SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 76
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เจ้าของ 

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

คณะที่ปรึกษา 

สุรพล เศวตเศรนี	
อักกพล พฤกษะวัน	
สุวรรณชัย ฤทธิรักษ์	
จุฑาพร เริงรณอาษา	
	
สรรเสริญ เงารังษี 	
ประกิตติ์ พิริยะเกียรติ   	
วิไลวรรณ ทวิชศรี        	
ธวัชชัย อรัญญิก   	
พงศธร เกษสำ�ลี     	
อภิชาติ อินทร์พงษ์พันธุ์   	
สันติ ชุดินธรา   	

ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ที่ปรึกษาระดับ 11
ที่ปรึกษาระดับ 10
รองผู้ว่าการด้านตลาดยุโรป แอฟริกา
ตะวันออกกลาง และอเมริกา
รองผู้ว่าการด้านตลาดเอเชีย และแปซิฟิกใต้
รองผู้ว่าการด้านสื่อสารการตลาด
รองผู้ว่าการด้านสินค้าและธุรกิจท่องเที่ยว
รองผู้ว่าการด้านตลาดในประเทศ
รองผู้ว่าการด้านนโยบายและแผน
รองผู้ว่าการด้านบริหาร
ผู้อำ�นวยการฝ่ายวางแผน

บรรณาธิการ   

ยุวดี นิรัตน์ตระกูล ผู้อำ�นวยการกองวิจัยการตลาด

กองบรรณาธิการ 

อ้อยทิพย์ นิธิยานันท์      	
กุลปราโมทย์ วรรณะเลิศ  	
ชูวิทย์ ศิริเวชกุล          	
ฐาปนีย์ เกียรติไพบูลย์    	
พรหมเมธ นาถมทอง     	
โศรยา หอมชื่น             	
ณัฎฐิรา อำ�พลพรรณ       	
สุจิตรา แย้มงามเหลือ     	

ผู้อำ�นวยการกองประชาสัมพันธ์ในประเทศ
ผู้อำ�นวยการ ททท.สำ�นักงานลอสแอนเจลิส
ผู้อำ�นวยการกองกลยุทธ์การตลาด
ผู้อำ�นวยการกองสารสนเทศการตลาด
ผู้อำ�นวยการกองส่งเสริมบริการท่องเที่ยว
หัวหน้างานวิชาการ
พนักงานวางแผน
พนักงานบันทึกข้อมูล

Tourism Jounal
คณะการจัดการการท่องเที่ยว

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)**
เปิดรับสมัครนักศึกษา
ระดับปริญญาโท
ภาคปกติ เรียนวันธรรมดา	
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ
วิชาเอก นโยบาย การวางแผนและการจัดการ
การท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ
วิชาเอก การจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ
ปริญญาเอก
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ

สนใจติดต่อ โทร. 02-7273671-3 หรือ www.nits.nida.ac.th
** สถาบันบัณทิตพัฒนบริหารศาสตร์(NIDA)เป็นสถาบันการศึกษาของรัฐ
ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งตามพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิต
พัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2509
74 | Tourism Jounal
Content
สารบัญ

4-13
14-17

30-39

| Tourism Situation

•	สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวตลาดต่างประเทศ ปี 2555 และแนวโน้มปี 2556

| Tourism Research

•	เส้นทางการก้าวกระโดดสู่การจัดการอย่างยั่งยืนและกรณีตัวอย่างเกาะสมุย

| Tourism Seminar

40-47

| Tourism Talk

•	ทัศนะของผู้ประกอบการท่องเที่ยวที่มีต่อการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 	
	 (AEC)
•	ทัศนะของผู้ประกอบการเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโลกที่ส่งผลต่อการท่องเที่ยว	
	 ไทยในปี 2556
•	Cruise Shipping Asia-Pacific 2012

•	รายได้ก้าวกระโดด ด้วยอาหารไทย

18-22
24-29

•	เที่ยวบนอาน

| From the Cover

Retro Market ในกระแส Nostalgia Tourism

•	ภาพตัวแทนของความเป็นไทย

48-53
54-59
61-71

| Tourism Trend

•	เป็นไทย ไม่เป็นทาส

| Pop Culture Tourism
| Tourism @ AEC

•	โอกาสทางการตลาดท่องเทียวไทยบนความท้าทายกับการก้าวสู่ AEC (ตอนที่ 1)
่
•	อาเซียนมีทะเลยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก !

Tourism Journal 2/2013
จุลสารฉบับนี้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้กระดาษ EPO (EcoPaque offset)
และหมึกพิมพ์จากนํ้ามันถั่วเหลืองที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ตราสัญลักษณ์ จากเล่มเดิมอนุญาต
ให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตครีเอทีฟ
คอมมอนส์แสดงที่มา-ไม่ใช่เพื่อการค้าอนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย

2 | Tourism Jounal

| Low Carbon Tourism

จุลสารวิชาการการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

1600 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน
เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ : 0 2250 5500 ต่อ 2620-2     
โทรสาร : 0 2253 7468

Tourism Authority of Thailand
1600 New Phetchaburi Road,
Makkasan, Ratchathewi,
Bangkok 10400, Thailand
tel: +66 2250 5500 ext. 2620-2
fax: +66 2253 7468
email: etatjournal@tat.or.th
website: etatjournal.com
ebook: www.issuu.com/etatjournal
www.ebooks.in.th/etatjournal
twitter: @etatjournal
บทบรรณาธิการ
	 ในช่วงปี 2540 สมัยทียงรับผิดชอบงานด้านอนุรกษ์ ของ ททท. ได้ออกจดหมายข่าวรายเดือน
่ั
ั
ชื่อ ecotourism newsletter โดยทำ�หน้าที่เป็นบรรณาธิการ เนื้อหาส่วนใหญ่ ก็จะป้วนเปี้ยนอยู่
กับเรืองกิจกรรมการอนุรกษ์ทเี่ ชือมโยงกับเรืองการท่องเทียว ชือคอลัมน์กจะตังให้อยู่ใน theme
่
ั
่
่
่ ่
็ ้
เรื่อง ecotourism คอลัมน์ที่นำ�เสนอ เช่น eco movement / eco seminars / eco activities /
eco talks เป็นต้น
	 เมื่อหวนกลับไปคิดเรื่องนี้มีเรื่องบางเรื่องที่ ไม่เคยเลือนไปจากความทรงจำ� อย่างเรื่องที่
เขียนพาดพิงถึงแนวกำ�แพงที่หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
หรือ เรื่องที่พาดพิงกรมป่าไม้ (สมัยนั้น หน่วยงานที่ดูแลอุทยานแห่งชาติ คือ กรมป่าไม้) กรณี
การส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมการสัมมนาและการเก็บประเด็นไปทำ�งานต่อ
	 เรื่องท่องเที่ยวจักรยานเป็นอีกเรื่องที่ ได้รับความนิยม  มีการสรุปผลการเข้าประชุมเมือง
จักรยานที่ออสเตรเลีย และ ททท. ก็ผลักดันกิจกรรมการท่องเที่ยวด้วยจักรยาน อย่างต่อเนื่อง
ทริปจักรยานที่จัดต่อเนื่องกันทุกปี อย่างทริปที่ popular มีชาวต่างชาติเข้าร่วมกิจกรรมจำ�นวน
เพิ่มขึ้นทุกปีคือทริปที่ขี่ข้ามประเทศ จากเชียงรายออกไปเชียงรุ้ง สิบสองปันนา จากนั้น ก็นั่ง
เรือกลับ นี่ยังไม่รวมทริป around Thailand ที่ขี่กันเป็นเดือน หรือทริปขี่สั้น ๆ ในเมืองเล็ก ๆ
	 ตอนนี้ ecotourism newsletter ก็เหลือเพียงแค่ความทรงจำ� เพราะได้เลิกทำ�ไปเมื่อ
ประมาณปี 2544 สิ่งที่ดีอย่างหนึ่งสำ�หรับคนทำ�งาน ก็คือ เราได้ทำ�เรื่องที่เราอยากทำ� และเรา
ได้เพื่อนที่ชอบอะไรเหมือน ๆ กันเพิ่มขึ้น และคบหากันจนถึงวันนี้ บทสนทนาเมื่อเจอกันตอนนี้
ก็มักจะรื้อฟื้นเรื่องเก่า ๆ มาคุยกัน ตลอดจนการ up date เรื่องสถานการณ์ปัจจุบัน
	 กลับมาสู่ เรื่องราวในปัจจุบัน
	 ททท. เดินหน้าต่อเนื่องเรื่องการอนุรักษ์ ด้วยโครงการ 7 greens พร้อม ๆ กับการส่งเสริม
การตลาด สร้างภาพลักษณ์ประเทศไทย การส่งเสริมให้คนไทยเทียวเมืองไทย และสิงหนึงทีมงเน้น
่
่ ่ ่ ุ่
ในปีนี้ คือ เรื่อง วิถีไทย หรือ Thainess / Thai ways of life
	 TAT Tourism Journal ไตรมาสนี้ มีเรื่องที่เกี่ยวกับ วิถีไทย / ความเป็นไทย / ไทย ไทย
หลายเรื่อง เช่น เป็นไทย ไม่เป็นทาส คอลัมน์ pop culture tourism หรือบทสัมภาษณ์ท่าน
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต เรื่อง รายได้ก้าวกระโดดด้วยอาหารไทย รวมทั้งเรื่อง
จากปก ไตรมาสนี้ เป็นเรื่อง retro market ในกระแส nostalgia tourism  ลองพลิกอ่านกันดู
	 ในช่วงที่ผ่านมา มีการนำ�ภูมิปัญญาไทยมาประยุกต์ใช้ และสร้างปรากฏการณ์เล็ก ๆ ที่น่า
สนใจ คือ กรณี เหล้าพื้นถิ่น ที่ตั้งชื่อแบรนด์ว่า หมาใจดำ� อันนี้ ทำ�มาได้ประมาณ 5-6 ปีแล้ว
โด่งดังในวงคนกลุ่มหนึ่ง เป็นเหล้าที่ทำ�จากนํ้าหวานของดอกมะพร้าว และโด่งดัง อื้ออึงที่จังหวัด
เชียงใหม่  ที่ชอบมาก คือ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ทำ�ได้ modern มาก เป็นเหมือนขวดวอดก้า
ไอเดียอันนี้ โดนจริง ๆ
	 หรือ อีกกรณีหนึ่งคือ ยีนส์หนุมาน เป็นยีนส์สัญชาติไทย ใส่ความเป็นไทยในยีนส์ เช่น
กระดุมรูปหนุมาน ลายสัก ลายยันต์ ตอนนี้ดังในระดับนานาชาติ ประเด็นเล็ก ๆ เรื่อง หมาใจดำ�
และยีนส์หนุมาน เคยกล่าวถึงในบทสัมภาษณ์ คุณชาติฉกาจ ไวยกวี  real touristic น่าจะเป็น
ไตรมาส 2 ปี 2555
	 ไตรมาสนี้ ก็ประมาณนี้ ไม่มีเรื่องผู้ว่า กทมฺ. ไม่มีเรื่อง Harlem Shake ไม่มีเรื่อง Fifty
Shades of Grey ไม่มีเรื่องการเตรียมรับมือกับวิกฤติไฟฟ้า 5-12 เมษายน 2556 และไม่มีเรื่อง
ตอบโจทย์ประเทศไทย
	 แค่นี้นะ จบนะ

ยุวดี นิรัตน์ตระกูล

Tourism Jounal | 3
To u r i s m S i t u a t i o n

สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยว

ตลาดต่างประเทศ
ปี
และแนวโน้ม ปี
เรื่อง สิรินาถ ฉัตรศุภกุล

ภาพรวมสถานการณ์การเดินทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั่วโลก
จากข้อมูลขององค์การการท่องเที่ยวโลก คาดว่า ปี 2555
การเดินทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศ จะขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 4
มีจำ�นวนการเดินทางระหว่างประเทศถึง

4 | Tourism Jounal
To u r i s m S i t u a t i o n

ซึ่งเป็นอัตราการขยายตัวที่สูงกว่าการคาดการณ์
แนวโน้มในระยะยาว 10 ปี (ปี 2553-2563) ว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8
ทั้งนี้ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก มีการขยายตัวอย่างเข้มแข็ง เพิ่มขึ้นสูงสุดถึงร้อยละ 7
ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลของสมาคมส่งเสริมการท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (PATA)
คาดว่าในปี 2555 จำ�นวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่จะเดินทางเข้าภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 6 เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยภูมิภาคที่ขยายตัวได้ดีที่สุด คือ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 8 ทั้งนี้ PATA ได้คาดการณ์จำ�นวนนักท่องเที่ยว
เดินทางมายังประเทศไทยจะมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 11
เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา

Tourism Jounal | 5
To u r i s m S i t u a t i o n

อัตรา
การขยายตัว
ทางด้าน
จำ�นวน
นักท่องเที่ยว

กลุ่มตลาดที่มีขนาดใหญ่
เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ

เพิ่มขึ้นร้อยละ 31.52

อาเซียน

เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.78

ยุโรป

เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.12

สถานการณ์
ตลาดต่างประเทศ
	 สถานการณ์ นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งประเทศเดิ น ทางเข้ า มายั ง
ประเทศไทย ปี 2555 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 22.3 ล้านคน อัตรา
การขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15.98 เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา
(จากข้อมูลของกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ณ
เดือนมกราคม 2556) โดยปรับตัวดีขนทุกกลุมตลาดทังทางด้านจำ�นวน
ึ้
่
้
นักท่องเที่ยวและค่าใช้จ่ายสำ�หรับการเดินทางท่องเที่ยวประเทศไทย
เมื่อสิ้นวิกฤตอุทกภัยในประเทศไทย จึงคาดว่ารายได้จากตลาดต่าง
ประเทศ ปี 2555 จะมีประมาณ 970,000 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 25
(ประมาณการจากผลการสำ�รวจโครงการค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว
ต่างประเทศเดินทางท่องเที่ยวไทย 3 ไตรมาส ของปี 2555) แม้ว่าจะ
เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบภายในประเทศไทยบ้าง อาทิ การลอบวาง
ระเบิดในพื้นที่กรุงเทพฯ การลอบวางระเบิดในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดน
ภาคใต้ และเหตุการณ์ชมนุมจากปัญหาความขัดแย้งทางด้านการเมือง
ุ
ไทย ซึงก็เป็นเพียงผลกระทบในช่วงระยะเวลาสัน ๆ จึงทำ�ให้สนปี 2555
่
้
ิ้
นักท่องเทียวต่างประเทศเดินทางเข้าประเทศไทยได้บรรลุเกินเป้าหมาย
่
ที่กำ�หนดว่าจะสร้างรายได้จากตลาดต่างประเทศ เพิ่มขึ้นในอัตรา
ร้อยละ 9 หรือมีจ�นวนนักท่องเทียวต่างประเทศ เพิมขึนร้อยละ 7 เมือ
ำ
่
่ ้
่
เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา
	 ปัจจัยที่สนับสนุนให้นักท่องเที่ยวต่างประเทศเติบโตได้ดี คือ
6 | Tourism Jounal

	 1.	การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคเอเชีย รวม
ทั้งการฟื้นตัวหลังประสบภัยสึนามิในประเทศญี่ปุ่น
	 2.	ความสงบสุขของประเทศไทยจากการไม่เกิดปัญหาความขัดแย้ง
ทางการเมือง
	 3.	พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเอเชียที่นิยมเดิน ทางท่องเที่ยว
ภายในภูมิภาค และในกลุ่มตลาดระยะไกลทั้งยุโรปและอเมริกาก็ยังมี
ความชื่นชอบเดินทางท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเชียอีกด้วย
	 4.	การส่งเสริมตลาดเชิงรุกในตลาดจีน ทั้งการเปิดสำ�นักงานแห่ง
ใหม่และการสนับสนุนให้เปิดเที่ยวบินเช่าเหมาลำ�บินตรงจากเมืองรอง
ของประเทศจีนเข้ามายังประเทศไทย ส่งผลให้ประเทศไทยได้รับนัก
ท่องเที่ยวจีน ขยับขึ้นมาเป็นตลาดที่ครองอันดับ 1 ในปี 2555
	 5.	การไม่เกิดวิกฤตภัยธรรมชาติในประเทศไทยเหมือนเช่นปีทผานมา
่ี ่
	 6.	นโยบายการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี 2558 (Asean
Economics Community: AEC) ส่งผลให้ตลาดในกลุ่มอาเซียนมีการ
เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการเปิดเสรีและเกิดการเดินทางแลก
เปลี่ยนระหว่างกันมากขึ้น
โดยกลุ่ ม ตลาดที่ ผ ลั ก ดั น ให้ ภ าพรวมนั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งประเทศของ
ประเทศไทยขยายตัวในระดับทีดี คือ กลุมตลาดเอเชีย ขณะทีกลุมตลาด
่
่
่ ่
ยุโรปและอเมริกา เป็นเพียงการรักษาระดับอัตราการเติบโตเพราะกำ�ลัง
To u r i s m S i t u a t i o n

กลุ่มตลาดที่มีขนาดกลาง-เล็ก
เอเชียใต้

ตะวันออกกลาง

เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.36

เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.58

อเมริกา

แอฟริกา	

เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.40

เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.36

โอเชียเนีย

เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.13

ประสบภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ตลาดในกลุ่มตะวันออกกลาง ยังดู
น่าเป็นกังวลเพราะผลของการเกิดเหตุการณ์ความวุนวายภายในภูมภาค
่
ิ
ประกอบกับมาตรการควํ่าบาตรอย่างจริงจังของประเทศสหรัฐฯ ที่มีต่อ
ประเทศอิหร่าน ส่งผลให้ภาพรวมกลุมตลาดตะวันออกกลางไม่ขยายตัว
่
ในช่วงปี 2555 โดยในแต่ละกลุ่มตลาดมีอัตราการขยายตัวทางด้าน
จำ�นวนนักท่องเที่ยว ดังต่อไปนี้
-กลุ่มตลาดที่มีขนาดใหญ่ : เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ 6.24 ล้าน
คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 31.52 อาเซียน 6.25 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.78
ยุโรป 5.61 ล้านคน เพิมขึนร้อยละ 10.12 เมือเปรียบเทียบกับปีทผ่านมา
่ ้
่
ี่
-กลุ่มตลาดที่มีขนาดกลาง-เล็ก : เอเชียใต้ 1.28 ล้านคน เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 11.36 อเมริกา 1.08 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.40 โอเชียเนีย
1.04 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.13 ตะวันออกกลาง 0.60 ล้านคน เพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 0.58 และแอฟริกา 0.16 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.36 เมื่อ
เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา
	 แม้จะเกิดอุปสรรคขัดขวางการเดินทางท่องเทียวไทยหลายประการ เช่น
่
	 1.	ผลกระทบทางด้านภาพลักษณ์ความไม่ปลอดภัยในการเดินทาง
ท่องเที่ยวประเทศไทย จากการเกิดเหตุระเบิด และมีการเผยแพร่ขาว
่
นักท่องเที่ยวต่างประเทศเสียชีวิตในประเทศไทยหลายครั้ง
	 2.	การชุมนุมประท้วงภายในประเทศ จากปัญหาความขัดแย้ง

