วยการ
แสดงเทศนาให้ถูกใจ,)
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
(ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ)
นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท,
(พระจอมมุนี ได้เอาชนะพญานาคราชชื่อ นันโทปนันทะ ผูมีความรู้ผิดมีฤทธิ์มาก ด้วยวิธี
                                                 ้
บอกอุบายให้พระโมคคัลลานเถระพุทธชิโนรส แสดงฤทธิ์เนรมิตกายเป็นนาคราช ไปทรมานพญานาค
ชื่อ นันโทปนันทะนั้น,)
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
(ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ)
ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท,
(พระจอมมุนี ได้เอาชนะพระพรหมผู้มีนามว่า ท้าวพกาพรหม ผูมีฤทธิ์ คิดว่าตนเป็นผู้รุ่งเรือง
                                                      ้
ด้วยคุณอันบริสุทธิ์ ผู้ถูกพญานาครัดมือไว้แน่น เพราะมีจตคิดถือเอาความเห็นผิด ด้วยวิธีวางยาคือทรง
                                                      ิ
แสดงเทศนาให้ถูกใจ,)
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
(ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ)



/home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 6 จาก 14
เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา
โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ
โมกขัง สุขง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญฯ
          ั
(บุคคลใดมีปญญา ไม่เกียจคร้าน สวดและระลึกถึงพระพุทธชัยมงคล ๘ คาถาเหล่านี้ทุก ๆ
           ั
วัน บุคคลนั้นจะพึงละความจัญไรอันตรายทังหลายทุกอย่างเสียได้ และเข้าถึงความหลุดพ้นคือ พระ
                                      ้
นิพพานอันบรมสุขแล ฯ)
                                               ชะยะปะริ ต ตั ง



มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง,
(พระพุทธเจ้าผู้เป็นที่พึ่งของสัตว์ ทรงประกอบแล้วด้วยพระมหากรุณา บำาเพ็ญบารมีทงหลาย
                                                                             ั้
ทั้งปวงให้เต็มเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย เป็นผู้ถึงความตรัสรู้ชอบอันสูงสุด,)
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ
(ด้วยการกล่าวคำาสัตย์จริงนี้ ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่านเถิด ฯ)
ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ,
(ขอท่านจงมีชัยชนะในมงคลพิธี เหมือนพระจอมมุนีทรงชนะมารที่โคนต้นโพธิ์ แล้วถึงความ
เป็นผู้เลิศในสรรพพุทธาภิเษก ทรงบันเทิงพระทัยอยู่บนบัลลังก์ที่มารไม่อาจจะผจญได้ เป็นจอมมหาปฐพี
ทรงเพิ่มพูนความดีแก่เหล่าประยูรญาติศากยวงศ์ฉะนั้น เทอญ,)
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง,
(เวลาทีบุคคลและสัตว์ประพฤติดีประพฤติชอบ ชือว่าฤกษ์ดี มงคลดี สว่างดี รุ่งแจ้งดี,)
       ่                                  ่
สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริส,
                                        ุ
(และขณะดี ครูยามดี ชื่อว่าบูชาดีแล้ว ในผู้ประพฤติอย่างประเสริฐทั้งหลาย,)
             ่
ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง,
(กายกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด วจีกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด, (๑))
ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา,
(มะโนกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด ความปรารถนาอันตั้งไว้เพื่อสิ่งอันเป็นมงคลสูงสุด,)


/home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 7 จาก 14
ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ
(บุคคลและสัตว์ทั้งหลาย ทำากรรมอันเป็นมงคลสูงสุด ย่อมได้ประโยชน์ทั้งหลายอันเป็นมงคล
สูงสุดแล ฯ)
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
(ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทังหลายทั้งปวงจงปกปักรักษาท่าน,)
                                                     ้
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
(ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ)
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
(ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทังหลายทั้งปวงจงปกปักรักษาท่าน,)
                                                     ้
สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
(ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ)
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
(ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทังหลายทั้งปวงจงปกปักรักษาท่าน,)
                                                     ้
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
(ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ)




/home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 8 จาก 14
บทสวดมนต์ 9 นาที คั ด มาเฉพาะ

๑. บทนมัสการพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ (กราบ ๑ ครั้ง)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมังนะมัสสามิ (กราบ ๑ ครั้ง)
สุปะฏิปปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ ๑ ครั้ง)
๒. บทบูชาพระพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ (พุทธคุณ)
สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิ ปัสสิโก
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติฯ (ธรรมคุณ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลี กะระณีโย
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกกัสสาติฯ (สังฆคุณ)
๓. บทหัวใจพาหุง
พา มา นา อุ กะ สะ นะ ทุ
๔. บทหัวใจชินบัญชร
ชะ จะ ตะ สะ สี สัง หะ โก ทะ กะ เก นิ กุ โส ปุ เถ เส เอ ชะ ระ ธะ ขะ อา ชิ วา อา วะ ชิ สะ อิ ตัง
๕. บทหัวใจพระไตรปิฎก
จิ เจ รุ นิ
๖. บทหัวใจอิติปิโส
อิสะวาสุ
๗. บทแผ่เมตตาตนเอง
อะหัง สุขิโต โหมิ (ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข) อะหัง นิททุกโข โหมิ (ขอให้ขาพเจ้าปราศจากความทุกข์)
                                                                      ้
อะหัง อะเวโร โหมิ (ขอให้ขาพเจ้าปราศจากเวร) อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ (ขอให้ขาพเจ้าปราศจาก
                         ้                                              ้
อุปสรรคอันตรายทั้งปวง)
สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ (ขอให้ข้าพเจ้าจงมีความสุขกายสุขใจ รักษากายวาจาใจให้พันจากความทุกข์ภัย
ทั้งปวงเถิด)
๘.บทแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์


/home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 9 จาก 14
สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ อัพยาปัชฌา โหนตุ อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ (กราบ ๓ ครัง)
                                                                                            ้

                       คำ า นมั ส การพระอรหั น ต์ ๘ ทิ ศ (พุ ท ธมั ง คลคาถา)

  นอกจากพระคาถาชินบัญชรอันลือชื่อของท่านแล้ว "พุทธมังคลคาถา" ถือเป็นอีกหนึ่งบทคาถาของ
ท่านสมเด็จพระพุฒาจารย์ ที่ถือว่ามีอิทธิฤทธิ์ดานลาภผลและมงคลทั้งปวง เพราะคำาว่าพุทธมังคลคาถานี้ คื
                                             ้
อการนมัสการบูชา "พระอรหันต์แปดทิศ" ซึ่งล้วนแต่เป็นพระมหาเถระที่สำาคัญทังสิ้น
                                                                       ้

  สัมพุทโธ ทิปะทัง เสฏโฐ นิสินโน เจวะ มัชฌิเม
  โกณฑัญโญ ปุพพะภาเค จะ อาคะเณยเย จะ กัสสะโป
  สารีปตโต จะ ทักขิเณ หะระติเย อุปาลี จะ
       ุ
  ปัจฉิเมปิ จะ อานันโท พายัพเพ จะ ควัมปะติ

  โมคคัลลาโน จะ อุตตะเร อิสาเณปิ จะ ราหุโล
  อิเม โข มังคลาพุทธา สัพเพ อิธะ ปะติฏฐิตา
  วันทิตา เต จะ อัมเหหิ สักกาเรหิ จะ ปูชิตา
  เอเตสัง อานุภาเวนะ สัพพะโสตถี ภะวันตุ โน