ทางการเมืองไทย
	 3.	การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจตกตําในยุโรปและในสหรัฐอเมริกา รวม
่
ทังการเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในภูมภาคตะวันออกกลางทียงไม่สนสุด
้
ิ
่ ั ้ิ
	 4.	การปรับขึ้นค่าธรรมเนียมนํ้ามัน (Fuel Surcharge)
	 5.	การแข่งขันสูงทางด้านการท่องเทียว และคูแข่งหน้าใหม่ทเ่ี พิมขึน
่
่
่ ้
ซึ่ ง หากพิ จ ารณาเที ย บกั บ ประเทศคู่ แ ข่ ง ขั น ภายในภู มิ ภ าคเอเชี ย
ในช่วงปี 2555 ประเทศไทยยังรักษาระดับอัตราการเติบโตทางด้านจำ�นวน
นักท่องเที่ยวในระดับที่ดีและสูงกว่าอัตราการเติบโต ภาพรวมของ
ภูมภาคเอเชียแปซิฟกทีคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 8 โดยประเทศคูแข่งขัน
ิ
ิ ่
่
สำ�คัญ ๆ ทีลวนมีการปรับตัวในระดับดี อาทิ เวียดนาม ทังปี 2555 เพิมขึน
่้
้
่ ้
ร้อยละ 9.5 ส่วนประเทศคูแข่งขันทีเ่ หลือ ก็มรายงานจำ�นวนนักท่องเทียว
่
ี
่
ต่างประเทศขยายตัวในระดับทีดเี ช่นกัน เช่น ญีปน ในช่วง 11 เดือนแรก
่
่ ุ่
ของปี 2555 เพิ่มขึ้นสูงร้อยละ 36 หลังฟื้นตัวจากภัยพิบัติสึนามิ ตาม
มาด้วย ฮ่องกง เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.1 เกาหลีใต้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.1
สำ�หรับมาเลเซีย ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2555 ขยายตัวเพียง
ร้อยละ 0.7 ทั้งนี้ประเทศที่เป็นตลาดใหม่กำ�ลังได้รับความสนใจในเวที
โลก คือ เมียนมาร์ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 42 กัมพูชาเพิ่มขึ้นร้อยละ
23.6 และลาว เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 12 ที่ ล้ ว นต่ า งมี อั ต ราการเติ บ โต
ที่สูง ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2555
Tourism Jounal | 7
To u r i s m S i t u a t i o n

กลุ่มตลาดอาเซียน

	 สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวรายกลุ่มตลาด ปี 2555
	
	 กลุ่มตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ
	

	 สถานการณ์นักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือเดินทางเข้าประเทศไทย
รายสัญชาติ ปี 2555 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 6.24 ล้านคน ขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 31.51 จาก
แรงเติบโตดีของเกือบทุกตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งตลาดจีน มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นสูงสุด
ร้อยละ 62 มีเพียงตลาดไต้หวัน ทีมอตราการขยายตัวติดลบร้อยละ 11 ปัจจัยทีท�ให้กลุมตลาดนี้
่ีั
่ำ
่
ขยายตัวได้สง คือ การฟืนตัวหลังสินวิกฤตอุทกภัยในประเทศไทย สภาพเศรษฐกิจของกลุมตลาด
ู
้
้
่
เอเชียทีก�ลังเติบโต และการส่งเสริมตลาดเชิงรุกในจีน เช่น การเปิดสำ�นักงานเพิมในประเทศจีน
่ำ
่
และการสนับสนุนการเพิ่มเที่ยวบินเช่าเหมาลำ� รวมทั้งการฟื้นกลับมาเดิน ทางท่องเที่ยว
เป็นปกติของตลาดญี่ปุ่นหลังประสบภัยพิบัติสึนามิ ซึ่งนอกจากนี้ ผลจากการเกิดข้อพิพาท
ระหว่างประเทศจีนและญีปน ในเรืองเกาะเตียวหยู และระหว่างประเทศญีปนกับเกาหลี ในเรือง
่ ุ่
่
่ ุ่
่
เกาะทาเกชิมะ ทำ�ให้นกท่องเทียวในกลุมเหล่านีเ้ ปลียนเส้นทางมาท่องเทียวไทยแทนในบางส่วน
ั
่
่
่
่
	 คาดการณ์สถานการณ์ท่องเที่ยวในช่วงปี 2556 น่าจะมีการเติบโตได้ดีต่อเนื่องจากปัจจัย
ผลักดันทางด้านบวกที่มีอยู่มาก รวมทั้งการขยายตัวของธุรกิจสายการบิน เช่น ในตลาดจีน มี
การเปิดเส้นทางบินและเพิ่มเที่ยวบินของบริษัท Air Asia ในเส้นทางซีอาน–กรุงเทพฯ จำ�นวน 7
เที่ยว/สัปดาห์ และหวูฮั่น–กรุงเทพฯ จำ�นวน 7 เที่ยว/สัปดาห์ บริษัทการบินไทย เพิ่มความถี่ใน
เส้นทางปักกิ่ง–กรุงเทพฯ จาก 11 เที่ยวบิน เป็น 14 เที่ยว/สัปดาห์ ในช่วงเดือนตุลาคม 2555
ในตลาดญี่ปุ่น บริษัทการบินไทย เพิ่มเที่ยวบินในเส้นทาง ซับโปโร–กรุงเทพฯ จาก 3 เที่ยวบิน
เป็น 4 เที่ยว/สัปดาห์ และเส้นทางนาโกยา–กรุงเทพฯ จาก 3 เที่ยวบิน เป็น 4 เที่ยว/สัปดาห์
เริ่มในตารางบินฤดูหนาว ปี 2555 ส่วนตลาดเกาหลีใต้ บริษัทการบินไทย เพิ่มเที่ยวบินในเส้น
ทาง โซล–กรุงเทพฯ จาก 14 เที่ยวบิน เป็น 18 เที่ยว/สัปดาห์ เส้นทางปูซาน–กรุงเทพฯ จาก
3 เที่ยวบิน เป็น 5 เที่ยว/สัปดาห์ และในเส้นทางโซล–ภูเก็ต จาก 5 เที่ยวบิน เป็น 7 เที่ยว/
สัปดาห์ เป็นต้น
8 | Tourism Jounal

	 สถานการณ์ นั ก ท่ อ งเที่ ย วกลุ่ ม ตลาด
อาเซียนเดินทางเข้าประเทศไทยรายสัญชาติ
ปี 2555 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 6.25 ล้าน
คน ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.78 สาเหตุ
เกิดจากทุกตลาดมีอัตราการขยายตัวในอัตรา
เพิ่มที่ดี ยกเว้น ตลาดมาเลเซีย ที่มีอัตราการ
เติบโตเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 2 เป็นผลมาจาก
เหตุระเบิดอย่างรุนแรงที่อำ�เภอหาดใหญ่ โดย
ปัจจัยที่ผลักดันให้ตลาดในภูมิภาคนี้ขยายตัว
ได้สูง คือ สภาพเศรษฐกิจที่กำ�ลังเติบโต การ
เดินทางที่สะดวกและมีระยะทางใกล้ กระแส
นโยบายการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
และการยกเลิกพิธีการตรวจลงตราสำ�หรับ
การเดินทางข้ามด่านชายแดนระหว่างไทยและ
กัมพูชา
	 คาดการณ์ ส ถานการณ์ ท่ อ งเที่ ย วใน
ช่ ว งปี 2556 น่ า จะมี ก ารขยายตั วได้ ดี ต่ อ
เนื่อง นอกจากปัจจัยสนับสนุนเดิมทั้งสภาพ
เศรษฐกิจและการเดินทางเชื่อมต่อที่สะดวก
แล้ว ในหลายตลาดยังมีการส่งเสริมการเปิด
เที่ยวบินเข้ามายังประเทศไทยมากขึ้น เช่น
ในตลาดฟิลิปปินส์ สายการบิน Cebu Pacific
เปิดเส้นทางบิน เซบู–กรุงเทพฯ จำ�นวน 2
เที่ยว/สัปดาห์ ในเดือนธันวาคม 2555 ตลาด
เวียดนาม Vietjet Airlines เปิดเส้นทางบิน
โฮจิมินห์–กรุงเทพฯ จำ�นวน 7 เที่ยว/สัปดาห์
ในเดือนกุมภาพันธ์ 2556 และตลาดเมียนมาร์
บริษัทการบินไทย จำ�กัด เพิมเทียวบิน ย่างกุง–
่ ่
้
กรุงเทพฯ จาก 3 เที่ยว เป็น 4 เที่ยว/สัปดาห์
ในเดือนกุมภาพันธ์ เป็นต้น
To u r i s m S i t u a t i o n

กลุ่มตลาดอเมริกา

กลุ่มตลาดยุโรป
	 สถานการณ์นักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดยุโรปเดินทางเข้าประเทศไทยรายสัญชาติ ปี 2555 มี
จำ�นวนนักท่องเที่ยว 5.61 ล้านคน ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.12 ผลจากแรงขยายตัวของตลาด
รัสเซียที่ทะลุ 1.3 ล้านคน ด้วยอัตราการเติบโตร้อยละ 25 จึงทำ�ให้สถานการณ์ท่องเที่ยวของ
ภูมิภาคยุโรปขยายตัวในระดับที่น่าพอใจ สำ�หรับตลาดอื่น ๆ ส่วนใหญ่สามารถรักษาระดับอัตรา
การเติบโตให้ผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤตเศรษฐกิจของยุโรป แต่ในหลายตลาดก็ยังสามารถส่งเสริม
ตลาดให้มีการรักษาอัตราการเติบโตได้ดีทั้งในตลาดที่มีขนาดใหญ่ เช่น ฝรั่งเศส เยอรมนี และ
สหราชอาณาจักร ขณะที่ตลาดกลุ่มที่มีขนาดกลางถึงขนาดเล็ก เช่น เบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์
ออสเตรีย ยุโรปตะวันออก หรือแม้แต่กลุ่มตลาดในแถบยุโรปใต้ที่กำ�ลังประสบภาวะเศรษฐกิจ
ล้มเหลวที่เราเรียกกันว่า PIIGS (โปรตุเกส อิตาลี ไอร์แลนด์ กรีซ และสเปน) ยังมีการขยาย
ตัวเพิ่มขึ้นได้ดี ทั้งนี้เป็นเพราะจุดแข็งของประเทศไทยทางด้านความคุ้มค่าเงินในการเดินทาง มี
สินค้าทางการท่องเที่ยวที่ตอบสนองต่อความต้องการ และการเน้นส่งเสริมตลาดแบบเจาะกลุ่ม
ในกลุ่มที่มีศักยภาพทั้งการออกเดินทางท่องเที่ยวและการใช้จ่าย
	 คาดการณ์สถานการณ์ท่องเที่ยวในช่วงปี 2556 คาดว่าสถานการณ์วิกฤตยูโรโซนไม่น่าจะ
จบสินลงในระยะเวลาอันสัน จึงคงต้องประคับประคองสถานการณ์ทองเทียวของภูมภาคนีตอไป
้
้
่ ่
ิ ้่
รวมทั้งป้องกันการเข้ามาช่วงชิงตลาดของประเทศคู่แข่ง เช่น มาเลเซีย ที่มีการพัฒนารายการ
ท่องเที่ยวให้มีความน่าสนใจมากขึ้นโดยเชื่อมโยงสินค้าท่องเที่ยวทางทะเลของประเทศไทยและ
ดึงเทียวบินเช่าเหมาลำ�บางส่วนให้เปลียนเส้นทางบินจากประเทศไทยไปยังประเทศมาเลเซียแทน
่
่
เหมือนดังที่ได้ดำ�เนินการกับตลาดสแกนดิเนเวีย นอกจากนี้ ผลจากการที่เงินยูโรอ่อนค่าลงอาจ
ทำ�ให้นักท่องเที่ยวจากยุโรปหันไปเดินทางท่องเที่ยวภายในภูมิภาคกันเองมากขึ้น

	 สถานการณ์ นั ก ท่ อ งเที่ ย วกลุ่ ม ตลาด
อเมริกาเดินทางเข้าประเทศไทยรายสัญชาติ
ปี 2555 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 1.08 ล้านคน
ขยายตัวเพิ่มขึ้นในระดับที่ดีถึงร้อยละ 13.40
แม้ว่าจะกำ�ลังเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า
โดยเป็นผลจากตลาดหลักอย่างสหรัฐฯและ
แคนาดาขยายตัวดี รวมทั้งตลาดขนาดเล็ก
อย่างอาร์เจนตินา และบราซิล ปัจจัยทีสนับสนุน
่
ให้ตลาดขยายตัว คือ การฟื้นตัวจากสภาพ
เศรษฐกิ จ ที่ ไ ด้ ผ่ านพ้ น จุ ด ตํ่ าสุ ด มาแล้ ว และ
นโยบายการกระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐอย่าง
้
ต่อเนื่อง ส่งผลให้นักท่องเที่ยวมีการเดินทาง
ท่องเที่ยวกัน มากในช่วงฤดูก าลท่องเที่ยวที่
ผ่านมา ทั้งการปิดภาคเรียน เทศกาลขอบคุณ
พระเจ้ า และวัน หยุดยาวในช่วงคริสต์ม าส
และปี ใหม่ ประกอบกับสภาพเศรษฐกิจของ
กลุ่มละตินอเมริกาที่มีการขยายตัว จึงเริ่มมี
การเปิดเที่ยวบินตรงจากเอเชีย เช่น ในตลาด
อาร์เจนตินา สายการบิน Emirates Airlines
เปิดเส้นทาง บัวโนสไอเรส–กรุงเทพฯ จำ�นวน
7 เที่ยว/สัปดาห์ ในเดือนมกราคม 2555 รวม
ทั้งการขยายตัวที่ดีของกลุ่มตลาดเล็กอื่น ๆ
เช่น เม็กซิโก และ ชิลี สำ�หรับเหตุการณ์พายุ
เฮอริเคนแซนดี้ที่พัดเข้าชายฝั่งตะวันออกของ
สหรัฐอเมริกา ในช่วงปลายเดือนตุลาคม 2555
นั้น ในขณะนี้ยังไม่ปรากฏผลกระทบต่อตลาด
แต่อย่างใด
	 คาดการณ์สถานการณ์ทองเทียวปี 2556
่ ่
น่าจะเติบโตต่อเนื่องจากปี 2555 เนื่องจาก
สภาพเศรษฐกิจที่ค่อย ๆ ปรับตัวไปในทิศทาง
ที่ดีขึ้น แต่อย่างไรก็ตามยังคงต้องจับตามอง
ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจที่เรื้อรังทั้งในภูมิภาค
อเมริกาเองและในภูมภาคยุโรป ตลอดจนการ
ิ
เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลโลก
ครั้งที่ 20 ในปี 2557 ที่ประเทศบราซิลเป็น
เจ้าภาพ ทีอาจจะส่งผลกระทบต่อสถานการณ์
่
ท่องเที่ยวกลุ่มตลาดอเมริกา

Tourism Jounal | 9
To u r i s m S i t u a t i o n

		 กลุ่มตลาดเอเชียใต้
	 สถานการณ์ นั ก ท่ อ งเที่ ย วกลุ่ ม ตลาด
เอเชียใต้เดินทางเข้าประเทศไทยรายสัญชาติ
ปี 2555 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 1.289 ล้าน
คน อัตราการเติบโตเพิ่มขึ้น ร้อยละ 11.36
เป็นผลจากตลาดอินเดีย ซึ่งเป็นตลาดหลัก
ของกลุ่มมีการฟื้นตัวกลับมาเติบโตเป็นปกติ
ตั้ ง แต่ ไ ตรมาสที่ 2 เมื่ อ เข้ า สู่ ช่ ว งฤดู ก าล
ท่องเที่ยว การมีวันหยุดช่วงปิดภาคฤดูร้อน
และปิดภาคเรียน อีกทั้งหลายสายการบินมี
การปรับเพิ่มความถี่และเปิดเส้นทางบินใหม่
หลังจากที่สภาพเศรษฐกิจของอินเดียมีการ
ปรับตัวไปในทิศทางที่ดีขึ้น ส่วนตลาดขนาด
เล็กอืน ทัง บังคลาเทศ เนปาล และปากีสถาน
่ ้
สถานการณ์ท่องเที่ยวยังไม่สู้ดีนักจากปัญหา
ความไม่สงบด้านการเมืองภายในประเทศ มี
เพียงตลาด ศรีลังกา ที่มีอัตราการเดินทาง
เพิมขึน เนืองจากระบบเศรษฐกิจและการเมือง
่ ้ ่
ภายในประเทศที่มีเสถียรภาพและเข้มแข็ง
กว่าประเทศอื่นในภูมิภาค รวมทั้งสายการบิน
Thai Air Asia เปิดเส้นทางบินใหม่ กรุงเทพฯ
–โคลัมโบ จำ�นวน 4 เที่ยว/สัปดาห์ ตั้งแต่
เดือนมิถุนายน
	 คาดการณ์สถานการณ์ทองเทียวปี 2556
่ ่
น่าจะขยายตัวต่อเนือง จากปัจจัยสนับสนุนทาง
่
ด้านเศรษฐกิจ ซึ่งรัฐบาลอินเดียได้ประกาศ
ว่าในปี 2556 จะมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
เพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 7 รวมทั้งการเติบโตของ
ธุรกิจสายการบิน ทั้งในเมืองหลักและเมือง
รอง โดยสายการบินไทยมีแผนเปิดเส้นทาง
บินใหม่ บินตรงเข้าแหล่งท่องเที่ยวหลักของ
ประเทศไทย ในเส้นทาง นิวเดลี–ภูเก็ต และ
มุมไบ–ภูเก็ต ในช่วงปี 2556

10 | Tourism Jounal

กลุ่มตลาดโอเชียเนีย
	 สถานการณ์นกท่องเทียวกลุมตลาดโอเชียเนียเดินทางเข้าประเทศไทยรายสัญชาติ ปี 2555
ั
่ ่
มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 1.046 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.13 เกิดจากแรงขยายตัวที่ดีของตลาด
ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ด้วยปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจที่เติบโตอย่างแข็งแกร่ง ส่งผลให้ค่าเงิน
ดอลลาร์ออสเตรเลียแข็งค่าต่อเนือง ประชาชนจึงเกิดความมันใจในการใช้จายเงินอุปโภคบริโภค
่
่
่
และออกเดินทางท่องเที่ยวกันมากทั้งในช่วงฤดูปิดภาคเรียน และเทศกาลวันหยุดยาวช่วงปลาย
ปี คริสต์มาส ปีใหม่ พร้อมกับมีการเสนอขายรายการนำ�เที่ยวประเทศไทยในราคาพิเศษของ
สายการบินและบริษัทนำ�เที่ยวต่าง ๆ เช่น เกาะสมุย เกาะภูเก็ต สำ�หรับเหตุการณ์หลาย ๆ กรณี
ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยทั้งข่าวเหตุระเบิดในพื้นที่กรุงเทพฯ เหตุการณ์ระเบิดที่ห้างลีการ์เด้น
อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ข่าวลือการเกิดสึนามิในจังหวัดภูเก็ต และเหตุการณ์ทำ�ร้ายนัก
ท่องเที่ยวออสเตรเลียจนเสียชีวิต ในจังหวัดภูเก็ต ขณะนี้ยังไม่ปรากฏสัญญาณการชะลอการ
เดินทางของตลาดแต่อย่างใด
	 คาดการณ์สถานการณ์ท่องเที่ยวปี 2556 น่าจะขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องด้วยศักยภาพ
ของตลาดที่มีความแข็งแกร่งทั้งทางด้านเศรษฐกิจ และมีพฤติกรรมนักท่องเที่ยวนิยมเดินทาง
ท่องเที่ยวในต่างประเทศ และมีความชื่นชอบประเทศไทยอยู่เป็นทุนเดิม แม้จะมีอุปสรรคที่อาจ
ต้องคอยติดตามบ้างจากผลกระทบเชิงลบทางด้านภาพลักษณ์ดานความปลอดภัยของประเทศไทย
้
การออกกฎหมายภาษีเพือลดมลพิษ ของรัฐบาลออสเตรเลีย (Carbon Tax) การกลับมาสูเ่ วทีการ
่
แข่งขันของเกาะบาหลี (อินโดนีเซีย) และการแข่งขันกันอย่างสูงของประเทศอื่น ๆ ทั้งมาเลเซีย
และสิงคโปร์ ที่มีการเปิดเที่ยวบินตรงไปยังเมืองซิดนีย์และเมืองสำ�คัญอื่น ๆ
To u r i s m S i t u a t i o n

กลุ่มตลาดแอฟริกา
กลุ่มตลาดตะวันออกกลาง
	 สถานการณ์นักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดตะวันออกกลางเดินทางเข้าประเทศไทยรายสัญชาติ
ของปี 2555 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 0.60 ล้านคน ขยายตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ร้อยละ 0.58 เหตุ
จากการเกิดปัญหาความไม่สงบภายในภูมิภาคทั้งในประเทศอียิปต์ เยเมน จอร์แดน บาห์เรน
อิหร่าน คูเวต ซาอุดิอาระเบีย และโอมาน โดยเฉพาะ ซีเรีย ที่ยังไม่มีท่าทีว่าจะยุติในระยะเวลา
อันสั้น และยังได้เกิดเหตุระเบิดในพื้นที่กรุงเทพฯ ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ประเด็นความขัดแย้ง
ระหว่างอิหร่านและอิสราเอล รวมทั้งผลของมาตรการควํ่าบาตรทางเศรษฐกิจอย่างจริงจังของ
ประเทศสหรัฐฯ ที่มีต่อประเทศอิหร่าน ทำ�ให้สภาพเศรษฐกิจของประเทศอิหร่านยําแย่ มีการ
่
ค้าขายในต่างประเทศลดลง อัตราแลกเปลี่ยนค่าเงินสกุลเรียล (Rial) ตกตํ่าลงมากกว่า 3 เท่า
ในช่วงปี 2555 เมื่อเทียบกับปี 2554 รวมทั้งสายการบินมาฮาน แอร์ มีการปรับลดจำ�นวนเที่ยว
บินในเส้นทางเตหะราน–กรุงเทพฯ จาก 9 เที่ยว/สัปดาห์ เหลือ 7 เที่ยว/สัปดาห์ ตั้งแต่เดือน
กรกฎาคม อย่างไรก็ตาม การสร้างโอกาสของกลุมตลาดตะวันออกกลางยังพอมีอยูบางจากการ
่
่้
ขยายตลาดที่มีขนาดเล็กอื่น ๆ ที่กำ�ลังมีการเติบโตได้ดี ทั้งกาตาร์ โอมาน บาร์เรน จอร์แดน
คูเวต ซาอุดิอาระเบีย และอียิปต์
	 คาดการณ์สถานการณ์ทองเทียวปี 2556 เนืองจากสถานการณ์ความรุนแรงภายในภูมภาคยัง
่ ่
่
ิ
ไม่นาไว้วางใจ ประกอบกับความเข้มข้นในมาตรการควําบาตรของสหรัฐฯ ทีมตอประเทศอิหร่าน
่
่
่ี่
อาจจะทำ�ให้สถานการณ์ท่องเที่ยวของภูมิภาคไม่สดใส แม้ว่าในบางตลาดจะมีปัจจัยเสริมทาง
บวก เช่น สายการบินไทย เปิดเส้นทางกรุงเทพฯ–อาบูดาบี จำ�นวน 4 เทียว/สัปดาห์ สายการบิน
่
อิมิเรตส์ เปิดเส้นทางภูเก็ต–ดูไบ จำ�นวน 7 เที่ยว/สัปดาห์ สายการบินการ์ต้าแอร์เวย์ เปิดเส้น
ทางภูเก็ต–โดฮา และ เชียงใหม่–โดฮา ในช่วงปลายปี 2555 ก็ตาม

	 สถานการณ์ นั ก ท่ อ งเที่ ย วกลุ่ ม ตลาด
แอฟริกาเดินทางเข้าประเทศไทยรายสัญชาติ
ปี 2555 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 0.16 ล้านคน
เพิมขึนร้อยละ 17.36 เกิดจากปัจจัยการขยาย
่ ้
ตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องของประเทศ
แอฟริ ก าใต้ ซึ่ ง เป็ น ตลาดหลั ก ของภู มิ ภ าค
และการได้เข้ารวมกลุ่มประเทศเศรษฐกิจใหม่
BRICS (Brazil Russia India China and South
Africa) ส่งผลให้ประชาชนมีความเชื่อมั่นใน
การอุปโภคและบริโภค ขณะที่ตลาดอื่น ๆ ใน
กลุ่มก็ยังมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นในระดับที่ดี
เช่น เคนยา เอธิโอเปีย และไนจีเรีย
	 คาดการณ์สถานการณ์ท่องเที่ยวปี 2556
น่าจะมีการขยายตัวได้ดีต่อเนื่องทั้งจากตลาด
แอฟริ ก าใต้ และตลาดอื่ น ๆ โดยเฉพาะ
ตลาดเล็กในแถบแอฟริกาเหนือที่กำ�ลังเริ่มมี
การขยายตัวทางด้านธุรกิจการบินเชื่อมโยง
ไปยังภูมิภาคใกล้เคียง โดยมีสิ่งที่ต้องระวัง
ก็คือวิกฤตเศรษฐกิจในยุโรปที่อาจจะส่งผล
กระทบต่อเนื่องมาในภูมิภาคนี้เนื่องจากระบบ
เศรษฐกิจมีความเชื่อมโยงกันสูง

Tourism Jounal | 11
To u r i s m S i t u a t i o n

แนวโน้มสถานการณ์ทองเทียวตลาดต่างประเทศ
่ ่
ปี 2556
	 หากสถานการณ์ทองเทียวยังดำ�เนินเป็นไปอย่างปกติเหมือนเช่นปี
่ ่
ทีผานมา จำ�นวนนักท่องเทียวต่างประเทศทีจะเดินทางเข้าประเทศไทย
่่
่
่
ในปี 2556 จะมีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 24.5 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10
และสร้างรายได้จากตลาดต่างประเทศ จำ�นวน 1,137,000 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นร้อยละ 17 เนื่องจากตลาดในกลุ่มเอเชียมีการขยายตัวสูง ทั้ง
จากตลาดจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย หรือแม้แต่ตลาด
ในกลุมอาเซียน ซึงเป็นผลพวงจากนโยบายการเปิดประชาคมเศรษฐกิจ
่
่
อาเซียน ดังนั้นรายได้จากกลุ่มตลาดเอเชียน่าจะเข้ามามีบทบาทสำ�คัญ
ต่อการท่องเที่ยวของประเทศไทยนับแต่นี้ไป
	 โดยอัตราการเติบโตของรายได้จากตลาดต่างประเทศ ในปี 2556
จะเกิดขึ้นจากแรงขับเคลื่อนทั้งจากจำ�นวนนักท่องเที่ยว และค่าใช้จ่าย
เฉลียต่อทริปทีเ่ ริมมีการปรับตัวเพิมขึนหลังจากทีตกอยู่ในภาวะทรงตัว
่
่
่ ้
่
ในช่วง 4 -5 ปีทผานมา อันเป็นผลจากปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง
ี่ ่
ไทย ซึงสอดคล้องกับการสอบถามกับภาคธุรกิจโรงแรมทีลวนต่างมีการ
่
่้
ปรับขึ้นราคาขึ้นไปแล้ว ประมาณร้อยละ 5-10 เนื่องจากภาวะต้นทุน
ที่ปรับตัวสูงขึ้น และสถานการณ์ของประเทศไทยที่ได้ลดความผันผวน
ลง ซึ่งการประมาณการในครั้งนี้จะสูงกว่าการคาดการณ์ของสมาคม
ส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งเอเชียแปซิฟิค (PATA) ที่ประมาณการว่า
จำ�นวนนักท่องเที่ยวจะเดินทางเข้าประเทศไทย ในปี 2556 ขยายตัว
เพิ่มขึ้น ร้อยละ 9.7 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2555

12 | Tourism Jounal

ปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อตลาดต่างประเทศในปี 2556 คือ
	 1.	วิกฤตเศรษฐกิจตกตํ่าในยุโรปและอเมริกา และปัญหาความไม่
สงบในภูมิภาคตะวันออกกลาง
	 2.	ความผันผวนของราคานํามันในตลาดโลก และอัตราแลกเปลียน
้
่
ค่าเงิน
	 3.	วิกฤตภัยธรรมชาติ
	 4.	สภาวะการแข่งขันกันสูงทางด้านการท่องเที่ยว
	 อย่างไรก็ตาม ภายใต้ปัจจัยคุกคามที่เกิดขึ้นจากภายนอก การ
ท่องเที่ยวของประเทศไทยยังมีโอกาสช่วงชิงความได้เปรียบจากการ
ส่งเสริมตลาดเชิงรุกในกลุมตลาดเอเชีย ด้วยนโยบายการเปิดประชาคม
่
เศรษฐกิจอาเซียน เพราะนอกจากจะหมายรวมถึงกลุ่มประเทศใน
อาเซียนแล้ว ยังรวมไปถึงกลุ่มประเทศอื่น ๆ ในเอเชีย ที่ได้มีข้อตกลง
ความร่วมมือร่วมกัน เช่น กลุ่ม ASEAN +3 คือรวม จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้
และ ASEAN +6 คือรวม จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และ
นิวซีแลนด์ ซึงน่าจะทำ�ให้ตลาดนักท่องเทียวในกลุมเอเชียเข้ามาทดแทน
่
่
่
ความผันผวนและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในกลุ่มยุโรป อเมริกา และ
ตะวันออกกลาง ในช่วงปี 2556
เป้าหมายตลาดต่างประเทศ ปี 2556
จากทีประชุม TATAP’56 ได้ก�หนดเป้าหมายตลาดต่างประเทศ ในปี 2556 ให้มอตรา
่
ำ
ีั
การเติบโตทางด้านรายได้จากตลาดต่างประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 13 (รายได้ประมาณ
1,090,000 ล้านบาท) หรือมีจำ�นวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 8
(จำ�นวนนักท่องเที่ยวประมาณ 23.8 ล้านคน)
Tourism Jounal | 13
To u r i s m R e s e a r c h

เส้นทางการก้าวกระโดด
สู่การจัดการอย่างยั่งยืน
และกรณีตัวอย่าง

เกาะสมุย
เรื่อง ผศ. ดร.จุฑามาศ วิศาลสิงห์*

ความท้าทายของการนำ�แนวคิดการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนสู่การปฏิบัติมีให้
เห็นและเป็นที่ถกเถียงกันอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง ความพยายามที่จะให้ผลประโยชน์
จากการเติบโตของการท่องเที่ยวเห็นประจักษ์ว่าได้นำ�พามาซึ่งคุณภาพสังคม สภาพ
ที่ดีของสิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การแปลงแนวคิดการจัดการอย่างยั่งยืน
ได้นำ�ไปสู่การกำ�หนดนิยามใหม่ ๆ ที่นำ�เสนอจากหลากหลายกลุ่มเพื่อเป็น แนวปฏิบัติที่
เชื่อว่าในที่สุดจะนำ�ไปสู่จุดหมายแห่งการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ หากทบทวนและรวบรวม
Buzzwords เหล่านี้จะได้เป็น 4 แนวทาง คือ
* MD–Perfect Link Consulting Group
14 | Tourism Jounal
To u r i s m R e s e a r c h

1

	
แนวทางที่สร้างเส้น ทางเพื่อนำ�ไปสู่การ
	
เปลียนแปลง (Trend 1 Transition Network)
่
	
แนวคิดนีอยูในกลุมทีเ่ ห็นว่า การจัดการอย่าง
้ ่ ่
	
ยั่งยืนต้องอาศัยการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ
	
และพฤติกรรม โดยสร้างวิถการดำ�รงชีวต
ี
ิ
	
บนฐานของการลดการปล่ อ ยก๊ า ซ
คาร์บอนไดออกไซด์ ลดผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน หรือที่เราได้ยิน
กันเสมอตามแนวคิด Low Carbon Lifestyle การเปลี่ยนวิถีชีวิตและ
การบริหารจัดการอย่างเป็นมิตรกับสภาพอากาศเป็นอีกคำ�ศัพท์หนึ่ง
ที่จัดอยู่ ในกลุ่มนี้เช่นกัน (Climate Friendly Management) การ
เปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมนี้ ได้มีกลุ่มที่ตั้งขึ้นเพื่อรณรงค์ให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรที่เรียกว่า กลุ่ม Permaculture (Permanently Sustainable Culture) แนววิถีของกลุ่มนี้มีแนวคิดการดำ�รง
ชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอาคาร การออกแบบการใช้ผลิตภัณฑ์
ต่าง ๆ ทีสงผลกระทบน้อยต่อสิงแวดล้อมและคุณภาพชีวต กลุมแนวคิด
่่
่
ิ ่
เรื่อง Slow Food Slow Travel ควรจัดไว้ในกลุ่มแนวคิดนี้เช่นกัน

3

	
แ นว คิ ด กา ร ป รั บ ตั วใ ห้ อ ยู่ กั บ กา ร
	
เปลี่ ย นแปลงของสภาพอากาศและ
	
สิงแวดล้อม (Trend3ClimateAdaptation)
่
	
ภาวะวิ ก ฤตและภั ย ธรรมชาติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น
	
ทัวโลก ทำ�ให้หลากหลายหน่วยงานหันหน้า
่
	
มาช่วยกันคิดหากลยุทธ์แห่งการปรับตัว
(Adaptation Strategies) ทั้งในภาพกว้างคือคิดเชิงนโยบายและใน
การกำ�หนดแนวทางเพื่อประเมินสถานการณ์ในอนาคตและเตรียมแผน
รับมือโดยแน่นอนทีสดมีปจจัยขับเคลือนให้ตองมีแผนการรับมือนีทงใน
ุ่ ั
่
้
้ ั้
ระดับสากล ผลการศึกษาต่าง ๆ ที่พร้อมกันให้ความเห็นถึงผลที่จะตาม
มาจากการเปลียนแปลงของสภาพอากาศและผลกระทบทีจะเกิดในเชิง
่
่
เศรษฐกิจ ประเทศต่าง ๆ รวมทั้งประเทศไทยเริ่มหันมาให้ความสนใจ
กับความมั่นคงทางพลังงาน (Energy Security) การขาดแคลนนํ้ามัน
จะส่งผลอย่างไรและจะนำ�ไปสู่แผนในการปรับตัวต่อไปอย่างไร โดยมุ่ง
เน้นให้เกิด Inclusive Green Economy คิดครบด้าน เช่น เริ่มมีการตั้ง
คำ�ถามเตรียมแรงงานทีมความเชียวชาญด้านสิงแวดล้อม (Green Jobs)
่ี
่
่
โดยพบแล้วว่าควรให้แรงงานทุกระดับมีความเข้าใจการปรับตัวนี้อย่าง
ชัดเจน

4

2

	
แนวคิ ด การทำ � งานกั บ กลุ่ ม ชุ ม ชน
	
การสร้างการมีส่วนร่วมในระดับชุมชน
	
(Trend 2 Grassroots Community
	
Scale Opportunities) กลุ่มแนวคิดนี้
	
ให้ความสำ�คัญกับการทำ�งานแบบมีสวนร่วม
่
	
โดยไม่เชื่อว่าการจัดการแบบบนลงล่าง
(Top-down) จะได้ผล แต่เชือในการจัดการแบบระเบิดจากข้างใน โดย
่
เฉพาะการทำ�ให้ทุกฝ่ายมีสวนร่วมในการคิดจากล่างสู่บน (Bottom up)
่
Grassroots Innovations หรือที่เราอาจคุ้นเคยในความหมาย ปราชญ์
ชาวบ้าน ค้นหาความเป็นวิถีเดิมและนำ�มาประยุกต์สืบต่อให้เห็นว่าการ
ดำ�รงอยู่อย่างเดิมนำ�ไปสู่การจัดการอย่างยั่งยืนอยู่แล้ว