  อิจเจวะมัจจัน ตะนะมัสสะเนยยัง
  นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง
  ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง
  ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ



  ทิศบูรพา

  พระอรหันต์ประจำาทิศ ได้แก่ พระอัญญาโกณทัญญะ ซึงเป็นพระสงฆ์รูปแรกในพระพุทธศาสนา และ
                                                ่
เป็นพระสงฆ์ผู้สำาเร็จพระอรหันต์องค์แรก ถ้าท่านใดอยากเป็นผู้ชนะก่อนใคร โบราณถือว่าต้องบูชาพระจั
นทร์ก่อน เพื่อเสริมส่งให้มีเมตตามหานิยม ให้มีความสำาเร็จก่อนผู้ใด ตามคติของพระพุทธศาสนา จัดให้พ
ระพุทธรูปปางห้ามญาติ เป็นพระประจำาวันจันทร์ (พระพุทธรูปยืน

  ปางห้ามญาติ ยกพระหัตถ์ขวาแบอยู่ระดับหน้าอก พระหัตถ์ซายห้อยอยู่ข้างตัว หรือพระพุทธรูปยืนปาง
                                                      ้
ห้ามสมุทร ยกพระหัตถ์ทั้งสองแบอยู่ระดับอก) แล้วได้จดให้พระปริตบทยันทุน เป็นคาถาสวดสำาหรับวันจัน
                                                  ั



/home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 10 จาก 14
ทร์ โดยสวด 15 จบ เพื่อช่วยให้เกิดโชคลาภคุ้มภัยอันตรายได้ และจะมีความเจริญปราศจากโรคาพยาธิทั้ง
ปวง และยังจัดให้คาถาพระอิตปิโส 8 ทิศ บทกระทู้ 7 แบก สำาหรับสวดภาวนาประจำาวันจันทร์ คือ คาถา "
                          ิ
อิ ระ ชา คะ ตะ ระ สา "

  ทิศอาคเนย์

  พระอรหันต์ประจำาทิศได้แก่ พระมหากัสสป เป็นพระสาวกที่พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่าเป็นเลิศกว่าพระ
อื่น ถือธุดงควัตร เป็นพระสงฆ์ที่มีร่างกายเสมอเหมือนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าคือ มีรางกายใหญ่โ
                                                                                       ่
ตมาก พระองค์จึงได้ประทานผ้าสังฆาฎิให้กับพระมหากัสสป ถ้าท่านใดอยากได้ความเป็นใหญ่ มีผู้คนยอม
รับนับหน้าถือตาก็ควรบูชาพระอังคาร ซึงอยู่ประจำาทิศอาคเนย์
                                    ่

  ตามคติทางพระพุทธศาสนา จัดให้พระพุทธรูปปางไสยยาสน์ (นอน) เป็นพระประจำาวันอังคาร และพระ
ปริตบทขัด กรณียเมตตาสูตร เป็นคาถาสวดสำาหรับพระอังคาร โดยสวด 8 จบบูชา พระปางไสยาสน์ เพื่อช่
วยให้เกิดโชคลาภ และคุ้มภัยอันตรายได้ และจะมีความสุขสวัสดีตลอดกาลนาน และยังจัดให้คาถาพระอิติ
ปิโส 8 ทิศ บทเรียกฝนแสนห่า เป็นคาถาภาวนาประจำาพระอังคาร คือคาถา " ติ หัง จะ โต โร ถิ นัง "

  ทิศทักษิณ

  พระอรหันต์ประจำาทิศ ได้แก่ พระสารีบุตร ซึงเป็นเอตทัคคะ ผูเลิศทางปัญญา แม้นกำาเม็ดทราย 1 กำามือ
                                           ่               ้
ก็สามารถนับได้ ถ้าผู้ใดอยากมีปัญญาเฉลียวฉลาด มีวาจาอ่อนหวานไพเราะ บริสุทธิ์ ก็ให้บูชาพระพุธ ซึง
                                                                                              ่
ชุบมาจากคชสารตามคติทางพระพุทธศาสนา จัดให้ พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร เป็นพระประจำาวันพุธ (กลาง
วัน)

  และจัดให้สวดบทขัดพระปริตร บทสัพพาสี เป็นคาถาสวดประจำาสำาหรับวันพุธ โดยสวด 17 จบ เพื่อบูชา
พระปางอุ้มบาตร เพื่อช่วยให้เกิดโชคลาภคุ้มภัยอันตรายได้ และจะมีความสุขสวัสดียิ่งๆ ขึ้นไป และยังจัดใ
ห้คาถาพระอิติปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์เกลื่อนสมุทร เป็นคาถาประจำาพระพุธด้วย คือ " ปิ สัม ระ โล ปุ สัต
พุท "

  ทิศหรดี

  พระอรหันต์ประจำาทิศ คือ พระอุบาลี ซึงเป็นเอตทัคคะในด้านการทรงพระวินัย เปรียบอยู่ในกฏระเบียบ
                                      ่
ซึ่งถ้าผู้ใดต้องการให้บุตรหลานอยูในระเบียบวินัยไม่หลงมัวเมาในอบายมุข ก็ควรบูชาพระเสาร์ตามคติขอ
                                 ่
งพระพุทธศาสนา จัดให้พระพุทธรูปนั่ง ปางนาคปรก


/home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 11 จาก 14
และจัดคาถา ยะโตหัง เป็นคาถาบทสวดสำาหรับพระเสาร์ โดยสวด 10 จบ ตามกำาลังวัน บูชาพระ
นาคปรกเพื่อจะได้ช่วยคุ้มกันอันตรายต่างๆ ช่วยให้เกิดโชคลาภ จะมีความสุขความเจริญ และเกิดความสวั
สดี มีมงคลตลอดกาลนานและยังให้บทสวดพระคาถาอิติปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์คลายจักร เป็นคาถาประ
จำาพระเสาร์อีกด้วยคือ " โส มา ณะ กะ ริ ถา โธ "

  ทิศปัจจิม

  พระอรหันต์ประจำาทิศ คือ พระอานนท์ ซึ่งเป็นพุทธอุปัฐาก เลขาส่วนตัวของพระพุทธเจ้า ดูแลทุกอย่าง
ตังแต่ก่อนตื่นนอนและหลังจำาวัด แม้ว่าพระพุทธองค์ไปแสดงธรรมเทศนาที่ใด ถ้าพระอานนท์ไม่ได้ไป จะต้
  ้
องกลับมาแสดงธรรมให้พระอานนท์ฟังโดยเฉพาะอีกครั้ง ผู้ใดอยากให้บุตรหลาน ฉลาด รอบรู้ หูตากว้างไ
กลก็ควรบูชา พระพฤหัส พระพฤหัสชุบมาจากฤาษี 19 ตน ซึงมีความฉลาด หลักแหลม ปัญญา ดี รอบรู้
                                                  ่

  ตามคติของพระพุทธศาสนา จัดให้พระพุทธรูปปางสมาธิ เป็นพระพุทธรูปประจำาวันพฤหัส และจัดให้
สวดคาถา บทขัดพระปริตบทปุเรนตัมโพ โดยสวด 19 จบ ตามกำาลังวันบูชาพระปางสมาธิ เพื่อจะช่วยคุ้มอั
นตรายต่างๆ และช่วยให้เกิดโชคลาภด้วย มีความสุขความเจริญรุงเรืองยิงๆ ขึ้นไป และยังให้พระสวดพระ
                                                        ่       ่
คาถาอิติปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์ขว้างจักรตรึงไตรภพ เป็นคาถาประจำาวันพฤหัสบดีด้วยคือ " ภะ สัม มัม วิ
สะ เท ภะ "