	
การสร้างเครือข่ายผูประกอบการ (Trend
้
	
4 Collaborative Entrepreneurship and
	
Sustainable Clusters) ในภาคส่วนที่มก
ั
	
ถูกมองว่าหวังผลประโยชน์ระยะสั้นคือ
	
ภาคเอกชน ในกลุ่มนี้ ได้เห็นการรวมตัว
	
เพื่อร่วมกันขยายพลังและนำ�ความสำ�เร็จ
จากองค์กรหนึงไปสูองค์กรหนึง มีการสร้างมาตรฐานเพือเป็นเครืองมือ
่ ่
่
่
่
ทางการตลาดมากขึนอย่างต่อเนือง (Inclusive Green Market) การจะ
้
่
นำ�ไปสูการปฏิบตได้ กลไกการยอมรับจากผูบริโภคคือหนึงในเครืองมือที่
่
ัิ
้
่
่
สำ�คัญ การบีบคันและกดดันเรียกร้องให้กระบวนการผลิตรักสิงแวดล้อม
้
่
มากขึ้นจะช่วยให้เกิดความหมายในเชิงเศรษฐกิจกับกลุ่มผู้ประกอบ
การมากขึ้น โดยปัจจุบันได้เริ่มมีการนำ�แนวคิด รับประกันผล Energy
Saving Guarantee Program โดยมีกลุ่มการทำ�งานที่ให้บริการโดยรับ
ประกันการลงทุนและผลตอบแทนทีจะเกิดจากการลงทุนทีเ่ กียวข้องกับ
่
่
สิ่งแวดล้อม ที่เรียกว่า ESCO (Energy Service Company) เช่น กรณี
ของโรงแรมที่ต้องการจะลดค่าไฟในแต่ละเดือน ESCO พร้อมเปลี่ยน
เครืองปรับอากาศและขอค่าตอบแทนเป็นเงินส่วนแบ่งจากจำ�นวนค่าไฟ
่
ที่โรงแรมสามารถลดไปได้ การประกันเช่นนี้สร้างแรงจูงใจได้อย่าง
กว้างขวางแนวคิดต่าง ๆ ที่ว่านี้ ได้รวบรวมไว้เพื่อเป็นฐานในการนำ�
ไปสู่การจัดการแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยขอยกตัวอย่างต้นแบบ
โครงการนำ�ร่องทีเ่ กาะสมุยได้ปรับกลวิธี และนำ�วิถทเี่ หมาะสมจนคิดค้น
ี
เป็น Samui Green Model
Tourism Jounal | 15
To u r i s m R e s e a r c h

กรณีตวอย่าง การจัดการท่องเทียวอย่างยังยืน
ั
่
่
เส้นทางก้าวกระโดดของเกาะสมุย
	 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ได้กำ�หนดแผนดำ�เนิน
การทางการส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น ในพื้ น ที่ เ กาะสมุ ย
จ.สุราษฎร์ธานี ตามแนวคิด 7 Greens โดยบูรณาการทำ�งานกับหน่วย
งานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ เพื่อให้เกิด
การดำ�เนินการที่เป็นรูปธรรม อันจะส่งผลให้พื้นที่เกาะสมุยได้รับการ
ยอมรับว่าเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่ดี
และได้รับการดูแลปกป้องอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับเป้าหมายองค์กร
ที่ต้องการให้ประเทศไทยเป็นที่ยอมรับในฐานะเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่
ทรงคุณค่า พร้อมทั้งปลูกจิตสำ�นึกในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมของ
แหล่งท่องเที่ยวให้คงอยู่อย่างยั่งยืนตามข้อเสนอโครงการนี้ได้นำ�เสนอ
แนวคิดดังกล่าวข้างต้นโดยใช้แนวคิดการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง
ยั่งยืนเป็นฐานคิดสำ�คัญในการทำ�ให้เกิดการจัดการที่เป็นรูปธรรม สู่
การท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism) โดยเล็งเห็นความสำ�คัญใน
การค้นหากลไกในการปฏิบัติการให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างแท้จริง ซึ่ง
การดำ�เนินการเพื่อผลนี้มีความจำ�เป็นต้องออกแบบการทำ�งานอย่าง
มีส่วนร่วม ตามหลักคิด “โดยชุมชน เพื่อชุมชน” แม้การดำ�เนินงาน
เพื่อก้าวสู่การจัดการสู่ความยั่งยืนอย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่ในมิติต่าง ๆ
จะได้เกิดขึ้นและมีหลายภาคส่วนร่วมกัน นำ�พาแนวคิดนี้ ให้เห็นผล
อย่ า งกว้ า งขวางมาระยะหนึ่ ง แล้ ว แต่ ก ลไกในการจั ด การพื้ น ที่ สี
เขียวที่มาจากความปรารถนาของชุมชน เพื่อชุมชน ตลอดจนการ
รวบรวมผลการดำ�เนินกิจกรรมไว้อย่างเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่าง
เป็นระบบ อันจะนำ�ไปสู่การประกาศความเป็นสินค้าและบริการเพื่อ
การท่องเที่ยวที่รักษาสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง จำ�เป็นต้องดำ�เนินการ
อย่างต่อเนืองและจริงจัง ดังนันโครงการนีจงดำ�เนินการบนพืนฐานความ
่
้
้ึ
้
ยังยืนในการจัดการ ทีควรมีการกำ�หนดแผนอย่างรอบคอบและละเอียด
่
่
ถี่ถ้วน เนื่องจากการจัดการเช่นนี้จำ�เป็นต้องนำ�ลักษณะเฉพาะของ
พื้นถิ่นมาเป็นปัจจัยหลักประกอบกับการคิดให้ได้ผลสัมฤทธิ์ทั้งในเชิง
การตลาดและการพัฒนาได้ครบถ้วน

การดำ � เนิ น งานนำ � เกาะสมุ ย สู่ ก ารท่ อ งเที่ ย วยั่ ง ยื น ตามแนวคิ ด การ
ท่ อ งเที่ ย วที่ รั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มในกรอบเฉพาะแนวคิ ด “7 Greens
Concept” นั้นจำ�เป็นต้องนำ�หลักคิดความเชื่อมโยงของหลากหลาย
องคาพยพทั้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงและข้างเคียงในการท่องเที่ยว ทั้งนี้
ทุ ก หน่ ว ยงานย่ อ มมี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ในการจั ด การการท่ อ งเที่ ย ว
ในพื้นที่ทั้งสิ้น ดังนั้นแผนงานจัดทำ�ตามกรอบการทำ�งานที่เกี่ยวข้องกับ
หลากหลายภาคส่วน ดังรูปประกอบการนำ�พืนทีสการจัดการสิงแวดล้อม
้ ่ ู่
่
สังคมและเศรษฐกิจ ต้องมิใช่การมุงไปทีผมสวนโดยตรงทีเ่ ป็น Primary
่ ่ ู้ ี ่
หรือผูทเี่ กียวข้องในภาคอุตสาหกรรมแต่อย่างเดียว จำ�เป็นต้องเชือมโยง
้ ่
่
ไปถึง Secondary คือ ผูทอาจมีสวนเกียวข้องรองลงมาหรือโดยอ้อม เช่น
้ ี่
่ ่
ร้านค้า ธนาคาร สือมวลชน และผูที่ได้รบผลกระทบจากการพัฒนาการ
่
้ ั
ท่องเที่ยวในพื้น ที่ เช่น การจัดการรถสาธารณะ การสาธารณสุข
การศึกษา ที่เรียกว่าเป็นกลุ่ม Tertiary ดังภาพประกอบด้านล่างนี้
Think outside the inner circle…

Primary (hotel, attractions, amenities, activities, entertainment,
tourism, transport…) Direct impact
Secondary (agriculture, retail, banking,
manufacturing, construction, communication, recreation…) Indirect impact
Tertiary (infrastructure, public transport, health services, education, police
& fire…) Dynamic impact

กรอบแนวคิดการดำ�เนินงาน
	 ดังกล่าวแล้วข้างต้นเพือให้เกิดพืนทีสเี ขียวอย่างครอบคลุมและเกิด
่
้ ่
การกระจายตัวของแนวคิดอย่างรวดเร็วและทัวถึง คณะทำ�งานและทีมที่
่
ปรึกษาทำ�หน้าทีสร้างกลไกในการขับเคลือนโดยเน้นการมีสวนร่วมและ
่
่
่
ดำ�เนินงานโดยชุมชน และมีการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยภาคส่วน
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นผู้เล็งเห็นความเร่งด่วนและความจำ�เป็นในการ
ริเริ่มและดำ�เนินการให้สำ�เร็จและกำ�หนดเป้าหมายให้ดำ�เนินงานได้ใน
กรอบระยะเวลาที่กำ�หนด โดยในระยะที่ 1 นี้ ใช้หลักคิดซึ่งประยุกต์
จากองค์กรรับรองมาตรฐานสิ่งแวดล้อมนานาชาติต่าง ๆ เช่น Earth
Check, Green Leaf Foundation คือ หลักการ A B C (Affiliation,
Benchmarking, Certification) โดยทั่วไปหน่วยงานเหล่านี้นำ�พาไปสู่
เป้าหมายการรับรอง (Certification)
16 | Tourism Jounal
To u r i s m R e s e a r c h

	 จากการระดมความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง เห็นตรงกันว่า หน่วย
งานเหล่านี้ มักมีมาตรฐานและข้อกำ�หนดที่ทำ�ให้หน่วยงานขนาดเล็ก
ไม่สามารถก้าวไปถึงฝันได้ ดังนั้นกรอบแนวคิดของโครงการนี้จึงนำ�
ความคิดในรูปแบบเราเป็นสีเขียวกันอย่างง่าย ๆ “ก้าววันละนิด ทำ�กัน
วันละอย่าง” ซึ่งจะเป็นการสร้างเส้นทาง (Pathway) ไปสู่การรับรอง
มาตรฐานได้ต่อไป โดยเริ่มจากการยอมรับ รักษา ปรารถนาที่จะร่วม
คือ Advocacy and Acceptance และ การเข้าสู่การประเมินตัวเอง
และการแข่งขันกับตนเองอย่างมีระบบ (Self-benchmark) และท้าย
สุดมีระบบในการจัดการที่จะดำ�เนินการต่ออย่างต่อเนื่องเห็นผล วัดได้
(Carry Forward)

Our A B C Samui Model
A = Advocacy, Acceptance “Yes, we can.”
B = (Self) Benchmarking “Yes, we are good.”
C = Carry Forward “Yes, we will continue to do better.”
Source: Perfect Link Consulting Group, 2012

บทส่งท้าย
	 เส้นทางสู่การจัดการอย่างยั่งยืนไม่เป็น
เพียงทางเลือกอีกต่อไป แต่เป็นความจำ�เป็น
ที่ต้องดำ�เนินการ ในแต่ละองค์กรแต่ละพื้นที่
แต่ละประเทศต้องพยายามคิดค้นกลวิธีที่จะ
ทำ�ให้สมฤทธิผลตามความเหมาะสมของสภาพ
ั ์
ของสังคมกันต่อไป

Samui Going Green Model
Tourism Jounal | 17
From the Cover

เรื่อง ชาตรี ประกิตนนทการ

18 | Tourism Jounal
From the Cover

	 ปรากฏการณ์สำ�คัญอย่างหนึ่งในกระแสท่องเที่ยวไทยในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา คือ การเกิดขึ้นอย่างมากมายของแหล่ง
ท่องเที่ยวชนิดใหม่ที่เรียกว่า “Retro Market” (ตลาดย้อนยุค)
	 Retro Market มิใช่การฟื้นฟูตลาดเก่าที่ซบเซาให้กลับมามีชีวิตใหม่เพียงอย่างเดียว เช่น ตลาดสามชุก หรือตลาดเก่า
ทั้งหลายที่นิยมพ่วงท้ายชื่อตลาดแบบใหม่ด้วยคำ�ฮิตว่า “100 ปี” แต่ในกรณีนี้ยังหมายรวมถึงการก่อสร้างพื้นที่ตลาดขึ้นมาใหม่
โดยตั้งใจออกแบบให้มีลักษณะของการจำ�ลองกลิ่นอายและบรรยากาศอันหวนรำ�ลึกย้อนไปถึงตลาดในอดีตเมื่อเกือบ 100 ปี
ที่ผ่านมา อาทิ ตลาดนํ้า 4 ภาค พัทยา, ตลาดนํ้าอโยธยา, เพลินวาน, หรือแม้กระทั่ง Cicada Market หัวหิน เป็นต้น
	 ที่น่าสนใจเป็นพิเศษจนต้องนำ�มาเขียนถึง ก็เพราะในทัศนะผม Retro Market มิได้เกี่ยวข้องสักเท่าไรเลยกับสำ�นึกว่าด้วยความ
ต้องการที่จะอนุรักษ์หรือรื้อฟื้น แบบแผนวิถีชีวิตดั้งเดิมที่ปรากฏอยู่ในตลาดเก่าทั้งหลายในแบบที่คนส่วนใหญ่มักจะพูดถึงกัน
เวลาเมื่อกล่าวถึงโครงการรื้อฟื้นตลาดเก่าให้กลับมามีชีวิตใหม่อีกครั้งแต่อย่างใด
	 โครงการเหล่านี้ โดยเนื้อแท้มิได้เกิดขึ้นมาเพื่อตอบสนองเป้าหมายและผู้ใช้สอยแบบเก่าอีกต่อไป แต่ตัวมันเองคือพื้นที่ชนิด
ใหม่ที่มิใช่ทำ�หน้าที่ขายแต่สิ่งของเครื่องใช้หรือของกินตามนิยามของตลาดแบบเดิมเพียงอย่างเดียว แต่ยังเป็นพื้นที่ที่เสนอขาย
ภาพลักษณ์และความแปลกใหม่ในสถานะของการเป็นสถานที่ท่องเที่ยวของคนชั้นกลางในเมืองไปพร้อม ๆ กัน
	 กล่าวให้ชัดเจนยิ่งขึ้นก็คือ Retro Market เป็นผลผลิตทางวัฒนธรรมการท่องเที่ยวของคนชั้นกลางในเมืองโดยเฉพาะ
อันเป็นผลพวงสืบเนื่องโดยตรงมาจากปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรมที่เราเรียกว่า “Nostalgia Tourism” (การท่องเที่ยว
แบบโหยหาอดีต)
Tourism Jounal | 19
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013
TAT TOURISM JOURNAL 2/2013

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Tdc1 article presentation
Tdc1 article presentationTdc1 article presentation
Tdc1 article presentationTDCTeacher
 
DECIZIA Nr.23 din 20 ianuarie 2016 referitoare la excepția de neconstituționa...
DECIZIA Nr.23 din 20 ianuarie 2016 referitoare la excepția de neconstituționa...DECIZIA Nr.23 din 20 ianuarie 2016 referitoare la excepția de neconstituționa...
DECIZIA Nr.23 din 20 ianuarie 2016 referitoare la excepția de neconstituționa...Badita Florin
 
ข้อบังคับ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3
ข้อบังคับ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3ข้อบังคับ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3
ข้อบังคับ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3Zabitan
 
Serie Nerea by Ortus Fitness
Serie Nerea by Ortus FitnessSerie Nerea by Ortus Fitness
Serie Nerea by Ortus FitnessOrtus Fitness
 
Catálogo casual collectives
Catálogo casual collectives Catálogo casual collectives
Catálogo casual collectives Ortus Fitness
 
From Social to Sales, presentation by Anthony Rawlins, Digital Visitor
From Social to Sales, presentation by Anthony Rawlins, Digital Visitor From Social to Sales, presentation by Anthony Rawlins, Digital Visitor
From Social to Sales, presentation by Anthony Rawlins, Digital Visitor Digital Visitor
 
Led게시물
Led게시물Led게시물
Led게시물cho1802
 
NATS + Docker meetup talk Oct - 2016
NATS + Docker meetup talk Oct - 2016NATS + Docker meetup talk Oct - 2016
NATS + Docker meetup talk Oct - 2016wallyqs
 
eTAT journal 3/2554
eTAT journal 3/2554eTAT journal 3/2554
eTAT journal 3/2554Zabitan
 
โพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
โพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาวโพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
โพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาวZabitan
 
Ex hair catalogue1
Ex hair catalogue1Ex hair catalogue1
Ex hair catalogue1fynng
 
Corporate Presentation-Carpet Manufacturer
Corporate Presentation-Carpet Manufacturer Corporate Presentation-Carpet Manufacturer
Corporate Presentation-Carpet Manufacturer Ankit Dutt
 
TAT Tourism Journal 1/2013 & 4/2012 (2555-2556)
TAT Tourism Journal 1/2013 & 4/2012 (2555-2556)TAT Tourism Journal 1/2013 & 4/2012 (2555-2556)
TAT Tourism Journal 1/2013 & 4/2012 (2555-2556)Zabitan
 
eTAT journal 4/2554
eTAT journal 4/2554eTAT journal 4/2554
eTAT journal 4/2554Zabitan
 
eTAT journal 3/2555
eTAT journal 3/2555eTAT journal 3/2555
eTAT journal 3/2555Zabitan
 
ระเบียบ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3
ระเบียบ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3ระเบียบ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3
ระเบียบ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3Zabitan
 

Andere mochten auch (20)

Ortus Fitness
Ortus FitnessOrtus Fitness
Ortus Fitness
 
Tdc1 article presentation
Tdc1 article presentationTdc1 article presentation
Tdc1 article presentation
 
DECIZIA Nr.23 din 20 ianuarie 2016 referitoare la excepția de neconstituționa...
DECIZIA Nr.23 din 20 ianuarie 2016 referitoare la excepția de neconstituționa...DECIZIA Nr.23 din 20 ianuarie 2016 referitoare la excepția de neconstituționa...
DECIZIA Nr.23 din 20 ianuarie 2016 referitoare la excepția de neconstituționa...
 