  ทิศพายัพ

  พระอรหันต์ประจำาทิศ คือ พระควัมปติ หรือ พระสิวลี ซึ่งเป็นเอตทัคคะเลิศกว่าพระภิกษุทั้งหลายในเรื่อง
โชคลาภ ซึ่งตรงกับนพเคราะห์คือ พระราหูซงเป็นเทพเจ้าแห่งขุมทรัพย์ทั้งหลายทั้งปวง มีอำานาจบารมีเป็น
                                      ึ่
ที่เกรงกลัว ผูใดอยากให้บุตรหลานมีโชคลาภ บารมีต้องบูชา พระราหู ให้คอยปกปักรักษา
              ้

  ตามคติทางพระพุทธศาสนา ได้จัดให้พระพุทธรูป ปางป่าเลไลยก์ เป็นพระปางประจำาราหู และกำาหนด
บทสวด บทกินนุ สัน ตะ ระมาโน วะ เป็นบทสวดประจำาวันพุธกลางคืน ควรสวด 12 จบ ตามกำาลังวัน เพื่อบู
ชาพระปางป่าเลไลยก์ เพื่อคุ้มภัยให้สิ่งร้ายกลายเป็นดีและจะมีความสุขสวัสดี และได้จัดพระคาถาอิติปิโส
8 ทิศ บทนารายณ์พลิกแผ่นดินเป็นคาถาประจำาราหู คือ " คะ พุท ปัน ทู ทัม วะ คะ "

  ทิศอุดร

  ตรงกับพระอรหันต์ประจำาทิศ คือ พระโมคคัลลานะ ซึ่งเป็นเอตทัคคะในเรื่องอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ ตรงกับ



/home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 12 จาก 14
นพเคราะห์คือพระศุกร์ ผู้ใดอยากให้มีกิจการการค้ารุงเรือง ซื้อง่ายขายคล่อง พูดเป็นเงินเป็นทอง มีความ
                                                 ่
สุขสบายในครอบครัวก็ควรบูชาพระศุกร์ตามคติทางพระพุทธศาสนา ได้จัดให้พระพุทธรูปยืน ปางทรงรำา
พึง พระหัตถ์ทั้งสองวางทับกันที่หน้าอก เป็นพระประจำา วันศุกร์

  และได้จดคาถาบท ขัดธชัคคสูตร เป็นบทสวดประจำาพระศุกร์ โดยสวด 21 จบ ตามกำาลังวันเพื่อช่วยให้
         ั
เกิดโชคลาภ คุมกันภัยอันตรายใดๆ จะมีความสุขสวัสดีตลอดกาลนาน และยังได้จัดพระคาถาอิติปิโส 8 ทิศ
             ้
บทตวาดฟ้าป่าหิมพานต์เป็นคาถาประจำาวันศุกร์ คือ " วา โธ โน อะ มะ มะ วา "

  ทิศอีสาน

  ตรงกับพระอรหันต์ คือ พระราหุล ซึงเป็นเอตทัคคะในเรื่องของการศึกษา ใคร่ต่อการศึกษาเรียนรู้ ตรง
                                  ่
กับนพเคราะห์คือพระอาทิตย์ ซึงชุบมาจากราชสีห์ผู้ใดอยากให้บุตรหลานมีปัญญาเฉียบแหลม สติปัญญาเ
                            ่
ป็นเลิศ มีฤทธิ์ มียศ ชื่อเสียงก็ควรจะบูชา พระอาทิตย์

  และจัดให้พระปริตบท โมรปริต เป็นคาถาสวดสำาหรับพระอาทิตย์ ควรสวด 6 จบ ตามกำาลังวัน เพื่อให้
เกิดโชคลาภ คุมภัยอันตราย จะมีความเจริญรุงเรืองและความสุขสวัสดีตลอดกาล และยังได้จัดเอาคาถาพร
             ้                          ่
ะอิติปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์แปลงรูปเป็นคาถาภาวนาสำาหรับพระอาทิตย์ด้วยคือ " อะ วิ สุ นุต สา นุ ติ "

  ตรงกลาง

  มีพระเกตุอยู่ทามกลางจักรวาล ตรงกับ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึงเป็นประธานของ พระอรหันต์ทง 8
                ่                                              ่                         ั้
ทิศ เมื่อบูชาพระเกตุเท่ากับเสริมเดช เดชานุภาพผู้ที่ไม่ทราบวันเดือนปีเกิดของตนเองควรบูชา พระเกตุ ซึง
                                                                                                  ่
มีกำาลังดี และจัดให้พระพุทธรูป ปางมารวิชย เป็นปางของพระเกตุ
                                        ั

  และให้สวดคาถาบท พุทโธ จะ มัชฌิโม เสฏิโฐ เป็นคาถาประจำาพระเกตุโดยสวด 9 จบ เพื่อคุ้มกัน
เสนียดจัญไร ให้แคล้วคลาดปลอดภัยและได้จัดพระคาถานวหรคุณเป็นคาถาภาวนาประจำาพระเกตุ คือ " อ
ะ ระ หัง สุ คะ โต ภะ คะ วา "

  ซึ่งจะเห็นได้ว่าคาถาบูชาพระประจำาต่างๆ นั้น ก็ถอดออกมาจากบทสวดพระพุทธคุณ 56 นั่นเอง กล่าว
คือ

  อิ ติ ปิ โส ภะ คะ วา อะ
  ระ หัง สัม มา สัม พุท โธ วิ



/home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 13 จาก 14
ชา จะ ระ ณะ สัม ปัน โน สุ
  คะ โต โล กะ วิ ทู อะ นุต
  ตะ โร ปุ ริ สะ ทัม มะ สา
  ระ ถิ สัต ถา เท วะ มะ นุ
  สา นัง พุท โธ ภะ คะ วา ติ
  ๑๒๓๔๕๖๗๘



  แถวตั้งที่ 1 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทกระทู้ 7 แบก เป็นคาถาสวดพระจันทร์ 15 จบ
                        ิ
  แถวตั้งที่ 2 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทเรียกฝนแสนห่าเป็นคาถาสวดพระอังคาร 8 จบ
                        ิ
  แถวตั้งที่ 3 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์เกลื่อนสมุทรเป็นคาถาพระพุธ 17 จบ
                        ิ
  แถวตั้งที่ 4 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์คลายจักรเป็นคาถาสวดพระเสาร์ 10 จบ
                        ิ
  แถวตั้งที่ 5 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์ขว้างจักรตรึงไตรภพเป็นคาถาสวดพระพฤหัส 19 จบ
                        ิ
  แถวตั้งที่ 6 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์พลิกแผ่นดิน เป็นคาถาสวดพระราหู 12 จบ
                        ิ
  แถวตั้งที่ 7 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทตวาดฟ้าป่าหิมพานต์ เป็นคาถาสวดพระศุกร์ 21 จบ
                        ิ
  แถวตั้งที่ 8 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์แปลงรูป เป็นคาถาสวดพระอาทิตย์ 6 จบ
                        ิ