ข้อบังคับ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3
ข้อบังคับ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3ข้อบังคับ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3
ข้อบังคับ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3
 
Belleza al limite
Belleza al limiteBelleza al limite
Belleza al limite
 
Serie Nerea by Ortus Fitness
Serie Nerea by Ortus FitnessSerie Nerea by Ortus Fitness
Serie Nerea by Ortus Fitness
 
Catálogo casual collectives
Catálogo casual collectives Catálogo casual collectives
Catálogo casual collectives
 
From Social to Sales, presentation by Anthony Rawlins, Digital Visitor
From Social to Sales, presentation by Anthony Rawlins, Digital Visitor From Social to Sales, presentation by Anthony Rawlins, Digital Visitor
From Social to Sales, presentation by Anthony Rawlins, Digital Visitor
 
Led게시물
Led게시물Led게시물
Led게시물
 
Catálogo momentum
Catálogo momentumCatálogo momentum
Catálogo momentum
 
NATS + Docker meetup talk Oct - 2016
NATS + Docker meetup talk Oct - 2016NATS + Docker meetup talk Oct - 2016
NATS + Docker meetup talk Oct - 2016
 
eTAT journal 3/2554
eTAT journal 3/2554eTAT journal 3/2554
eTAT journal 3/2554
 
โพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
โพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาวโพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
โพล จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
 
Ex hair catalogue1
Ex hair catalogue1Ex hair catalogue1
Ex hair catalogue1
 
Corporate Presentation-Carpet Manufacturer
Corporate Presentation-Carpet Manufacturer Corporate Presentation-Carpet Manufacturer
Corporate Presentation-Carpet Manufacturer
 
TAT Tourism Journal 1/2013 & 4/2012 (2555-2556)
TAT Tourism Journal 1/2013 & 4/2012 (2555-2556)TAT Tourism Journal 1/2013 & 4/2012 (2555-2556)
TAT Tourism Journal 1/2013 & 4/2012 (2555-2556)
 
eTAT journal 4/2554
eTAT journal 4/2554eTAT journal 4/2554
eTAT journal 4/2554
 
eTAT journal 3/2555
eTAT journal 3/2555eTAT journal 3/2555
eTAT journal 3/2555
 
Activity6 project
Activity6 projectActivity6 project
Activity6 project
 
ระเบียบ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3
ระเบียบ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3ระเบียบ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3
ระเบียบ ของ นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3
 

Ähnlich wie TAT TOURISM JOURNAL 2/2013

eTAT journal 1/2555
eTAT journal 1/2555eTAT journal 1/2555
eTAT journal 1/2555Zabitan
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
TAT Review Magazine 1/2017
TAT Review Magazine 1/2017TAT Review Magazine 1/2017
TAT Review Magazine 1/2017Zabitan
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนsiep
 
งานนำเสนอ1คลัสเตอร์ระนอง
งานนำเสนอ1คลัสเตอร์ระนองงานนำเสนอ1คลัสเตอร์ระนอง
งานนำเสนอ1คลัสเตอร์ระนองjansom Hot spa Ranong Hotel
 
TAT Tourism Journal 1/2014
TAT Tourism Journal 1/2014TAT Tourism Journal 1/2014
TAT Tourism Journal 1/2014Zabitan
 
TAT Tourism Journal 4/2014
TAT Tourism Journal 4/2014TAT Tourism Journal 4/2014
TAT Tourism Journal 4/2014Zabitan
 
TAT Review Magazine 3/2015
TAT Review Magazine 3/2015TAT Review Magazine 3/2015
TAT Review Magazine 3/2015Zabitan
 
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือnattatira
 
15 clusters (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
15 clusters  (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก15 clusters  (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
15 clusters (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออกSuthat Wannalert
 

Ähnlich wie TAT TOURISM JOURNAL 2/2013 (12)

TAT The Journey
TAT The JourneyTAT The Journey
TAT The Journey
 
eTAT journal 1/2555
eTAT journal 1/2555eTAT journal 1/2555
eTAT journal 1/2555
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
TAT Review Magazine 1/2017
TAT Review Magazine 1/2017TAT Review Magazine 1/2017
TAT Review Magazine 1/2017
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
 
งานนำเสนอ1คลัสเตอร์ระนอง
งานนำเสนอ1คลัสเตอร์ระนองงานนำเสนอ1คลัสเตอร์ระนอง
งานนำเสนอ1คลัสเตอร์ระนอง
 
TAT Tourism Journal 1/2014
TAT Tourism Journal 1/2014TAT Tourism Journal 1/2014
TAT Tourism Journal 1/2014
 
TAT Tourism Journal 4/2014
TAT Tourism Journal 4/2014TAT Tourism Journal 4/2014
TAT Tourism Journal 4/2014
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยว
 
TAT Review Magazine 3/2015
TAT Review Magazine 3/2015TAT Review Magazine 3/2015
TAT Review Magazine 3/2015
 
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
15 clusters (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
15 clusters  (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก15 clusters  (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
15 clusters (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
 

Mehr von Zabitan

โลกวิทยาศาสตร์ 10
โลกวิทยาศาสตร์ 10โลกวิทยาศาสตร์ 10
โลกวิทยาศาสตร์ 10Zabitan
 
TAT Review Magazine 4/2016 [39 MB]
TAT Review Magazine 4/2016 [39 MB]TAT Review Magazine 4/2016 [39 MB]
TAT Review Magazine 4/2016 [39 MB]Zabitan
 
TAT Review Magazine 3/2016
TAT Review Magazine 3/2016TAT Review Magazine 3/2016
TAT Review Magazine 3/2016Zabitan
 
TAT Review Magazine 2/2016
TAT Review Magazine 2/2016TAT Review Magazine 2/2016
TAT Review Magazine 2/2016Zabitan
 
TAT Review Magazine 4/2015
TAT Review Magazine 4/2015TAT Review Magazine 4/2015
TAT Review Magazine 4/2015Zabitan
 
Infographic โครงการศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน (ศักยภาพสูง) 9 ประเทศ
Infographic โครงการศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน (ศักยภาพสูง) 9 ประเทศInfographic โครงการศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน (ศักยภาพสูง) 9 ประเทศ
Infographic โครงการศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน (ศักยภาพสูง) 9 ประเทศZabitan
 
Chang-Argad ช่างอากาศ เดือนมิถุนายน ปีพศ. 2500
Chang-Argad ช่างอากาศ เดือนมิถุนายน ปีพศ. 2500Chang-Argad ช่างอากาศ เดือนมิถุนายน ปีพศ. 2500
Chang-Argad ช่างอากาศ เดือนมิถุนายน ปีพศ. 2500Zabitan
 
TAT Review Magazine 2/2015
TAT Review Magazine 2/2015TAT Review Magazine 2/2015
TAT Review Magazine 2/2015Zabitan
 
Miti 4th no.01 Sep 1979
Miti 4th no.01 Sep 1979Miti 4th no.01 Sep 1979
Miti 4th no.01 Sep 1979Zabitan
 
A day with StormTrooper in Bangkok 2014
A day with StormTrooper in Bangkok 2014A day with StormTrooper in Bangkok 2014
A day with StormTrooper in Bangkok 2014Zabitan
 
Gunpla navigation catalogue 2014 Thailand
Gunpla navigation catalogue 2014 ThailandGunpla navigation catalogue 2014 Thailand
Gunpla navigation catalogue 2014 ThailandZabitan
 
TAT Tourism Journal 3/2014
TAT Tourism Journal 3/2014TAT Tourism Journal 3/2014
TAT Tourism Journal 3/2014Zabitan
 
TAT Review Magazine 1/2015
TAT Review Magazine 1/2015TAT Review Magazine 1/2015
TAT Review Magazine 1/2015Zabitan
 
TAT 2/2014
TAT 2/2014TAT 2/2014
TAT 2/2014Zabitan
 
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"Zabitan
 
Fatty acid test for Omega-3 in blood level
Fatty acid test for Omega-3 in blood levelFatty acid test for Omega-3 in blood level
Fatty acid test for Omega-3 in blood levelZabitan
 
รายงานวิจัย การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวในกลุ่มนักท่องเที่ยวต่างประ...
รายงานวิจัย การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวในกลุ่มนักท่องเที่ยวต่างประ...รายงานวิจัย การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวในกลุ่มนักท่องเที่ยวต่างประ...
รายงานวิจัย การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวในกลุ่มนักท่องเที่ยวต่างประ...Zabitan
 
การศึกษาศักยภาพและขนาดของตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มสุขภาพ กลุ่มกอล์ฟ กลุ่มการแต่ง...
การศึกษาศักยภาพและขนาดของตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มสุขภาพ กลุ่มกอล์ฟ กลุ่มการแต่ง...การศึกษาศักยภาพและขนาดของตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มสุขภาพ กลุ่มกอล์ฟ กลุ่มการแต่ง...
การศึกษาศักยภาพและขนาดของตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มสุขภาพ กลุ่มกอล์ฟ กลุ่มการแต่ง...Zabitan
 
Gunpla Navigation Catalog 2013
Gunpla Navigation Catalog 2013Gunpla Navigation Catalog 2013
Gunpla Navigation Catalog 2013Zabitan
 
Barcelona, Spain 2008: my Euro Trip 3A
Barcelona, Spain 2008: my Euro Trip 3ABarcelona, Spain 2008: my Euro Trip 3A
Barcelona, Spain 2008: my Euro Trip 3AZabitan
 

Mehr von Zabitan (20)

โลกวิทยาศาสตร์ 10
โลกวิทยาศาสตร์ 10โลกวิทยาศาสตร์ 10
โลกวิทยาศาสตร์ 10
 
TAT Review Magazine 4/2016 [39 MB]
TAT Review Magazine 4/2016 [39 MB]TAT Review Magazine 4/2016 [39 MB]
TAT Review Magazine 4/2016 [39 MB]
 
TAT Review Magazine 3/2016
TAT Review Magazine 3/2016TAT Review Magazine 3/2016
TAT Review Magazine 3/2016
 
TAT Review Magazine 2/2016
TAT Review Magazine 2/2016TAT Review Magazine 2/2016
TAT Review Magazine 2/2016
 
TAT Review Magazine 4/2015
TAT Review Magazine 4/2015TAT Review Magazine 4/2015
TAT Review Magazine 4/2015
 
Infographic โครงการศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน (ศักยภาพสูง) 9 ประเทศ
Infographic โครงการศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน (ศักยภาพสูง) 9 ประเทศInfographic โครงการศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน (ศักยภาพสูง) 9 ประเทศ
Infographic โครงการศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน (ศักยภาพสูง) 9 ประเทศ
 
Chang-Argad ช่างอากาศ เดือนมิถุนายน ปีพศ. 2500
Chang-Argad ช่างอากาศ เดือนมิถุนายน ปีพศ. 2500Chang-Argad ช่างอากาศ เดือนมิถุนายน ปีพศ. 2500
Chang-Argad ช่างอากาศ เดือนมิถุนายน ปีพศ. 2500
 
TAT Review Magazine 2/2015
TAT Review Magazine 2/2015TAT Review Magazine 2/2015
TAT Review Magazine 2/2015
 
Miti 4th no.01 Sep 1979
Miti 4th no.01 Sep 1979Miti 4th no.01 Sep 1979
Miti 4th no.01 Sep 1979
 
A day with StormTrooper in Bangkok 2014
A day with StormTrooper in Bangkok 2014A day with StormTrooper in Bangkok 2014
A day with StormTrooper in Bangkok 2014
 
Gunpla navigation catalogue 2014 Thailand
Gunpla navigation catalogue 2014 ThailandGunpla navigation catalogue 2014 Thailand
Gunpla navigation catalogue 2014 Thailand
 
TAT Tourism Journal 3/2014
TAT Tourism Journal 3/2014TAT Tourism Journal 3/2014
TAT Tourism Journal 3/2014
 
TAT Review Magazine 1/2015
TAT Review Magazine 1/2015TAT Review Magazine 1/2015
TAT Review Magazine 1/2015
 
TAT 2/2014
TAT 2/2014TAT 2/2014
TAT 2/2014
 
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
 
Fatty acid test for Omega-3 in blood level
Fatty acid test for Omega-3 in blood levelFatty acid test for Omega-3 in blood level
Fatty acid test for Omega-3 in blood level
 
รายงานวิจัย การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวในกลุ่มนักท่องเที่ยวต่างประ...
รายงานวิจัย การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวในกลุ่มนักท่องเที่ยวต่างประ...รายงานวิจัย การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวในกลุ่มนักท่องเที่ยวต่างประ...
รายงานวิจัย การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวในกลุ่มนักท่องเที่ยวต่างประ...
 
การศึกษาศักยภาพและขนาดของตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มสุขภาพ กลุ่มกอล์ฟ กลุ่มการแต่ง...
การศึกษาศักยภาพและขนาดของตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มสุขภาพ กลุ่มกอล์ฟ กลุ่มการแต่ง...การศึกษาศักยภาพและขนาดของตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มสุขภาพ กลุ่มกอล์ฟ กลุ่มการแต่ง...
การศึกษาศักยภาพและขนาดของตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มสุขภาพ กลุ่มกอล์ฟ กลุ่มการแต่ง...
 
Gunpla Navigation Catalog 2013
Gunpla Navigation Catalog 2013Gunpla Navigation Catalog 2013
Gunpla Navigation Catalog 2013
 
Barcelona, Spain 2008: my Euro Trip 3A
Barcelona, Spain 2008: my Euro Trip 3ABarcelona, Spain 2008: my Euro Trip 3A
Barcelona, Spain 2008: my Euro Trip 3A
 