                                     คาถายั น ต์ เ กราะเพชร
อิระชาคะตะระสา
ติหังจะโตโรถินัง
ปิสัมระโลปุสัตพุท
โสมาณะกะริถาโธ
ภะสัมสัมวิสาเทภะ
คะพุทปันทูทัมวะคะ
วาโธโนอะมะมะวา
อะวิชสุนุตสานุติ




/home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 14 จาก 14

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองniralai
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยSarod Paichayonrittha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลChavalit Deeudomwongsa
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์niralai
 

Was ist angesagt? (20)

สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdfสรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
มนต์พิธี
มนต์พิธีมนต์พิธี
มนต์พิธี
 
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdfสรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 

Andere mochten auch

บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวันบทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวันPanda Jing
 
Ebooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีEbooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีRose Banioki
 
ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์
ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์
ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์sornblog2u
 
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนบทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนniralai
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรniralai
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนniralai
 

Andere mochten auch (7)

บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวันบทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวัน
 
Ebooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีEbooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธี
 
ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์
ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์
ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์
 
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนบทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
 

Ähnlich wie บทสวดมนต์

บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติPojjanee Paniangvait
 
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdftext บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdfPUise Thitalampoon
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80Rose Banioki
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Tongsamut vorasan
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Wataustin Austin
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Tongsamut vorasan
 
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิบทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิnuom131219
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
บาลี 37 80
บาลี 37 80บาลี 37 80
บาลี 37 80Rose Banioki
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Wataustin Austin
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘Wataustin Austin
 
บาลี 38 80
บาลี 38 80บาลี 38 80
บาลี 38 80Rose Banioki
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘Tongsamut vorasan
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘Tongsamut vorasan
 
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2Tongsamut vorasan
 
1 ปกรายงาน
1 ปกรายงาน1 ปกรายงาน
1 ปกรายงานvanchai899
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลีkannika2264
 
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้าPanuwat Beforetwo
 

Ähnlich wie บทสวดมนต์ (20)

บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
 
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdftext บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิบทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
บาลี 37 80
บาลี 37 80บาลี 37 80
บาลี 37 80
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
 
บาลี 38 80
บาลี 38 80บาลี 38 80
บาลี 38 80
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
 
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
 
1 ปกรายงาน
1 ปกรายงาน1 ปกรายงาน
1 ปกรายงาน
 
คู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัทคู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัท
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลี
 
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
 

บทสวดมนต์

  • 1. บทสวดมนต์ แ ปล (ฉบั บ วั ด ท่ า ซุ ง ) คำ า ขอขมาพระรั ต นตรั ย นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต ฯ (ถ้าหลายคนว่า.....ขะมะตุ โน ภันเต, ฯลฯ.... ขะมะตุ โน ภันเต , อุกาสะ ขะมามะ ภันเต ฯ ) หากข้าพระพุทธเจ้า ได้เคยประมาทพลาดพลั้งล่วงเกินต่อพระรัตนตรัย อันมีพระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม และพระอริยสงฆ์ทงหลาย ในชาติก่อนก็ดี ชาตินี้ ั้ ก็ดี ด้วยทางกายหรือวาจาก็ดี และด้วยเจตนาหรือไม่มีเจตนาก็ดี รู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี ขอองค์สมเด็จ- พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์ทงหลาย ั้ และผู้มีพระคุณทุกท่าน ได้โปรดอดโทษให้แก่ข้าพระพุทธเจ้าตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ตราบเท่าเข้าสู่พระ นิพพานด้วยเทอญ ฯ********** บทบวงสรวงและชุ ม นุ ม เทวดา ปุริมัญจะ ทิสง ราชา ธะตะรัฏโฐ ปะสาสะติ ั คันธัพพานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมานา อัฏฐังสุ ฯ (ท้าวธตรฏฐ์ เป็นท้าวมหาราช เป็นผู้มยศ ผู้เป็นใหญ่แห่งคนธรรพ์ทั้งหลาย เป็นเทวราชา ี ผู้ปกครองอยู่ดานทิศตะวันออกแม้เทวดาผู้เปรียบเหมือนบุตรของท่านเป็นอันมาก มีนามว่าอินทกะ ้ เหมือนกันหมด ล้วนแต่มีกำาลังมาก มีฤทธิ์มีอานุภาพมาก มีรัศมี มียศต่างก็มีความยินดี ได้มายืน อยูแล้ว ฯ) ่ ทักขิณัญจะ ทิสง ราชา วิรุฬโห ตัปปะสาสะติ ั กุมภัณฑานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมานา อัฏฐังสุ ฯ (ท้าววิรุฬหก เป็นท้าวมหาราช เป็นผูมียศ ผู้เป็นใหญ่แห่งกุมภัณฑ์ทั้งหลาย เป็นเทวราชา ้ ผู้ปกครองอยู่ดานทิศใต้ แม้เทวดาผู้เปรียบเหมือนบุตรของท่านเป็นอันมาก มีนามว่าอินทกะเหมือน ้ กันหมด ล้วนแต่มีกำาลังมากมีฤทธิ์ มีอานุภาพมาก มีรัศมี มียศ ต่างก็มีความยินดีได้มายืนอยู่แล้ว ฯ) /home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 1 จาก 14
  • 2. ปัจฉิมัญจะ ทิสง ราชา วิรูปักโข ปะสาสะติ ั นาคานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมานา อัฏฐังสุ ฯ (ท้าววิรูปักษ์ เป็นท้าวมหาราช เป็นผู้มยศ ผู้เป็นใหญ่แห่งนาคทังหลาย เป็นเทวราชาผู้ปกครอง ี ้ อยู่ดานทิศตะวันตก แม้เทวดาผู้เปรียบเหมือนบุตรของท่านเป็นอันมาก มีนามว่าอินทกะเหมือนกันหมด ้ ล้วนแต่มีกำาลังมาก มีฤทธิ์ มีอานุภาพมาก มีรัศมี มียศ ต่างก็มีความยินดีได้มายืนอยูแล้ว ฯ) ่ อุตตะรัญจะ ทิสง ราชา กุเวโร ตัปปะสาสะติ ั ยักขานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมานา อัฏฐังสุ ฯ (ท้าวกุเวร (ท้าวเวสสุวัณ) เป็นท้าวมหาราช เป็นผู้มียศ ผูเป็นใหญ่ แห่งยักษ์ทั้งหลาย เป็น ้ เทวราชาผู้ปกครองอยู่ด้านทิศเหนือ แม้เทวดาผู้เปรียบเหมือนบุตรของท่านเป็นอันมาก มีนามว่า อินทกะเหมือนกันหมด ล้วนแต่มีกำาลังมาก มีฤทธิ์ มีอานุภาพมาก มีรัศมี มียศ ต่างก็มีความยินดี ได้มายืนอยู่แล้ว ฯ) ปุริมะทิสัง ธะตะรัฏโฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ วิรูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสง ั จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโรทิสา ทัททัลละมานา อัฏฐังสุ ฯ (ท้าวธตรฏฐ์ ผู้เป็นใหญ่ดานทิศตะวันออก ท้าววิรุฬหก ผูเป็นใหญ่ด้านทิศใต้ ท้าววิรูปักษ์ ้ ้ ผู้เป็นใหญ่ด้านทิศตะวันตก ท้าวกุเวร (ท้าวเวสสุวัณ) ผู้เป็นใหญ่ด้านทิศเหนือ ทัง ๔ ท่านนี้เป็น ้ ท้าวมหาราช ได้มายืนอยู่ทำาทิศทัง ๔ ให้รุ่งเรืองสว่างไสวแล้ว ฯ) ้ สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ, (ขอเชิญเหล่าเทพเจ้า ซึ่งสถิตอยู่ในสวรรค์ ชั้นกามภพก็ดี ชั้นรูปภพก็ดี และภูมิเทวดาซึง ่ สถิตอยู่ในวิมาน หรือบนยอดเขาและในหุบเขา ในอากาศ ในเกาะ ในแว่นแคว้น ในบ้าน บนต้นไม้ และในป่าชัฏ ในเรือน และในไร่นาก็ดี ตลอดถึง ยักษ์ คนธรรพ์ และนาค ซึ่งสถิตอยู่ในนำ้า บนบก และที่อันไม่ราบเรียบก็ดี ซึงอยู่ในที่ใกล้เคียง จงมาประชุมพร้อมกันในที่นี้ ขอท่านสาธุชนทั้งหลาย ่ /home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 2 จาก 14
  • 3. จงตั้งใจฟังคำาของพระมุนีผู้ประเสริฐ ที่เรากล่าวอยู่น,) ี้ ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา (ดูก่อนท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนี้เป็นกาลสำาหรับฟังธรรม ดูก่อนท่านผู้เจริญทังหลาย กาลนี้ ้ เป็นกาลสำาหรับฟังธรรม ดูก่อนท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนี้เป็นกาลสำาหรับฟังธรรม ฯ) ถวายพรพระ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (ว่า ๓ จบ) (ขอนอบน้อมต่อพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ผู้ไกลจากกิเลสเป็นผูตรัสรู้ชอบได้ด้วยพระองค์เอง ฯ) ้ (๓ จบ) อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ (มีเสียงยกย่องสรรเสริญอย่างนี้ว่า พระผูมีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส ผู้ควร ้ แก่การกราบไหว้บูชา เป็นผูตรัสรู้ชอบได้ด้วยพระองค์เอง) ้ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ (เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติอันงาม เป็นผู้เสด็จไปสู่ที่ดี คือพระนิพพาน เป็น ผู้รแจ้งโลก เป็นผูฝึกบุคคลที่ควรฝึกอย่างยอดเยียม ไม่มีผู้อื่นเทียบได้) ู้ ้ ่ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ (เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผูตื่นแล้ว เบิกบานแล้ว เป็นผู้สามารถจำาแนกธรรม ้ สอนหมู่สัตว์ได้ถูกต้องตามอัธยาศัย ฯ) สวากขาโต ภะคะวตา ธัมโม (พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสไว้ดีแล้ว) สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก (เป็นธรรมที่บุคคลจะพึงเห็นเอง เป็นธรรมที่ไม่ขึ้นกับกาลเวลา สามารถปฏิบัตแล้วเห็นผลได้ ิ ทุกเมื่อ เป็นธรรมที่ควรจะร้องเรียกให้ผู้อื่นมาดูว่า "ขอท่านทั้งหลายจงมาดูธรรมนี้เถิด" เป็นธรรมที่ บุคคลควรน้อมเข้ามาใส่ใจ) ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ฯ (เป็นธรรมที่ผู้รู้ทั้งหลาย ปฏิบติแล้วจะเห็นได้ รู้ได้เฉพาะตนเท่านั้น ฯ) ั /home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 3 จาก 14