TAT TOURISM JOURNAL 2/2013

  • 1.
  • 2. เจ้าของ  การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย คณะที่ปรึกษา  สุรพล เศวตเศรนี อักกพล พฤกษะวัน สุวรรณชัย ฤทธิรักษ์ จุฑาพร เริงรณอาษา สรรเสริญ เงารังษี  ประกิตติ์ พิริยะเกียรติ    วิไลวรรณ ทวิชศรี         ธวัชชัย อรัญญิก    พงศธร เกษสำ�ลี      อภิชาติ อินทร์พงษ์พันธุ์    สันติ ชุดินธรา    ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ที่ปรึกษาระดับ 11 ที่ปรึกษาระดับ 10 รองผู้ว่าการด้านตลาดยุโรป แอฟริกา ตะวันออกกลาง และอเมริกา รองผู้ว่าการด้านตลาดเอเชีย และแปซิฟิกใต้ รองผู้ว่าการด้านสื่อสารการตลาด รองผู้ว่าการด้านสินค้าและธุรกิจท่องเที่ยว รองผู้ว่าการด้านตลาดในประเทศ รองผู้ว่าการด้านนโยบายและแผน รองผู้ว่าการด้านบริหาร ผู้อำ�นวยการฝ่ายวางแผน บรรณาธิการ    ยุวดี นิรัตน์ตระกูล ผู้อำ�นวยการกองวิจัยการตลาด กองบรรณาธิการ  อ้อยทิพย์ นิธิยานันท์       กุลปราโมทย์ วรรณะเลิศ   ชูวิทย์ ศิริเวชกุล           ฐาปนีย์ เกียรติไพบูลย์     พรหมเมธ นาถมทอง      โศรยา หอมชื่น              ณัฎฐิรา อำ�พลพรรณ        สุจิตรา แย้มงามเหลือ      ผู้อำ�นวยการกองประชาสัมพันธ์ในประเทศ ผู้อำ�นวยการ ททท.สำ�นักงานลอสแอนเจลิส ผู้อำ�นวยการกองกลยุทธ์การตลาด ผู้อำ�นวยการกองสารสนเทศการตลาด ผู้อำ�นวยการกองส่งเสริมบริการท่องเที่ยว หัวหน้างานวิชาการ พนักงานวางแผน พนักงานบันทึกข้อมูล Tourism Jounal
  • 3. คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)** เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท ภาคปกติ เรียนวันธรรมดา หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ วิชาเอก นโยบาย การวางแผนและการจัดการ การท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ วิชาเอก การจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ ปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ สนใจติดต่อ โทร. 02-7273671-3 หรือ www.nits.nida.ac.th ** สถาบันบัณทิตพัฒนบริหารศาสตร์(NIDA)เป็นสถาบันการศึกษาของรัฐ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งตามพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2509 74 | Tourism Jounal
  • 4. Content สารบัญ 4-13 14-17 30-39 | Tourism Situation • สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวตลาดต่างประเทศ ปี 2555 และแนวโน้มปี 2556 | Tourism Research • เส้นทางการก้าวกระโดดสู่การจัดการอย่างยั่งยืนและกรณีตัวอย่างเกาะสมุย | Tourism Seminar 40-47 | Tourism Talk • ทัศนะของผู้ประกอบการท่องเที่ยวที่มีต่อการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) • ทัศนะของผู้ประกอบการเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโลกที่ส่งผลต่อการท่องเที่ยว ไทยในปี 2556 • Cruise Shipping Asia-Pacific 2012 • รายได้ก้าวกระโดด ด้วยอาหารไทย 18-22 24-29 • เที่ยวบนอาน | From the Cover Retro Market ในกระแส Nostalgia Tourism • ภาพตัวแทนของความเป็นไทย 48-53 54-59 61-71 | Tourism Trend • เป็นไทย ไม่เป็นทาส | Pop Culture Tourism | Tourism @ AEC • โอกาสทางการตลาดท่องเทียวไทยบนความท้าทายกับการก้าวสู่ AEC (ตอนที่ 1) ่ • อาเซียนมีทะเลยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก ! Tourism Journal 2/2013 จุลสารฉบับนี้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้กระดาษ EPO (EcoPaque offset) และหมึกพิมพ์จากนํ้ามันถั่วเหลืองที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตราสัญลักษณ์ จากเล่มเดิมอนุญาต ให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตครีเอทีฟ คอมมอนส์แสดงที่มา-ไม่ใช่เพื่อการค้าอนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย 2 | Tourism Jounal | Low Carbon Tourism จุลสารวิชาการการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 1600 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0 2250 5500 ต่อ 2620-2 โทรสาร : 0 2253 7468 Tourism Authority of Thailand 1600 New Phetchaburi Road, Makkasan, Ratchathewi, Bangkok 10400, Thailand tel: +66 2250 5500 ext. 2620-2 fax: +66 2253 7468 email: etatjournal@tat.or.th website: etatjournal.com ebook: www.issuu.com/etatjournal www.ebooks.in.th/etatjournal twitter: @etatjournal
  • 5. บทบรรณาธิการ ในช่วงปี 2540 สมัยทียงรับผิดชอบงานด้านอนุรกษ์ ของ ททท. ได้ออกจดหมายข่าวรายเดือน ่ั ั ชื่อ ecotourism newsletter โดยทำ�หน้าที่เป็นบรรณาธิการ เนื้อหาส่วนใหญ่ ก็จะป้วนเปี้ยนอยู่ กับเรืองกิจกรรมการอนุรกษ์ทเี่ ชือมโยงกับเรืองการท่องเทียว ชือคอลัมน์กจะตังให้อยู่ใน theme ่ ั ่ ่ ่ ่ ็ ้ เรื่อง ecotourism คอลัมน์ที่นำ�เสนอ เช่น eco movement / eco seminars / eco activities / eco talks เป็นต้น เมื่อหวนกลับไปคิดเรื่องนี้มีเรื่องบางเรื่องที่ ไม่เคยเลือนไปจากความทรงจำ� อย่างเรื่องที่ เขียนพาดพิงถึงแนวกำ�แพงที่หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ หรือ เรื่องที่พาดพิงกรมป่าไม้ (สมัยนั้น หน่วยงานที่ดูแลอุทยานแห่งชาติ คือ กรมป่าไม้) กรณี การส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมการสัมมนาและการเก็บประเด็นไปทำ�งานต่อ เรื่องท่องเที่ยวจักรยานเป็นอีกเรื่องที่ ได้รับความนิยม  มีการสรุปผลการเข้าประชุมเมือง จักรยานที่ออสเตรเลีย และ ททท. ก็ผลักดันกิจกรรมการท่องเที่ยวด้วยจักรยาน อย่างต่อเนื่อง ทริปจักรยานที่จัดต่อเนื่องกันทุกปี อย่างทริปที่ popular มีชาวต่างชาติเข้าร่วมกิจกรรมจำ�นวน เพิ่มขึ้นทุกปีคือทริปที่ขี่ข้ามประเทศ จากเชียงรายออกไปเชียงรุ้ง สิบสองปันนา จากนั้น ก็นั่ง เรือกลับ นี่ยังไม่รวมทริป around Thailand ที่ขี่กันเป็นเดือน หรือทริปขี่สั้น ๆ ในเมืองเล็ก ๆ ตอนนี้ ecotourism newsletter ก็เหลือเพียงแค่ความทรงจำ� เพราะได้เลิกทำ�ไปเมื่อ ประมาณปี 2544 สิ่งที่ดีอย่างหนึ่งสำ�หรับคนทำ�งาน ก็คือ เราได้ทำ�เรื่องที่เราอยากทำ� และเรา ได้เพื่อนที่ชอบอะไรเหมือน ๆ กันเพิ่มขึ้น และคบหากันจนถึงวันนี้ บทสนทนาเมื่อเจอกันตอนนี้ ก็มักจะรื้อฟื้นเรื่องเก่า ๆ มาคุยกัน ตลอดจนการ up date เรื่องสถานการณ์ปัจจุบัน กลับมาสู่ เรื่องราวในปัจจุบัน ททท. เดินหน้าต่อเนื่องเรื่องการอนุรักษ์ ด้วยโครงการ 7 greens พร้อม ๆ กับการส่งเสริม การตลาด สร้างภาพลักษณ์ประเทศไทย การส่งเสริมให้คนไทยเทียวเมืองไทย และสิงหนึงทีมงเน้น ่ ่ ่ ่ ุ่ ในปีนี้ คือ เรื่อง วิถีไทย หรือ Thainess / Thai ways of life TAT Tourism Journal ไตรมาสนี้ มีเรื่องที่เกี่ยวกับ วิถีไทย / ความเป็นไทย / ไทย ไทย หลายเรื่อง เช่น เป็นไทย ไม่เป็นทาส คอลัมน์ pop culture tourism หรือบทสัมภาษณ์ท่าน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต เรื่อง รายได้ก้าวกระโดดด้วยอาหารไทย รวมทั้งเรื่อง จากปก ไตรมาสนี้ เป็นเรื่อง retro market ในกระแส nostalgia tourism  ลองพลิกอ่านกันดู ในช่วงที่ผ่านมา มีการนำ�ภูมิปัญญาไทยมาประยุกต์ใช้ และสร้างปรากฏการณ์เล็ก ๆ ที่น่า สนใจ คือ กรณี เหล้าพื้นถิ่น ที่ตั้งชื่อแบรนด์ว่า หมาใจดำ� อันนี้ ทำ�มาได้ประมาณ 5-6 ปีแล้ว โด่งดังในวงคนกลุ่มหนึ่ง เป็นเหล้าที่ทำ�จากนํ้าหวานของดอกมะพร้าว และโด่งดัง อื้ออึงที่จังหวัด เชียงใหม่  ที่ชอบมาก คือ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ทำ�ได้ modern มาก เป็นเหมือนขวดวอดก้า ไอเดียอันนี้ โดนจริง ๆ หรือ อีกกรณีหนึ่งคือ ยีนส์หนุมาน เป็นยีนส์สัญชาติไทย ใส่ความเป็นไทยในยีนส์ เช่น กระดุมรูปหนุมาน ลายสัก ลายยันต์ ตอนนี้ดังในระดับนานาชาติ ประเด็นเล็ก ๆ เรื่อง หมาใจดำ� และยีนส์หนุมาน เคยกล่าวถึงในบทสัมภาษณ์ คุณชาติฉกาจ ไวยกวี  real touristic น่าจะเป็น ไตรมาส 2 ปี 2555 ไตรมาสนี้ ก็ประมาณนี้ ไม่มีเรื่องผู้ว่า กทมฺ. ไม่มีเรื่อง Harlem Shake ไม่มีเรื่อง Fifty Shades of Grey ไม่มีเรื่องการเตรียมรับมือกับวิกฤติไฟฟ้า 5-12 เมษายน 2556 และไม่มีเรื่อง ตอบโจทย์ประเทศไทย แค่นี้นะ จบนะ ยุวดี นิรัตน์ตระกูล Tourism Jounal | 3
  • 6. To u r i s m S i t u a t i o n สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยว ตลาดต่างประเทศ ปี และแนวโน้ม ปี เรื่อง สิรินาถ ฉัตรศุภกุล ภาพรวมสถานการณ์การเดินทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั่วโลก จากข้อมูลขององค์การการท่องเที่ยวโลก คาดว่า ปี 2555 การเดินทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศ จะขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 4 มีจำ�นวนการเดินทางระหว่างประเทศถึง 4 | Tourism Jounal
  • 7. To u r i s m S i t u a t i o n ซึ่งเป็นอัตราการขยายตัวที่สูงกว่าการคาดการณ์ แนวโน้มในระยะยาว 10 ปี (ปี 2553-2563) ว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 ทั้งนี้ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก มีการขยายตัวอย่างเข้มแข็ง เพิ่มขึ้นสูงสุดถึงร้อยละ 7 ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลของสมาคมส่งเสริมการท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (PATA) คาดว่าในปี 2555 จำ�นวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่จะเดินทางเข้าภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 6 เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยภูมิภาคที่ขยายตัวได้ดีที่สุด คือ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 8 ทั้งนี้ PATA ได้คาดการณ์จำ�นวนนักท่องเที่ยว เดินทางมายังประเทศไทยจะมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 11 เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา Tourism Jounal | 5
  • 8. To u r i s m S i t u a t i o n อัตรา การขยายตัว ทางด้าน จำ�นวน นักท่องเที่ยว กลุ่มตลาดที่มีขนาดใหญ่ เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 31.52 อาเซียน เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.78 ยุโรป เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.12 สถานการณ์ ตลาดต่างประเทศ สถานการณ์ นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งประเทศเดิ น ทางเข้ า มายั ง ประเทศไทย ปี 2555 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 22.3 ล้านคน อัตรา การขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15.98 เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา (จากข้อมูลของกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ณ เดือนมกราคม 2556) โดยปรับตัวดีขนทุกกลุมตลาดทังทางด้านจำ�นวน ึ้ ่ ้ นักท่องเที่ยวและค่าใช้จ่ายสำ�หรับการเดินทางท่องเที่ยวประเทศไทย เมื่อสิ้นวิกฤตอุทกภัยในประเทศไทย จึงคาดว่ารายได้จากตลาดต่าง ประเทศ ปี 2555 จะมีประมาณ 970,000 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 25 (ประมาณการจากผลการสำ�รวจโครงการค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว ต่างประเทศเดินทางท่องเที่ยวไทย 3 ไตรมาส ของปี 2555) แม้ว่าจะ เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบภายในประเทศไทยบ้าง อาทิ การลอบวาง ระเบิดในพื้นที่กรุงเทพฯ การลอบวางระเบิดในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ และเหตุการณ์ชมนุมจากปัญหาความขัดแย้งทางด้านการเมือง ุ ไทย ซึงก็เป็นเพียงผลกระทบในช่วงระยะเวลาสัน ๆ จึงทำ�ให้สนปี 2555 ่ ้ ิ้ นักท่องเทียวต่างประเทศเดินทางเข้าประเทศไทยได้บรรลุเกินเป้าหมาย ่ ที่กำ�หนดว่าจะสร้างรายได้จากตลาดต่างประเทศ เพิ่มขึ้นในอัตรา ร้อยละ 9 หรือมีจ�นวนนักท่องเทียวต่างประเทศ เพิมขึนร้อยละ 7 เมือ ำ ่ ่ ้ ่ เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา ปัจจัยที่สนับสนุนให้นักท่องเที่ยวต่างประเทศเติบโตได้ดี คือ 6 | Tourism Jounal 1. การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคเอเชีย รวม ทั้งการฟื้นตัวหลังประสบภัยสึนามิในประเทศญี่ปุ่น 2. ความสงบสุขของประเทศไทยจากการไม่เกิดปัญหาความขัดแย้ง ทางการเมือง 3. พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเอเชียที่นิยมเดิน ทางท่องเที่ยว ภายในภูมิภาค และในกลุ่มตลาดระยะไกลทั้งยุโรปและอเมริกาก็ยังมี ความชื่นชอบเดินทางท่องเที่ยวในภูมิภาคเอเชียอีกด้วย 4. การส่งเสริมตลาดเชิงรุกในตลาดจีน ทั้งการเปิดสำ�นักงานแห่ง ใหม่และการสนับสนุนให้เปิดเที่ยวบินเช่าเหมาลำ�บินตรงจากเมืองรอง ของประเทศจีนเข้ามายังประเทศไทย ส่งผลให้ประเทศไทยได้รับนัก ท่องเที่ยวจีน ขยับขึ้นมาเป็นตลาดที่ครองอันดับ 1 ในปี 2555 5. การไม่เกิดวิกฤตภัยธรรมชาติในประเทศไทยเหมือนเช่นปีทผานมา ่ี ่ 6. นโยบายการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี 2558 (Asean Economics Community: AEC) ส่งผลให้ตลาดในกลุ่มอาเซียนมีการ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการเปิดเสรีและเกิดการเดินทางแลก เปลี่ยนระหว่างกันมากขึ้น โดยกลุ่ ม ตลาดที่ ผ ลั ก ดั น ให้ ภ าพรวมนั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งประเทศของ ประเทศไทยขยายตัวในระดับทีดี คือ กลุมตลาดเอเชีย ขณะทีกลุมตลาด ่ ่ ่ ่ ยุโรปและอเมริกา เป็นเพียงการรักษาระดับอัตราการเติบโตเพราะกำ�ลัง
  • 9. To u r i s m S i t u a t i o n กลุ่มตลาดที่มีขนาดกลาง-เล็ก เอเชียใต้ ตะวันออกกลาง เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.36 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.58 อเมริกา แอฟริกา เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.40 เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.36 โอเชียเนีย เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.13 ประสบภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ตลาดในกลุ่มตะวันออกกลาง ยังดู น่าเป็นกังวลเพราะผลของการเกิดเหตุการณ์ความวุนวายภายในภูมภาค ่ ิ ประกอบกับมาตรการควํ่าบาตรอย่างจริงจังของประเทศสหรัฐฯ ที่มีต่อ ประเทศอิหร่าน ส่งผลให้ภาพรวมกลุมตลาดตะวันออกกลางไม่ขยายตัว ่ ในช่วงปี 2555 โดยในแต่ละกลุ่มตลาดมีอัตราการขยายตัวทางด้าน จำ�นวนนักท่องเที่ยว ดังต่อไปนี้ -กลุ่มตลาดที่มีขนาดใหญ่ : เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ 6.24 ล้าน คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 31.52 อาเซียน 6.25 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.78 ยุโรป 5.61 ล้านคน เพิมขึนร้อยละ 10.12 เมือเปรียบเทียบกับปีทผ่านมา ่ ้ ่ ี่ -กลุ่มตลาดที่มีขนาดกลาง-เล็ก : เอเชียใต้ 1.28 ล้านคน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 11.36 อเมริกา 1.08 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.40 โอเชียเนีย 1.04 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.13 ตะวันออกกลาง 0.60 ล้านคน เพิ่ม ขึ้นร้อยละ 0.58 และแอฟริกา 0.16 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.36 เมื่อ เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา แม้จะเกิดอุปสรรคขัดขวางการเดินทางท่องเทียวไทยหลายประการ เช่น ่ 1. ผลกระทบทางด้านภาพลักษณ์ความไม่ปลอดภัยในการเดินทาง ท่องเที่ยวประเทศไทย จากการเกิดเหตุระเบิด และมีการเผยแพร่ขาว ่ นักท่องเที่ยวต่างประเทศเสียชีวิตในประเทศไทยหลายครั้ง 2. การชุมนุมประท้วงภายในประเทศ จากปัญหาความขัดแย้ง ทางการเมืองไทย 3. การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจตกตําในยุโรปและในสหรัฐอเมริกา รวม ่ ทังการเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในภูมภาคตะวันออกกลางทียงไม่สนสุด ้ ิ ่ ั ้ิ 4. การปรับขึ้นค่าธรรมเนียมนํ้ามัน (Fuel Surcharge) 5. การแข่งขันสูงทางด้านการท่องเทียว และคูแข่งหน้าใหม่ทเ่ี พิมขึน ่ ่ ่ ้ ซึ่ ง หากพิ จ ารณาเที ย บกั บ ประเทศคู่ แ ข่ ง ขั น ภายในภู มิ ภ าคเอเชี ย ในช่วงปี 2555 ประเทศไทยยังรักษาระดับอัตราการเติบโตทางด้านจำ�นวน นักท่องเที่ยวในระดับที่ดีและสูงกว่าอัตราการเติบโต ภาพรวมของ ภูมภาคเอเชียแปซิฟกทีคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 8 โดยประเทศคูแข่งขัน ิ ิ ่ ่ สำ�คัญ ๆ ทีลวนมีการปรับตัวในระดับดี อาทิ เวียดนาม ทังปี 2555 เพิมขึน ่้ ้ ่ ้ ร้อยละ 9.5 ส่วนประเทศคูแข่งขันทีเ่ หลือ ก็มรายงานจำ�นวนนักท่องเทียว ่ ี ่ ต่างประเทศขยายตัวในระดับทีดเี ช่นกัน เช่น ญีปน ในช่วง 11 เดือนแรก ่ ่ ุ่ ของปี 2555 เพิ่มขึ้นสูงร้อยละ 36 หลังฟื้นตัวจากภัยพิบัติสึนามิ ตาม มาด้วย ฮ่องกง เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.1 เกาหลีใต้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.1 สำ�หรับมาเลเซีย ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2555 ขยายตัวเพียง ร้อยละ 0.7 ทั้งนี้ประเทศที่เป็นตลาดใหม่กำ�ลังได้รับความสนใจในเวที โลก คือ เมียนมาร์ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 42 กัมพูชาเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.6 และลาว เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 12 ที่ ล้ ว นต่ า งมี อั ต ราการเติ บ โต ที่สูง ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2555 Tourism Jounal | 7