  • 4. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ (พระอริยสงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว) ้ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ (พระอริยสงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว) ้ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ (พระอริยสงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติถูกต้องแล้ว) ้ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ (พระอริยสงฆ์สาวกของพระผูมีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติชอบแล้ว) ้ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ (คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับได้ ๘ บุคคล ท่านทั้งหลายเหล่านี้คือพระอริยสงฆ์ของพระผู้มีพระภาคเจ้า) อาหุเนยโย (เป็นผู้ควรแก่ของที่เขานำามาบูชา,) ปาหุเนยโย (เป็นผู้ควรแก่ของที่เขาเตรียมไว้ต้อนรับ, ) ทักขิเณยโย (เป็นผู้ควรแก่ทานที่เขานำามาถวาย, ) อัญชะลีกะระณีโย (เป็นผู้ควรแก่การกราบไหว้, ) อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ (เป็นเนื้อนาบุญของโลกอย่างยอดเยียม ไม่มีนาบุญอื่นเทียบได้ ฯ) ่ อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อะภิปูชะยามิ (ข้าพเจ้าขอบูชาอย่างยิ่งต่อพระพุทธเจ้า ด้วยเครื่องสักการะนี) ้ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อะภิปูชะยามิ (ข้าพเจ้าขอบูชาอย่างยิ่งต่อพระธรรม ด้วยเครื่องสักการะนี) ้ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อะภิปูชะยามิ (ข้าพเจ้าขอบูชาอย่างยิ่งต่อพระสงฆ์ ด้วยเครื่องสักการะนี้) พุ ท ธชั ย มงคลคาถา พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง /home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 4 จาก 14
  • 5. ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท, (พระจอมมุนี ได้เอาชนะพระยามารผู้เนรมิตแขนมากตั้งพัน ถืออาวุธครบทุกมือ ขี่ชาง ้ ครีเมขละ มาพร้อมกับเหล่าเสนามารซึงโห่ร้องกึกก้อง ด้วยวิธีอธิษฐานถึงทานบารมี เป็นต้น,) ่ ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ (ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ) มาราติเรกะมะภิยชฌิตะสัพพะรัตติง ุ โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท, (อนึ่ง พระจอมมุนี ได้เอาชนะยักษ์ชื่อ อาฬวกะ ผูมีจิตหยาบกระด้าง ผูไม่มีความอดทน ้ ้ มีความพิลึกน่ากลัวกว่าพระยามาร ซึงได้เข้ามาต่อสู้อย่างยิงยวดจนตลอดคืนยันรุ่ง ด้วยวิธีทรมานอันดี ่ ่ คือขันติความอดทน,) ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ (ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ) นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตง ั ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท, (พระจอมมุนี ได้เอาชนะช้างตัวประเสริฐชื่อ นาฬาคิรี ที่เมายิ่งนัก และแสนจะดุราย ประดุจ ้ ไฟป่าและจักราวุธและสายฟ้า ด้วยวิธีรดลงด้วยนำ้าคือ ความมีพระทัยเมตตา, ) ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ (ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ) อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะ สุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท, (พระจอมมุนี ทรงคิดจะแสดงฤทธิ์ปาฏิหารย์ จึงได้เอาชนะโจรชื่อ องคุลิ-มาล ผูแสนจะดุราย ้ ้ มีฝมือ ถือดาบวิ่งไล่พระองค์ไปสิ้นระยะทาง ๓ โยชน์, ) ี ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ (ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ) กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ /home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 5 จาก 14
  • 6. สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท, (พระจอมมุนี ได้เอาชนะคำากล่าวใส่ร้ายของ นางจิญจมาณวิกา ซึงทำาอาการเหมือนดั่งมีครรภ์ ่ เพราะเอาท่อนไม้กลมผูกไว้ที่หน้าท้อง ด้วยวิธีทรงสมาธิอันงาม คือความกระทำาพระทัยให้ตงมั่นนิ่งเฉย ั้ ในท่ามกลางหมู่ชน,) ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ (ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ) สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท, (พระจอมมุนีผู้รุ่งเรืองด้วยแสงสว่างคือปัญญา ได้เอาชนะ สัจจกะนิครนถ์ ผูมีความคิดมุ่งหมาย ้ ในอันจะละทิ้งความสัตย์ มีใจคิดจะยกถ้อยคำาของตนให้สูงประดุจยกธง และมีใจมืดมนยิ่งนัก ด้วยการ แสดงเทศนาให้ถูกใจ,) ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ (ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ) นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท, (พระจอมมุนี ได้เอาชนะพญานาคราชชื่อ นันโทปนันทะ ผูมีความรู้ผิดมีฤทธิ์มาก ด้วยวิธี ้ บอกอุบายให้พระโมคคัลลานเถระพุทธชิโนรส แสดงฤทธิ์เนรมิตกายเป็นนาคราช ไปทรมานพญานาค ชื่อ นันโทปนันทะนั้น,) ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ (ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ) ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท, (พระจอมมุนี ได้เอาชนะพระพรหมผู้มีนามว่า ท้าวพกาพรหม ผูมีฤทธิ์ คิดว่าตนเป็นผู้รุ่งเรือง ้ ด้วยคุณอันบริสุทธิ์ ผู้ถูกพญานาครัดมือไว้แน่น เพราะมีจตคิดถือเอาความเห็นผิด ด้วยวิธีวางยาคือทรง ิ แสดงเทศนาให้ถูกใจ,) ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ (ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ) /home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 6 จาก 14
  • 7. เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญฯ ั (บุคคลใดมีปญญา ไม่เกียจคร้าน สวดและระลึกถึงพระพุทธชัยมงคล ๘ คาถาเหล่านี้ทุก ๆ ั วัน บุคคลนั้นจะพึงละความจัญไรอันตรายทังหลายทุกอย่างเสียได้ และเข้าถึงความหลุดพ้นคือ พระ ้ นิพพานอันบรมสุขแล ฯ) ชะยะปะริ ต ตั ง มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง, (พระพุทธเจ้าผู้เป็นที่พึ่งของสัตว์ ทรงประกอบแล้วด้วยพระมหากรุณา บำาเพ็ญบารมีทงหลาย ั้ ทั้งปวงให้เต็มเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย เป็นผู้ถึงความตรัสรู้ชอบอันสูงสุด,) เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ (ด้วยการกล่าวคำาสัตย์จริงนี้ ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่านเถิด ฯ) ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ, (ขอท่านจงมีชัยชนะในมงคลพิธี เหมือนพระจอมมุนีทรงชนะมารที่โคนต้นโพธิ์ แล้วถึงความ เป็นผู้เลิศในสรรพพุทธาภิเษก ทรงบันเทิงพระทัยอยู่บนบัลลังก์ที่มารไม่อาจจะผจญได้ เป็นจอมมหาปฐพี ทรงเพิ่มพูนความดีแก่เหล่าประยูรญาติศากยวงศ์ฉะนั้น เทอญ,) สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง, (เวลาทีบุคคลและสัตว์ประพฤติดีประพฤติชอบ ชือว่าฤกษ์ดี มงคลดี สว่างดี รุ่งแจ้งดี,) ่ ่ สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริส, ุ (และขณะดี ครูยามดี ชื่อว่าบูชาดีแล้ว ในผู้ประพฤติอย่างประเสริฐทั้งหลาย,) ่ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง, (กายกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด วจีกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด, (๑)) ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา, (มะโนกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด ความปรารถนาอันตั้งไว้เพื่อสิ่งอันเป็นมงคลสูงสุด,) /home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 7 จาก 14
  • 8. ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ (บุคคลและสัตว์ทั้งหลาย ทำากรรมอันเป็นมงคลสูงสุด ย่อมได้ประโยชน์ทั้งหลายอันเป็นมงคล สูงสุดแล ฯ) ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา, (ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทังหลายทั้งปวงจงปกปักรักษาท่าน,) ้ สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ (ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ) ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา, (ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทังหลายทั้งปวงจงปกปักรักษาท่าน,) ้ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ (ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ) ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา, (ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทังหลายทั้งปวงจงปกปักรักษาท่าน,) ้ สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ (ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ) /home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 8 จาก 14
  • 9. บทสวดมนต์ 9 นาที คั ด มาเฉพาะ ๑. บทนมัสการพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ (กราบ ๑ ครั้ง) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมังนะมัสสามิ (กราบ ๑ ครั้ง) สุปะฏิปปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ ๑ ครั้ง) ๒. บทบูชาพระพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ (พุทธคุณ) สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิ ปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติฯ (ธรรมคุณ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลี กะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกกัสสาติฯ (สังฆคุณ) ๓. บทหัวใจพาหุง พา มา นา อุ กะ สะ นะ ทุ ๔. บทหัวใจชินบัญชร ชะ จะ ตะ สะ สี สัง หะ โก ทะ กะ เก นิ กุ โส ปุ เถ เส เอ ชะ ระ ธะ ขะ อา ชิ วา อา วะ ชิ สะ อิ ตัง ๕. บทหัวใจพระไตรปิฎก จิ เจ รุ นิ ๖. บทหัวใจอิติปิโส อิสะวาสุ ๗. บทแผ่เมตตาตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ (ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข) อะหัง นิททุกโข โหมิ (ขอให้ขาพเจ้าปราศจากความทุกข์) ้ อะหัง อะเวโร โหมิ (ขอให้ขาพเจ้าปราศจากเวร) อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ (ขอให้ขาพเจ้าปราศจาก ้ ้ อุปสรรคอันตรายทั้งปวง) สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ (ขอให้ข้าพเจ้าจงมีความสุขกายสุขใจ รักษากายวาจาใจให้พันจากความทุกข์ภัย ทั้งปวงเถิด) ๘.บทแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ /home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 9 จาก 14
  • 10. สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ อัพยาปัชฌา โหนตุ อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ (กราบ ๓ ครัง) ้ คำ า นมั ส การพระอรหั น ต์ ๘ ทิ ศ (พุ ท ธมั ง คลคาถา) นอกจากพระคาถาชินบัญชรอันลือชื่อของท่านแล้ว "พุทธมังคลคาถา" ถือเป็นอีกหนึ่งบทคาถาของ ท่านสมเด็จพระพุฒาจารย์ ที่ถือว่ามีอิทธิฤทธิ์ดานลาภผลและมงคลทั้งปวง เพราะคำาว่าพุทธมังคลคาถานี้ คื ้ อการนมัสการบูชา "พระอรหันต์แปดทิศ" ซึ่งล้วนแต่เป็นพระมหาเถระที่สำาคัญทังสิ้น ้ สัมพุทโธ ทิปะทัง เสฏโฐ นิสินโน เจวะ มัชฌิเม โกณฑัญโญ ปุพพะภาเค จะ อาคะเณยเย จะ กัสสะโป สารีปตโต จะ ทักขิเณ หะระติเย อุปาลี จะ ุ ปัจฉิเมปิ จะ อานันโท พายัพเพ จะ ควัมปะติ โมคคัลลาโน จะ อุตตะเร อิสาเณปิ จะ ราหุโล อิเม โข มังคลาพุทธา สัพเพ อิธะ ปะติฏฐิตา วันทิตา เต จะ อัมเหหิ สักกาเรหิ จะ ปูชิตา เอเตสัง อานุภาเวนะ สัพพะโสตถี ภะวันตุ โน อิจเจวะมัจจัน ตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ ทิศบูรพา พระอรหันต์ประจำาทิศ ได้แก่ พระอัญญาโกณทัญญะ ซึงเป็นพระสงฆ์รูปแรกในพระพุทธศาสนา และ ่ เป็นพระสงฆ์ผู้สำาเร็จพระอรหันต์องค์แรก ถ้าท่านใดอยากเป็นผู้ชนะก่อนใคร โบราณถือว่าต้องบูชาพระจั นทร์ก่อน เพื่อเสริมส่งให้มีเมตตามหานิยม ให้มีความสำาเร็จก่อนผู้ใด ตามคติของพระพุทธศาสนา จัดให้พ ระพุทธรูปปางห้ามญาติ เป็นพระประจำาวันจันทร์ (พระพุทธรูปยืน ปางห้ามญาติ ยกพระหัตถ์ขวาแบอยู่ระดับหน้าอก พระหัตถ์ซายห้อยอยู่ข้างตัว หรือพระพุทธรูปยืนปาง ้ ห้ามสมุทร ยกพระหัตถ์ทั้งสองแบอยู่ระดับอก) แล้วได้จดให้พระปริตบทยันทุน เป็นคาถาสวดสำาหรับวันจัน ั /home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 10 จาก 14
  • 11. ทร์ โดยสวด 15 จบ เพื่อช่วยให้เกิดโชคลาภคุ้มภัยอันตรายได้ และจะมีความเจริญปราศจากโรคาพยาธิทั้ง ปวง และยังจัดให้คาถาพระอิตปิโส 8 ทิศ บทกระทู้ 7 แบก สำาหรับสวดภาวนาประจำาวันจันทร์ คือ คาถา " ิ อิ ระ ชา คะ ตะ ระ สา " ทิศอาคเนย์ พระอรหันต์ประจำาทิศได้แก่ พระมหากัสสป เป็นพระสาวกที่พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่าเป็นเลิศกว่าพระ อื่น ถือธุดงควัตร เป็นพระสงฆ์ที่มีร่างกายเสมอเหมือนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าคือ มีรางกายใหญ่โ ่ ตมาก พระองค์จึงได้ประทานผ้าสังฆาฎิให้กับพระมหากัสสป ถ้าท่านใดอยากได้ความเป็นใหญ่ มีผู้คนยอม รับนับหน้าถือตาก็ควรบูชาพระอังคาร ซึงอยู่ประจำาทิศอาคเนย์ ่ ตามคติทางพระพุทธศาสนา จัดให้พระพุทธรูปปางไสยยาสน์ (นอน) เป็นพระประจำาวันอังคาร และพระ ปริตบทขัด กรณียเมตตาสูตร เป็นคาถาสวดสำาหรับพระอังคาร โดยสวด 8 จบบูชา พระปางไสยาสน์ เพื่อช่ วยให้เกิดโชคลาภ และคุ้มภัยอันตรายได้ และจะมีความสุขสวัสดีตลอดกาลนาน และยังจัดให้คาถาพระอิติ ปิโส 8 ทิศ บทเรียกฝนแสนห่า เป็นคาถาภาวนาประจำาพระอังคาร คือคาถา " ติ หัง จะ โต โร ถิ นัง " ทิศทักษิณ พระอรหันต์ประจำาทิศ ได้แก่ พระสารีบุตร ซึงเป็นเอตทัคคะ ผูเลิศทางปัญญา แม้นกำาเม็ดทราย 1 กำามือ ่ ้ ก็สามารถนับได้ ถ้าผู้ใดอยากมีปัญญาเฉลียวฉลาด มีวาจาอ่อนหวานไพเราะ บริสุทธิ์ ก็ให้บูชาพระพุธ ซึง ่ ชุบมาจากคชสารตามคติทางพระพุทธศาสนา จัดให้ พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร เป็นพระประจำาวันพุธ (กลาง วัน) และจัดให้สวดบทขัดพระปริตร บทสัพพาสี เป็นคาถาสวดประจำาสำาหรับวันพุธ โดยสวด 17 จบ เพื่อบูชา พระปางอุ้มบาตร เพื่อช่วยให้เกิดโชคลาภคุ้มภัยอันตรายได้ และจะมีความสุขสวัสดียิ่งๆ ขึ้นไป และยังจัดใ ห้คาถาพระอิติปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์เกลื่อนสมุทร เป็นคาถาประจำาพระพุธด้วย คือ " ปิ สัม ระ โล ปุ สัต พุท " ทิศหรดี พระอรหันต์ประจำาทิศ คือ พระอุบาลี ซึงเป็นเอตทัคคะในด้านการทรงพระวินัย เปรียบอยู่ในกฏระเบียบ ่ ซึ่งถ้าผู้ใดต้องการให้บุตรหลานอยูในระเบียบวินัยไม่หลงมัวเมาในอบายมุข ก็ควรบูชาพระเสาร์ตามคติขอ ่ งพระพุทธศาสนา จัดให้พระพุทธรูปนั่ง ปางนาคปรก /home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 11 จาก 14