  • 10. To u r i s m S i t u a t i o n กลุ่มตลาดอาเซียน สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวรายกลุ่มตลาด ปี 2555 กลุ่มตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ สถานการณ์นักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือเดินทางเข้าประเทศไทย รายสัญชาติ ปี 2555 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 6.24 ล้านคน ขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 31.51 จาก แรงเติบโตดีของเกือบทุกตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งตลาดจีน มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นสูงสุด ร้อยละ 62 มีเพียงตลาดไต้หวัน ทีมอตราการขยายตัวติดลบร้อยละ 11 ปัจจัยทีท�ให้กลุมตลาดนี้ ่ีั ่ำ ่ ขยายตัวได้สง คือ การฟืนตัวหลังสินวิกฤตอุทกภัยในประเทศไทย สภาพเศรษฐกิจของกลุมตลาด ู ้ ้ ่ เอเชียทีก�ลังเติบโต และการส่งเสริมตลาดเชิงรุกในจีน เช่น การเปิดสำ�นักงานเพิมในประเทศจีน ่ำ ่ และการสนับสนุนการเพิ่มเที่ยวบินเช่าเหมาลำ� รวมทั้งการฟื้นกลับมาเดิน ทางท่องเที่ยว เป็นปกติของตลาดญี่ปุ่นหลังประสบภัยพิบัติสึนามิ ซึ่งนอกจากนี้ ผลจากการเกิดข้อพิพาท ระหว่างประเทศจีนและญีปน ในเรืองเกาะเตียวหยู และระหว่างประเทศญีปนกับเกาหลี ในเรือง ่ ุ่ ่ ่ ุ่ ่ เกาะทาเกชิมะ ทำ�ให้นกท่องเทียวในกลุมเหล่านีเ้ ปลียนเส้นทางมาท่องเทียวไทยแทนในบางส่วน ั ่ ่ ่ ่ คาดการณ์สถานการณ์ท่องเที่ยวในช่วงปี 2556 น่าจะมีการเติบโตได้ดีต่อเนื่องจากปัจจัย ผลักดันทางด้านบวกที่มีอยู่มาก รวมทั้งการขยายตัวของธุรกิจสายการบิน เช่น ในตลาดจีน มี การเปิดเส้นทางบินและเพิ่มเที่ยวบินของบริษัท Air Asia ในเส้นทางซีอาน–กรุงเทพฯ จำ�นวน 7 เที่ยว/สัปดาห์ และหวูฮั่น–กรุงเทพฯ จำ�นวน 7 เที่ยว/สัปดาห์ บริษัทการบินไทย เพิ่มความถี่ใน เส้นทางปักกิ่ง–กรุงเทพฯ จาก 11 เที่ยวบิน เป็น 14 เที่ยว/สัปดาห์ ในช่วงเดือนตุลาคม 2555 ในตลาดญี่ปุ่น บริษัทการบินไทย เพิ่มเที่ยวบินในเส้นทาง ซับโปโร–กรุงเทพฯ จาก 3 เที่ยวบิน เป็น 4 เที่ยว/สัปดาห์ และเส้นทางนาโกยา–กรุงเทพฯ จาก 3 เที่ยวบิน เป็น 4 เที่ยว/สัปดาห์ เริ่มในตารางบินฤดูหนาว ปี 2555 ส่วนตลาดเกาหลีใต้ บริษัทการบินไทย เพิ่มเที่ยวบินในเส้น ทาง โซล–กรุงเทพฯ จาก 14 เที่ยวบิน เป็น 18 เที่ยว/สัปดาห์ เส้นทางปูซาน–กรุงเทพฯ จาก 3 เที่ยวบิน เป็น 5 เที่ยว/สัปดาห์ และในเส้นทางโซล–ภูเก็ต จาก 5 เที่ยวบิน เป็น 7 เที่ยว/ สัปดาห์ เป็นต้น 8 | Tourism Jounal สถานการณ์ นั ก ท่ อ งเที่ ย วกลุ่ ม ตลาด อาเซียนเดินทางเข้าประเทศไทยรายสัญชาติ ปี 2555 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 6.25 ล้าน คน ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.78 สาเหตุ เกิดจากทุกตลาดมีอัตราการขยายตัวในอัตรา เพิ่มที่ดี ยกเว้น ตลาดมาเลเซีย ที่มีอัตราการ เติบโตเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 2 เป็นผลมาจาก เหตุระเบิดอย่างรุนแรงที่อำ�เภอหาดใหญ่ โดย ปัจจัยที่ผลักดันให้ตลาดในภูมิภาคนี้ขยายตัว ได้สูง คือ สภาพเศรษฐกิจที่กำ�ลังเติบโต การ เดินทางที่สะดวกและมีระยะทางใกล้ กระแส นโยบายการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และการยกเลิกพิธีการตรวจลงตราสำ�หรับ การเดินทางข้ามด่านชายแดนระหว่างไทยและ กัมพูชา คาดการณ์ ส ถานการณ์ ท่ อ งเที่ ย วใน ช่ ว งปี 2556 น่ า จะมี ก ารขยายตั วได้ ดี ต่ อ เนื่อง นอกจากปัจจัยสนับสนุนเดิมทั้งสภาพ เศรษฐกิจและการเดินทางเชื่อมต่อที่สะดวก แล้ว ในหลายตลาดยังมีการส่งเสริมการเปิด เที่ยวบินเข้ามายังประเทศไทยมากขึ้น เช่น ในตลาดฟิลิปปินส์ สายการบิน Cebu Pacific เปิดเส้นทางบิน เซบู–กรุงเทพฯ จำ�นวน 2 เที่ยว/สัปดาห์ ในเดือนธันวาคม 2555 ตลาด เวียดนาม Vietjet Airlines เปิดเส้นทางบิน โฮจิมินห์–กรุงเทพฯ จำ�นวน 7 เที่ยว/สัปดาห์ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2556 และตลาดเมียนมาร์ บริษัทการบินไทย จำ�กัด เพิมเทียวบิน ย่างกุง– ่ ่ ้ กรุงเทพฯ จาก 3 เที่ยว เป็น 4 เที่ยว/สัปดาห์ ในเดือนกุมภาพันธ์ เป็นต้น
  • 11. To u r i s m S i t u a t i o n กลุ่มตลาดอเมริกา กลุ่มตลาดยุโรป สถานการณ์นักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดยุโรปเดินทางเข้าประเทศไทยรายสัญชาติ ปี 2555 มี จำ�นวนนักท่องเที่ยว 5.61 ล้านคน ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.12 ผลจากแรงขยายตัวของตลาด รัสเซียที่ทะลุ 1.3 ล้านคน ด้วยอัตราการเติบโตร้อยละ 25 จึงทำ�ให้สถานการณ์ท่องเที่ยวของ ภูมิภาคยุโรปขยายตัวในระดับที่น่าพอใจ สำ�หรับตลาดอื่น ๆ ส่วนใหญ่สามารถรักษาระดับอัตรา การเติบโตให้ผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤตเศรษฐกิจของยุโรป แต่ในหลายตลาดก็ยังสามารถส่งเสริม ตลาดให้มีการรักษาอัตราการเติบโตได้ดีทั้งในตลาดที่มีขนาดใหญ่ เช่น ฝรั่งเศส เยอรมนี และ สหราชอาณาจักร ขณะที่ตลาดกลุ่มที่มีขนาดกลางถึงขนาดเล็ก เช่น เบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์ ออสเตรีย ยุโรปตะวันออก หรือแม้แต่กลุ่มตลาดในแถบยุโรปใต้ที่กำ�ลังประสบภาวะเศรษฐกิจ ล้มเหลวที่เราเรียกกันว่า PIIGS (โปรตุเกส อิตาลี ไอร์แลนด์ กรีซ และสเปน) ยังมีการขยาย ตัวเพิ่มขึ้นได้ดี ทั้งนี้เป็นเพราะจุดแข็งของประเทศไทยทางด้านความคุ้มค่าเงินในการเดินทาง มี สินค้าทางการท่องเที่ยวที่ตอบสนองต่อความต้องการ และการเน้นส่งเสริมตลาดแบบเจาะกลุ่ม ในกลุ่มที่มีศักยภาพทั้งการออกเดินทางท่องเที่ยวและการใช้จ่าย คาดการณ์สถานการณ์ท่องเที่ยวในช่วงปี 2556 คาดว่าสถานการณ์วิกฤตยูโรโซนไม่น่าจะ จบสินลงในระยะเวลาอันสัน จึงคงต้องประคับประคองสถานการณ์ทองเทียวของภูมภาคนีตอไป ้ ้ ่ ่ ิ ้่ รวมทั้งป้องกันการเข้ามาช่วงชิงตลาดของประเทศคู่แข่ง เช่น มาเลเซีย ที่มีการพัฒนารายการ ท่องเที่ยวให้มีความน่าสนใจมากขึ้นโดยเชื่อมโยงสินค้าท่องเที่ยวทางทะเลของประเทศไทยและ ดึงเทียวบินเช่าเหมาลำ�บางส่วนให้เปลียนเส้นทางบินจากประเทศไทยไปยังประเทศมาเลเซียแทน ่ ่ เหมือนดังที่ได้ดำ�เนินการกับตลาดสแกนดิเนเวีย นอกจากนี้ ผลจากการที่เงินยูโรอ่อนค่าลงอาจ ทำ�ให้นักท่องเที่ยวจากยุโรปหันไปเดินทางท่องเที่ยวภายในภูมิภาคกันเองมากขึ้น สถานการณ์ นั ก ท่ อ งเที่ ย วกลุ่ ม ตลาด อเมริกาเดินทางเข้าประเทศไทยรายสัญชาติ ปี 2555 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 1.08 ล้านคน ขยายตัวเพิ่มขึ้นในระดับที่ดีถึงร้อยละ 13.40 แม้ว่าจะกำ�ลังเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า โดยเป็นผลจากตลาดหลักอย่างสหรัฐฯและ แคนาดาขยายตัวดี รวมทั้งตลาดขนาดเล็ก อย่างอาร์เจนตินา และบราซิล ปัจจัยทีสนับสนุน ่ ให้ตลาดขยายตัว คือ การฟื้นตัวจากสภาพ เศรษฐกิ จ ที่ ไ ด้ ผ่ านพ้ น จุ ด ตํ่ าสุ ด มาแล้ ว และ นโยบายการกระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐอย่าง ้ ต่อเนื่อง ส่งผลให้นักท่องเที่ยวมีการเดินทาง ท่องเที่ยวกัน มากในช่วงฤดูก าลท่องเที่ยวที่ ผ่านมา ทั้งการปิดภาคเรียน เทศกาลขอบคุณ พระเจ้ า และวัน หยุดยาวในช่วงคริสต์ม าส และปี ใหม่ ประกอบกับสภาพเศรษฐกิจของ กลุ่มละตินอเมริกาที่มีการขยายตัว จึงเริ่มมี การเปิดเที่ยวบินตรงจากเอเชีย เช่น ในตลาด อาร์เจนตินา สายการบิน Emirates Airlines เปิดเส้นทาง บัวโนสไอเรส–กรุงเทพฯ จำ�นวน 7 เที่ยว/สัปดาห์ ในเดือนมกราคม 2555 รวม ทั้งการขยายตัวที่ดีของกลุ่มตลาดเล็กอื่น ๆ เช่น เม็กซิโก และ ชิลี สำ�หรับเหตุการณ์พายุ เฮอริเคนแซนดี้ที่พัดเข้าชายฝั่งตะวันออกของ สหรัฐอเมริกา ในช่วงปลายเดือนตุลาคม 2555 นั้น ในขณะนี้ยังไม่ปรากฏผลกระทบต่อตลาด แต่อย่างใด คาดการณ์สถานการณ์ทองเทียวปี 2556 ่ ่ น่าจะเติบโตต่อเนื่องจากปี 2555 เนื่องจาก สภาพเศรษฐกิจที่ค่อย ๆ ปรับตัวไปในทิศทาง ที่ดีขึ้น แต่อย่างไรก็ตามยังคงต้องจับตามอง ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจที่เรื้อรังทั้งในภูมิภาค อเมริกาเองและในภูมภาคยุโรป ตลอดจนการ ิ เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลโลก ครั้งที่ 20 ในปี 2557 ที่ประเทศบราซิลเป็น เจ้าภาพ ทีอาจจะส่งผลกระทบต่อสถานการณ์ ่ ท่องเที่ยวกลุ่มตลาดอเมริกา Tourism Jounal | 9
  • 12. To u r i s m S i t u a t i o n กลุ่มตลาดเอเชียใต้ สถานการณ์ นั ก ท่ อ งเที่ ย วกลุ่ ม ตลาด เอเชียใต้เดินทางเข้าประเทศไทยรายสัญชาติ ปี 2555 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 1.289 ล้าน คน อัตราการเติบโตเพิ่มขึ้น ร้อยละ 11.36 เป็นผลจากตลาดอินเดีย ซึ่งเป็นตลาดหลัก ของกลุ่มมีการฟื้นตัวกลับมาเติบโตเป็นปกติ ตั้ ง แต่ ไ ตรมาสที่ 2 เมื่ อ เข้ า สู่ ช่ ว งฤดู ก าล ท่องเที่ยว การมีวันหยุดช่วงปิดภาคฤดูร้อน และปิดภาคเรียน อีกทั้งหลายสายการบินมี การปรับเพิ่มความถี่และเปิดเส้นทางบินใหม่ หลังจากที่สภาพเศรษฐกิจของอินเดียมีการ ปรับตัวไปในทิศทางที่ดีขึ้น ส่วนตลาดขนาด เล็กอืน ทัง บังคลาเทศ เนปาล และปากีสถาน ่ ้ สถานการณ์ท่องเที่ยวยังไม่สู้ดีนักจากปัญหา ความไม่สงบด้านการเมืองภายในประเทศ มี เพียงตลาด ศรีลังกา ที่มีอัตราการเดินทาง เพิมขึน เนืองจากระบบเศรษฐกิจและการเมือง ่ ้ ่ ภายในประเทศที่มีเสถียรภาพและเข้มแข็ง กว่าประเทศอื่นในภูมิภาค รวมทั้งสายการบิน Thai Air Asia เปิดเส้นทางบินใหม่ กรุงเทพฯ –โคลัมโบ จำ�นวน 4 เที่ยว/สัปดาห์ ตั้งแต่ เดือนมิถุนายน คาดการณ์สถานการณ์ทองเทียวปี 2556 ่ ่ น่าจะขยายตัวต่อเนือง จากปัจจัยสนับสนุนทาง ่ ด้านเศรษฐกิจ ซึ่งรัฐบาลอินเดียได้ประกาศ ว่าในปี 2556 จะมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 7 รวมทั้งการเติบโตของ ธุรกิจสายการบิน ทั้งในเมืองหลักและเมือง รอง โดยสายการบินไทยมีแผนเปิดเส้นทาง บินใหม่ บินตรงเข้าแหล่งท่องเที่ยวหลักของ ประเทศไทย ในเส้นทาง นิวเดลี–ภูเก็ต และ มุมไบ–ภูเก็ต ในช่วงปี 2556 10 | Tourism Jounal กลุ่มตลาดโอเชียเนีย สถานการณ์นกท่องเทียวกลุมตลาดโอเชียเนียเดินทางเข้าประเทศไทยรายสัญชาติ ปี 2555 ั ่ ่ มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 1.046 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.13 เกิดจากแรงขยายตัวที่ดีของตลาด ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ด้วยปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจที่เติบโตอย่างแข็งแกร่ง ส่งผลให้ค่าเงิน ดอลลาร์ออสเตรเลียแข็งค่าต่อเนือง ประชาชนจึงเกิดความมันใจในการใช้จายเงินอุปโภคบริโภค ่ ่ ่ และออกเดินทางท่องเที่ยวกันมากทั้งในช่วงฤดูปิดภาคเรียน และเทศกาลวันหยุดยาวช่วงปลาย ปี คริสต์มาส ปีใหม่ พร้อมกับมีการเสนอขายรายการนำ�เที่ยวประเทศไทยในราคาพิเศษของ สายการบินและบริษัทนำ�เที่ยวต่าง ๆ เช่น เกาะสมุย เกาะภูเก็ต สำ�หรับเหตุการณ์หลาย ๆ กรณี ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยทั้งข่าวเหตุระเบิดในพื้นที่กรุงเทพฯ เหตุการณ์ระเบิดที่ห้างลีการ์เด้น อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ข่าวลือการเกิดสึนามิในจังหวัดภูเก็ต และเหตุการณ์ทำ�ร้ายนัก ท่องเที่ยวออสเตรเลียจนเสียชีวิต ในจังหวัดภูเก็ต ขณะนี้ยังไม่ปรากฏสัญญาณการชะลอการ เดินทางของตลาดแต่อย่างใด คาดการณ์สถานการณ์ท่องเที่ยวปี 2556 น่าจะขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องด้วยศักยภาพ ของตลาดที่มีความแข็งแกร่งทั้งทางด้านเศรษฐกิจ และมีพฤติกรรมนักท่องเที่ยวนิยมเดินทาง ท่องเที่ยวในต่างประเทศ และมีความชื่นชอบประเทศไทยอยู่เป็นทุนเดิม แม้จะมีอุปสรรคที่อาจ ต้องคอยติดตามบ้างจากผลกระทบเชิงลบทางด้านภาพลักษณ์ดานความปลอดภัยของประเทศไทย ้ การออกกฎหมายภาษีเพือลดมลพิษ ของรัฐบาลออสเตรเลีย (Carbon Tax) การกลับมาสูเ่ วทีการ ่ แข่งขันของเกาะบาหลี (อินโดนีเซีย) และการแข่งขันกันอย่างสูงของประเทศอื่น ๆ ทั้งมาเลเซีย และสิงคโปร์ ที่มีการเปิดเที่ยวบินตรงไปยังเมืองซิดนีย์และเมืองสำ�คัญอื่น ๆ
  • 13. To u r i s m S i t u a t i o n กลุ่มตลาดแอฟริกา กลุ่มตลาดตะวันออกกลาง สถานการณ์นักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดตะวันออกกลางเดินทางเข้าประเทศไทยรายสัญชาติ ของปี 2555 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 0.60 ล้านคน ขยายตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ร้อยละ 0.58 เหตุ จากการเกิดปัญหาความไม่สงบภายในภูมิภาคทั้งในประเทศอียิปต์ เยเมน จอร์แดน บาห์เรน อิหร่าน คูเวต ซาอุดิอาระเบีย และโอมาน โดยเฉพาะ ซีเรีย ที่ยังไม่มีท่าทีว่าจะยุติในระยะเวลา อันสั้น และยังได้เกิดเหตุระเบิดในพื้นที่กรุงเทพฯ ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ประเด็นความขัดแย้ง ระหว่างอิหร่านและอิสราเอล รวมทั้งผลของมาตรการควํ่าบาตรทางเศรษฐกิจอย่างจริงจังของ ประเทศสหรัฐฯ ที่มีต่อประเทศอิหร่าน ทำ�ให้สภาพเศรษฐกิจของประเทศอิหร่านยําแย่ มีการ ่ ค้าขายในต่างประเทศลดลง อัตราแลกเปลี่ยนค่าเงินสกุลเรียล (Rial) ตกตํ่าลงมากกว่า 3 เท่า ในช่วงปี 2555 เมื่อเทียบกับปี 2554 รวมทั้งสายการบินมาฮาน แอร์ มีการปรับลดจำ�นวนเที่ยว บินในเส้นทางเตหะราน–กรุงเทพฯ จาก 9 เที่ยว/สัปดาห์ เหลือ 7 เที่ยว/สัปดาห์ ตั้งแต่เดือน กรกฎาคม อย่างไรก็ตาม การสร้างโอกาสของกลุมตลาดตะวันออกกลางยังพอมีอยูบางจากการ ่ ่้ ขยายตลาดที่มีขนาดเล็กอื่น ๆ ที่กำ�ลังมีการเติบโตได้ดี ทั้งกาตาร์ โอมาน บาร์เรน จอร์แดน คูเวต ซาอุดิอาระเบีย และอียิปต์ คาดการณ์สถานการณ์ทองเทียวปี 2556 เนืองจากสถานการณ์ความรุนแรงภายในภูมภาคยัง ่ ่ ่ ิ ไม่นาไว้วางใจ ประกอบกับความเข้มข้นในมาตรการควําบาตรของสหรัฐฯ ทีมตอประเทศอิหร่าน ่ ่ ่ี่ อาจจะทำ�ให้สถานการณ์ท่องเที่ยวของภูมิภาคไม่สดใส แม้ว่าในบางตลาดจะมีปัจจัยเสริมทาง บวก เช่น สายการบินไทย เปิดเส้นทางกรุงเทพฯ–อาบูดาบี จำ�นวน 4 เทียว/สัปดาห์ สายการบิน ่ อิมิเรตส์ เปิดเส้นทางภูเก็ต–ดูไบ จำ�นวน 7 เที่ยว/สัปดาห์ สายการบินการ์ต้าแอร์เวย์ เปิดเส้น ทางภูเก็ต–โดฮา และ เชียงใหม่–โดฮา ในช่วงปลายปี 2555 ก็ตาม สถานการณ์ นั ก ท่ อ งเที่ ย วกลุ่ ม ตลาด แอฟริกาเดินทางเข้าประเทศไทยรายสัญชาติ ปี 2555 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 0.16 ล้านคน เพิมขึนร้อยละ 17.36 เกิดจากปัจจัยการขยาย ่ ้ ตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องของประเทศ แอฟริ ก าใต้ ซึ่ ง เป็ น ตลาดหลั ก ของภู มิ ภ าค และการได้เข้ารวมกลุ่มประเทศเศรษฐกิจใหม่ BRICS (Brazil Russia India China and South Africa) ส่งผลให้ประชาชนมีความเชื่อมั่นใน การอุปโภคและบริโภค ขณะที่ตลาดอื่น ๆ ใน กลุ่มก็ยังมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นในระดับที่ดี เช่น เคนยา เอธิโอเปีย และไนจีเรีย คาดการณ์สถานการณ์ท่องเที่ยวปี 2556 น่าจะมีการขยายตัวได้ดีต่อเนื่องทั้งจากตลาด แอฟริ ก าใต้ และตลาดอื่ น ๆ โดยเฉพาะ ตลาดเล็กในแถบแอฟริกาเหนือที่กำ�ลังเริ่มมี การขยายตัวทางด้านธุรกิจการบินเชื่อมโยง ไปยังภูมิภาคใกล้เคียง โดยมีสิ่งที่ต้องระวัง ก็คือวิกฤตเศรษฐกิจในยุโรปที่อาจจะส่งผล กระทบต่อเนื่องมาในภูมิภาคนี้เนื่องจากระบบ เศรษฐกิจมีความเชื่อมโยงกันสูง Tourism Jounal | 11