  • 12. และจัดคาถา ยะโตหัง เป็นคาถาบทสวดสำาหรับพระเสาร์ โดยสวด 10 จบ ตามกำาลังวัน บูชาพระ นาคปรกเพื่อจะได้ช่วยคุ้มกันอันตรายต่างๆ ช่วยให้เกิดโชคลาภ จะมีความสุขความเจริญ และเกิดความสวั สดี มีมงคลตลอดกาลนานและยังให้บทสวดพระคาถาอิติปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์คลายจักร เป็นคาถาประ จำาพระเสาร์อีกด้วยคือ " โส มา ณะ กะ ริ ถา โธ " ทิศปัจจิม พระอรหันต์ประจำาทิศ คือ พระอานนท์ ซึ่งเป็นพุทธอุปัฐาก เลขาส่วนตัวของพระพุทธเจ้า ดูแลทุกอย่าง ตังแต่ก่อนตื่นนอนและหลังจำาวัด แม้ว่าพระพุทธองค์ไปแสดงธรรมเทศนาที่ใด ถ้าพระอานนท์ไม่ได้ไป จะต้ ้ องกลับมาแสดงธรรมให้พระอานนท์ฟังโดยเฉพาะอีกครั้ง ผู้ใดอยากให้บุตรหลาน ฉลาด รอบรู้ หูตากว้างไ กลก็ควรบูชา พระพฤหัส พระพฤหัสชุบมาจากฤาษี 19 ตน ซึงมีความฉลาด หลักแหลม ปัญญา ดี รอบรู้ ่ ตามคติของพระพุทธศาสนา จัดให้พระพุทธรูปปางสมาธิ เป็นพระพุทธรูปประจำาวันพฤหัส และจัดให้ สวดคาถา บทขัดพระปริตบทปุเรนตัมโพ โดยสวด 19 จบ ตามกำาลังวันบูชาพระปางสมาธิ เพื่อจะช่วยคุ้มอั นตรายต่างๆ และช่วยให้เกิดโชคลาภด้วย มีความสุขความเจริญรุงเรืองยิงๆ ขึ้นไป และยังให้พระสวดพระ ่ ่ คาถาอิติปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์ขว้างจักรตรึงไตรภพ เป็นคาถาประจำาวันพฤหัสบดีด้วยคือ " ภะ สัม มัม วิ สะ เท ภะ " ทิศพายัพ พระอรหันต์ประจำาทิศ คือ พระควัมปติ หรือ พระสิวลี ซึ่งเป็นเอตทัคคะเลิศกว่าพระภิกษุทั้งหลายในเรื่อง โชคลาภ ซึ่งตรงกับนพเคราะห์คือ พระราหูซงเป็นเทพเจ้าแห่งขุมทรัพย์ทั้งหลายทั้งปวง มีอำานาจบารมีเป็น ึ่ ที่เกรงกลัว ผูใดอยากให้บุตรหลานมีโชคลาภ บารมีต้องบูชา พระราหู ให้คอยปกปักรักษา ้ ตามคติทางพระพุทธศาสนา ได้จัดให้พระพุทธรูป ปางป่าเลไลยก์ เป็นพระปางประจำาราหู และกำาหนด บทสวด บทกินนุ สัน ตะ ระมาโน วะ เป็นบทสวดประจำาวันพุธกลางคืน ควรสวด 12 จบ ตามกำาลังวัน เพื่อบู ชาพระปางป่าเลไลยก์ เพื่อคุ้มภัยให้สิ่งร้ายกลายเป็นดีและจะมีความสุขสวัสดี และได้จัดพระคาถาอิติปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์พลิกแผ่นดินเป็นคาถาประจำาราหู คือ " คะ พุท ปัน ทู ทัม วะ คะ " ทิศอุดร ตรงกับพระอรหันต์ประจำาทิศ คือ พระโมคคัลลานะ ซึ่งเป็นเอตทัคคะในเรื่องอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ ตรงกับ /home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 12 จาก 14
  • 13. นพเคราะห์คือพระศุกร์ ผู้ใดอยากให้มีกิจการการค้ารุงเรือง ซื้อง่ายขายคล่อง พูดเป็นเงินเป็นทอง มีความ ่ สุขสบายในครอบครัวก็ควรบูชาพระศุกร์ตามคติทางพระพุทธศาสนา ได้จัดให้พระพุทธรูปยืน ปางทรงรำา พึง พระหัตถ์ทั้งสองวางทับกันที่หน้าอก เป็นพระประจำา วันศุกร์ และได้จดคาถาบท ขัดธชัคคสูตร เป็นบทสวดประจำาพระศุกร์ โดยสวด 21 จบ ตามกำาลังวันเพื่อช่วยให้ ั เกิดโชคลาภ คุมกันภัยอันตรายใดๆ จะมีความสุขสวัสดีตลอดกาลนาน และยังได้จัดพระคาถาอิติปิโส 8 ทิศ ้ บทตวาดฟ้าป่าหิมพานต์เป็นคาถาประจำาวันศุกร์ คือ " วา โธ โน อะ มะ มะ วา " ทิศอีสาน ตรงกับพระอรหันต์ คือ พระราหุล ซึงเป็นเอตทัคคะในเรื่องของการศึกษา ใคร่ต่อการศึกษาเรียนรู้ ตรง ่ กับนพเคราะห์คือพระอาทิตย์ ซึงชุบมาจากราชสีห์ผู้ใดอยากให้บุตรหลานมีปัญญาเฉียบแหลม สติปัญญาเ ่ ป็นเลิศ มีฤทธิ์ มียศ ชื่อเสียงก็ควรจะบูชา พระอาทิตย์ และจัดให้พระปริตบท โมรปริต เป็นคาถาสวดสำาหรับพระอาทิตย์ ควรสวด 6 จบ ตามกำาลังวัน เพื่อให้ เกิดโชคลาภ คุมภัยอันตราย จะมีความเจริญรุงเรืองและความสุขสวัสดีตลอดกาล และยังได้จัดเอาคาถาพร ้ ่ ะอิติปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์แปลงรูปเป็นคาถาภาวนาสำาหรับพระอาทิตย์ด้วยคือ " อะ วิ สุ นุต สา นุ ติ " ตรงกลาง มีพระเกตุอยู่ทามกลางจักรวาล ตรงกับ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึงเป็นประธานของ พระอรหันต์ทง 8 ่ ่ ั้ ทิศ เมื่อบูชาพระเกตุเท่ากับเสริมเดช เดชานุภาพผู้ที่ไม่ทราบวันเดือนปีเกิดของตนเองควรบูชา พระเกตุ ซึง ่ มีกำาลังดี และจัดให้พระพุทธรูป ปางมารวิชย เป็นปางของพระเกตุ ั และให้สวดคาถาบท พุทโธ จะ มัชฌิโม เสฏิโฐ เป็นคาถาประจำาพระเกตุโดยสวด 9 จบ เพื่อคุ้มกัน เสนียดจัญไร ให้แคล้วคลาดปลอดภัยและได้จัดพระคาถานวหรคุณเป็นคาถาภาวนาประจำาพระเกตุ คือ " อ ะ ระ หัง สุ คะ โต ภะ คะ วา " ซึ่งจะเห็นได้ว่าคาถาบูชาพระประจำาต่างๆ นั้น ก็ถอดออกมาจากบทสวดพระพุทธคุณ 56 นั่นเอง กล่าว คือ อิ ติ ปิ โส ภะ คะ วา อะ ระ หัง สัม มา สัม พุท โธ วิ /home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 13 จาก 14
  • 14. ชา จะ ระ ณะ สัม ปัน โน สุ คะ โต โล กะ วิ ทู อะ นุต ตะ โร ปุ ริ สะ ทัม มะ สา ระ ถิ สัต ถา เท วะ มะ นุ สา นัง พุท โธ ภะ คะ วา ติ ๑๒๓๔๕๖๗๘ แถวตั้งที่ 1 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทกระทู้ 7 แบก เป็นคาถาสวดพระจันทร์ 15 จบ ิ แถวตั้งที่ 2 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทเรียกฝนแสนห่าเป็นคาถาสวดพระอังคาร 8 จบ ิ แถวตั้งที่ 3 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์เกลื่อนสมุทรเป็นคาถาพระพุธ 17 จบ ิ แถวตั้งที่ 4 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์คลายจักรเป็นคาถาสวดพระเสาร์ 10 จบ ิ แถวตั้งที่ 5 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์ขว้างจักรตรึงไตรภพเป็นคาถาสวดพระพฤหัส 19 จบ ิ แถวตั้งที่ 6 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์พลิกแผ่นดิน เป็นคาถาสวดพระราหู 12 จบ ิ แถวตั้งที่ 7 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทตวาดฟ้าป่าหิมพานต์ เป็นคาถาสวดพระศุกร์ 21 จบ ิ แถวตั้งที่ 8 บทคาถาอิตปิโส 8 ทิศ บทนารายณ์แปลงรูป เป็นคาถาสวดพระอาทิตย์ 6 จบ ิ คาถายั น ต์ เ กราะเพชร อิระชาคะตะระสา ติหังจะโตโรถินัง ปิสัมระโลปุสัตพุท โสมาณะกะริถาโธ ภะสัมสัมวิสาเทภะ คะพุทปันทูทัมวะคะ วาโธโนอะมะมะวา อะวิชสุนุตสานุติ /home/pptfactory/temp/20110809065947/random-110809015945-phpapp01.odt หน้า 14 จาก 14