  • 14. To u r i s m S i t u a t i o n แนวโน้มสถานการณ์ทองเทียวตลาดต่างประเทศ ่ ่ ปี 2556 หากสถานการณ์ทองเทียวยังดำ�เนินเป็นไปอย่างปกติเหมือนเช่นปี ่ ่ ทีผานมา จำ�นวนนักท่องเทียวต่างประเทศทีจะเดินทางเข้าประเทศไทย ่่ ่ ่ ในปี 2556 จะมีจำ�นวนนักท่องเที่ยว 24.5 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 และสร้างรายได้จากตลาดต่างประเทศ จำ�นวน 1,137,000 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 17 เนื่องจากตลาดในกลุ่มเอเชียมีการขยายตัวสูง ทั้ง จากตลาดจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย หรือแม้แต่ตลาด ในกลุมอาเซียน ซึงเป็นผลพวงจากนโยบายการเปิดประชาคมเศรษฐกิจ ่ ่ อาเซียน ดังนั้นรายได้จากกลุ่มตลาดเอเชียน่าจะเข้ามามีบทบาทสำ�คัญ ต่อการท่องเที่ยวของประเทศไทยนับแต่นี้ไป โดยอัตราการเติบโตของรายได้จากตลาดต่างประเทศ ในปี 2556 จะเกิดขึ้นจากแรงขับเคลื่อนทั้งจากจำ�นวนนักท่องเที่ยว และค่าใช้จ่าย เฉลียต่อทริปทีเ่ ริมมีการปรับตัวเพิมขึนหลังจากทีตกอยู่ในภาวะทรงตัว ่ ่ ่ ้ ่ ในช่วง 4 -5 ปีทผานมา อันเป็นผลจากปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง ี่ ่ ไทย ซึงสอดคล้องกับการสอบถามกับภาคธุรกิจโรงแรมทีลวนต่างมีการ ่ ่้ ปรับขึ้นราคาขึ้นไปแล้ว ประมาณร้อยละ 5-10 เนื่องจากภาวะต้นทุน ที่ปรับตัวสูงขึ้น และสถานการณ์ของประเทศไทยที่ได้ลดความผันผวน ลง ซึ่งการประมาณการในครั้งนี้จะสูงกว่าการคาดการณ์ของสมาคม ส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งเอเชียแปซิฟิค (PATA) ที่ประมาณการว่า จำ�นวนนักท่องเที่ยวจะเดินทางเข้าประเทศไทย ในปี 2556 ขยายตัว เพิ่มขึ้น ร้อยละ 9.7 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2555 12 | Tourism Jounal ปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อตลาดต่างประเทศในปี 2556 คือ 1. วิกฤตเศรษฐกิจตกตํ่าในยุโรปและอเมริกา และปัญหาความไม่ สงบในภูมิภาคตะวันออกกลาง 2. ความผันผวนของราคานํามันในตลาดโลก และอัตราแลกเปลียน ้ ่ ค่าเงิน 3. วิกฤตภัยธรรมชาติ 4. สภาวะการแข่งขันกันสูงทางด้านการท่องเที่ยว อย่างไรก็ตาม ภายใต้ปัจจัยคุกคามที่เกิดขึ้นจากภายนอก การ ท่องเที่ยวของประเทศไทยยังมีโอกาสช่วงชิงความได้เปรียบจากการ ส่งเสริมตลาดเชิงรุกในกลุมตลาดเอเชีย ด้วยนโยบายการเปิดประชาคม ่ เศรษฐกิจอาเซียน เพราะนอกจากจะหมายรวมถึงกลุ่มประเทศใน อาเซียนแล้ว ยังรวมไปถึงกลุ่มประเทศอื่น ๆ ในเอเชีย ที่ได้มีข้อตกลง ความร่วมมือร่วมกัน เช่น กลุ่ม ASEAN +3 คือรวม จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และ ASEAN +6 คือรวม จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์ ซึงน่าจะทำ�ให้ตลาดนักท่องเทียวในกลุมเอเชียเข้ามาทดแทน ่ ่ ่ ความผันผวนและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในกลุ่มยุโรป อเมริกา และ ตะวันออกกลาง ในช่วงปี 2556 เป้าหมายตลาดต่างประเทศ ปี 2556 จากทีประชุม TATAP’56 ได้ก�หนดเป้าหมายตลาดต่างประเทศ ในปี 2556 ให้มอตรา ่ ำ ีั การเติบโตทางด้านรายได้จากตลาดต่างประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 13 (รายได้ประมาณ 1,090,000 ล้านบาท) หรือมีจำ�นวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 8 (จำ�นวนนักท่องเที่ยวประมาณ 23.8 ล้านคน)
  • 16. To u r i s m R e s e a r c h เส้นทางการก้าวกระโดด สู่การจัดการอย่างยั่งยืน และกรณีตัวอย่าง เกาะสมุย เรื่อง ผศ. ดร.จุฑามาศ วิศาลสิงห์* ความท้าทายของการนำ�แนวคิดการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนสู่การปฏิบัติมีให้ เห็นและเป็นที่ถกเถียงกันอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง ความพยายามที่จะให้ผลประโยชน์ จากการเติบโตของการท่องเที่ยวเห็นประจักษ์ว่าได้นำ�พามาซึ่งคุณภาพสังคม สภาพ ที่ดีของสิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การแปลงแนวคิดการจัดการอย่างยั่งยืน ได้นำ�ไปสู่การกำ�หนดนิยามใหม่ ๆ ที่นำ�เสนอจากหลากหลายกลุ่มเพื่อเป็น แนวปฏิบัติที่ เชื่อว่าในที่สุดจะนำ�ไปสู่จุดหมายแห่งการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ หากทบทวนและรวบรวม Buzzwords เหล่านี้จะได้เป็น 4 แนวทาง คือ * MD–Perfect Link Consulting Group 14 | Tourism Jounal
  • 17. To u r i s m R e s e a r c h 1 แนวทางที่สร้างเส้น ทางเพื่อนำ�ไปสู่การ เปลียนแปลง (Trend 1 Transition Network) ่ แนวคิดนีอยูในกลุมทีเ่ ห็นว่า การจัดการอย่าง ้ ่ ่ ยั่งยืนต้องอาศัยการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ และพฤติกรรม โดยสร้างวิถการดำ�รงชีวต ี ิ บนฐานของการลดการปล่ อ ยก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ ลดผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน หรือที่เราได้ยิน กันเสมอตามแนวคิด Low Carbon Lifestyle การเปลี่ยนวิถีชีวิตและ การบริหารจัดการอย่างเป็นมิตรกับสภาพอากาศเป็นอีกคำ�ศัพท์หนึ่ง ที่จัดอยู่ ในกลุ่มนี้เช่นกัน (Climate Friendly Management) การ เปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมนี้ ได้มีกลุ่มที่ตั้งขึ้นเพื่อรณรงค์ให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรที่เรียกว่า กลุ่ม Permaculture (Permanently Sustainable Culture) แนววิถีของกลุ่มนี้มีแนวคิดการดำ�รง ชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอาคาร การออกแบบการใช้ผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ ทีสงผลกระทบน้อยต่อสิงแวดล้อมและคุณภาพชีวต กลุมแนวคิด ่่ ่ ิ ่ เรื่อง Slow Food Slow Travel ควรจัดไว้ในกลุ่มแนวคิดนี้เช่นกัน 3 แ นว คิ ด กา ร ป รั บ ตั วใ ห้ อ ยู่ กั บ กา ร เปลี่ ย นแปลงของสภาพอากาศและ สิงแวดล้อม (Trend3ClimateAdaptation) ่ ภาวะวิ ก ฤตและภั ย ธรรมชาติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทัวโลก ทำ�ให้หลากหลายหน่วยงานหันหน้า ่ มาช่วยกันคิดหากลยุทธ์แห่งการปรับตัว (Adaptation Strategies) ทั้งในภาพกว้างคือคิดเชิงนโยบายและใน การกำ�หนดแนวทางเพื่อประเมินสถานการณ์ในอนาคตและเตรียมแผน รับมือโดยแน่นอนทีสดมีปจจัยขับเคลือนให้ตองมีแผนการรับมือนีทงใน ุ่ ั ่ ้ ้ ั้ ระดับสากล ผลการศึกษาต่าง ๆ ที่พร้อมกันให้ความเห็นถึงผลที่จะตาม มาจากการเปลียนแปลงของสภาพอากาศและผลกระทบทีจะเกิดในเชิง ่ ่ เศรษฐกิจ ประเทศต่าง ๆ รวมทั้งประเทศไทยเริ่มหันมาให้ความสนใจ กับความมั่นคงทางพลังงาน (Energy Security) การขาดแคลนนํ้ามัน จะส่งผลอย่างไรและจะนำ�ไปสู่แผนในการปรับตัวต่อไปอย่างไร โดยมุ่ง เน้นให้เกิด Inclusive Green Economy คิดครบด้าน เช่น เริ่มมีการตั้ง คำ�ถามเตรียมแรงงานทีมความเชียวชาญด้านสิงแวดล้อม (Green Jobs) ่ี ่ ่ โดยพบแล้วว่าควรให้แรงงานทุกระดับมีความเข้าใจการปรับตัวนี้อย่าง ชัดเจน 4 2 แนวคิ ด การทำ � งานกั บ กลุ่ ม ชุ ม ชน การสร้างการมีส่วนร่วมในระดับชุมชน (Trend 2 Grassroots Community Scale Opportunities) กลุ่มแนวคิดนี้ ให้ความสำ�คัญกับการทำ�งานแบบมีสวนร่วม ่ โดยไม่เชื่อว่าการจัดการแบบบนลงล่าง (Top-down) จะได้ผล แต่เชือในการจัดการแบบระเบิดจากข้างใน โดย ่ เฉพาะการทำ�ให้ทุกฝ่ายมีสวนร่วมในการคิดจากล่างสู่บน (Bottom up) ่ Grassroots Innovations หรือที่เราอาจคุ้นเคยในความหมาย ปราชญ์ ชาวบ้าน ค้นหาความเป็นวิถีเดิมและนำ�มาประยุกต์สืบต่อให้เห็นว่าการ ดำ�รงอยู่อย่างเดิมนำ�ไปสู่การจัดการอย่างยั่งยืนอยู่แล้ว การสร้างเครือข่ายผูประกอบการ (Trend ้ 4 Collaborative Entrepreneurship and Sustainable Clusters) ในภาคส่วนที่มก ั ถูกมองว่าหวังผลประโยชน์ระยะสั้นคือ ภาคเอกชน ในกลุ่มนี้ ได้เห็นการรวมตัว เพื่อร่วมกันขยายพลังและนำ�ความสำ�เร็จ จากองค์กรหนึงไปสูองค์กรหนึง มีการสร้างมาตรฐานเพือเป็นเครืองมือ ่ ่ ่ ่ ่ ทางการตลาดมากขึนอย่างต่อเนือง (Inclusive Green Market) การจะ ้ ่ นำ�ไปสูการปฏิบตได้ กลไกการยอมรับจากผูบริโภคคือหนึงในเครืองมือที่ ่ ัิ ้ ่ ่ สำ�คัญ การบีบคันและกดดันเรียกร้องให้กระบวนการผลิตรักสิงแวดล้อม ้ ่ มากขึ้นจะช่วยให้เกิดความหมายในเชิงเศรษฐกิจกับกลุ่มผู้ประกอบ การมากขึ้น โดยปัจจุบันได้เริ่มมีการนำ�แนวคิด รับประกันผล Energy Saving Guarantee Program โดยมีกลุ่มการทำ�งานที่ให้บริการโดยรับ ประกันการลงทุนและผลตอบแทนทีจะเกิดจากการลงทุนทีเ่ กียวข้องกับ ่ ่ สิ่งแวดล้อม ที่เรียกว่า ESCO (Energy Service Company) เช่น กรณี ของโรงแรมที่ต้องการจะลดค่าไฟในแต่ละเดือน ESCO พร้อมเปลี่ยน เครืองปรับอากาศและขอค่าตอบแทนเป็นเงินส่วนแบ่งจากจำ�นวนค่าไฟ ่ ที่โรงแรมสามารถลดไปได้ การประกันเช่นนี้สร้างแรงจูงใจได้อย่าง กว้างขวางแนวคิดต่าง ๆ ที่ว่านี้ ได้รวบรวมไว้เพื่อเป็นฐานในการนำ� ไปสู่การจัดการแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยขอยกตัวอย่างต้นแบบ โครงการนำ�ร่องทีเ่ กาะสมุยได้ปรับกลวิธี และนำ�วิถทเี่ หมาะสมจนคิดค้น ี เป็น Samui Green Model Tourism Jounal | 15
  • 18. To u r i s m R e s e a r c h กรณีตวอย่าง การจัดการท่องเทียวอย่างยังยืน ั ่ ่ เส้นทางก้าวกระโดดของเกาะสมุย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ได้กำ�หนดแผนดำ�เนิน การทางการส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น ในพื้ น ที่ เ กาะสมุ ย จ.สุราษฎร์ธานี ตามแนวคิด 7 Greens โดยบูรณาการทำ�งานกับหน่วย งานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ เพื่อให้เกิด การดำ�เนินการที่เป็นรูปธรรม อันจะส่งผลให้พื้นที่เกาะสมุยได้รับการ ยอมรับว่าเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่ดี และได้รับการดูแลปกป้องอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับเป้าหมายองค์กร ที่ต้องการให้ประเทศไทยเป็นที่ยอมรับในฐานะเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ ทรงคุณค่า พร้อมทั้งปลูกจิตสำ�นึกในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมของ แหล่งท่องเที่ยวให้คงอยู่อย่างยั่งยืนตามข้อเสนอโครงการนี้ได้นำ�เสนอ แนวคิดดังกล่าวข้างต้นโดยใช้แนวคิดการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนเป็นฐานคิดสำ�คัญในการทำ�ให้เกิดการจัดการที่เป็นรูปธรรม สู่ การท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism) โดยเล็งเห็นความสำ�คัญใน การค้นหากลไกในการปฏิบัติการให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างแท้จริง ซึ่ง การดำ�เนินการเพื่อผลนี้มีความจำ�เป็นต้องออกแบบการทำ�งานอย่าง มีส่วนร่วม ตามหลักคิด “โดยชุมชน เพื่อชุมชน” แม้การดำ�เนินงาน เพื่อก้าวสู่การจัดการสู่ความยั่งยืนอย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่ในมิติต่าง ๆ จะได้เกิดขึ้นและมีหลายภาคส่วนร่วมกัน นำ�พาแนวคิดนี้ ให้เห็นผล อย่ า งกว้ า งขวางมาระยะหนึ่ ง แล้ ว แต่ ก ลไกในการจั ด การพื้ น ที่ สี เขียวที่มาจากความปรารถนาของชุมชน เพื่อชุมชน ตลอดจนการ รวบรวมผลการดำ�เนินกิจกรรมไว้อย่างเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่าง เป็นระบบ อันจะนำ�ไปสู่การประกาศความเป็นสินค้าและบริการเพื่อ การท่องเที่ยวที่รักษาสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง จำ�เป็นต้องดำ�เนินการ อย่างต่อเนืองและจริงจัง ดังนันโครงการนีจงดำ�เนินการบนพืนฐานความ ่ ้ ้ึ ้ ยังยืนในการจัดการ ทีควรมีการกำ�หนดแผนอย่างรอบคอบและละเอียด ่ ่ ถี่ถ้วน เนื่องจากการจัดการเช่นนี้จำ�เป็นต้องนำ�ลักษณะเฉพาะของ พื้นถิ่นมาเป็นปัจจัยหลักประกอบกับการคิดให้ได้ผลสัมฤทธิ์ทั้งในเชิง การตลาดและการพัฒนาได้ครบถ้วน การดำ � เนิ น งานนำ � เกาะสมุ ย สู่ ก ารท่ อ งเที่ ย วยั่ ง ยื น ตามแนวคิ ด การ ท่ อ งเที่ ย วที่ รั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มในกรอบเฉพาะแนวคิ ด “7 Greens Concept” นั้นจำ�เป็นต้องนำ�หลักคิดความเชื่อมโยงของหลากหลาย องคาพยพทั้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงและข้างเคียงในการท่องเที่ยว ทั้งนี้ ทุ ก หน่ ว ยงานย่ อ มมี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ในการจั ด การการท่ อ งเที่ ย ว ในพื้นที่ทั้งสิ้น ดังนั้นแผนงานจัดทำ�ตามกรอบการทำ�งานที่เกี่ยวข้องกับ หลากหลายภาคส่วน ดังรูปประกอบการนำ�พืนทีสการจัดการสิงแวดล้อม ้ ่ ู่ ่ สังคมและเศรษฐกิจ ต้องมิใช่การมุงไปทีผมสวนโดยตรงทีเ่ ป็น Primary ่ ่ ู้ ี ่ หรือผูทเี่ กียวข้องในภาคอุตสาหกรรมแต่อย่างเดียว จำ�เป็นต้องเชือมโยง ้ ่ ่ ไปถึง Secondary คือ ผูทอาจมีสวนเกียวข้องรองลงมาหรือโดยอ้อม เช่น ้ ี่ ่ ่ ร้านค้า ธนาคาร สือมวลชน และผูที่ได้รบผลกระทบจากการพัฒนาการ ่ ้ ั ท่องเที่ยวในพื้น ที่ เช่น การจัดการรถสาธารณะ การสาธารณสุข การศึกษา ที่เรียกว่าเป็นกลุ่ม Tertiary ดังภาพประกอบด้านล่างนี้ Think outside the inner circle… Primary (hotel, attractions, amenities, activities, entertainment, tourism, transport…) Direct impact Secondary (agriculture, retail, banking, manufacturing, construction, communication, recreation…) Indirect impact Tertiary (infrastructure, public transport, health services, education, police & fire…) Dynamic impact กรอบแนวคิดการดำ�เนินงาน ดังกล่าวแล้วข้างต้นเพือให้เกิดพืนทีสเี ขียวอย่างครอบคลุมและเกิด ่ ้ ่ การกระจายตัวของแนวคิดอย่างรวดเร็วและทัวถึง คณะทำ�งานและทีมที่ ่ ปรึกษาทำ�หน้าทีสร้างกลไกในการขับเคลือนโดยเน้นการมีสวนร่วมและ ่ ่ ่ ดำ�เนินงานโดยชุมชน และมีการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยภาคส่วน ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นผู้เล็งเห็นความเร่งด่วนและความจำ�เป็นในการ ริเริ่มและดำ�เนินการให้สำ�เร็จและกำ�หนดเป้าหมายให้ดำ�เนินงานได้ใน กรอบระยะเวลาที่กำ�หนด โดยในระยะที่ 1 นี้ ใช้หลักคิดซึ่งประยุกต์ จากองค์กรรับรองมาตรฐานสิ่งแวดล้อมนานาชาติต่าง ๆ เช่น Earth Check, Green Leaf Foundation คือ หลักการ A B C (Affiliation, Benchmarking, Certification) โดยทั่วไปหน่วยงานเหล่านี้นำ�พาไปสู่ เป้าหมายการรับรอง (Certification) 16 | Tourism Jounal
  • 19. To u r i s m R e s e a r c h จากการระดมความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง เห็นตรงกันว่า หน่วย งานเหล่านี้ มักมีมาตรฐานและข้อกำ�หนดที่ทำ�ให้หน่วยงานขนาดเล็ก ไม่สามารถก้าวไปถึงฝันได้ ดังนั้นกรอบแนวคิดของโครงการนี้จึงนำ� ความคิดในรูปแบบเราเป็นสีเขียวกันอย่างง่าย ๆ “ก้าววันละนิด ทำ�กัน วันละอย่าง” ซึ่งจะเป็นการสร้างเส้นทาง (Pathway) ไปสู่การรับรอง มาตรฐานได้ต่อไป โดยเริ่มจากการยอมรับ รักษา ปรารถนาที่จะร่วม คือ Advocacy and Acceptance และ การเข้าสู่การประเมินตัวเอง และการแข่งขันกับตนเองอย่างมีระบบ (Self-benchmark) และท้าย สุดมีระบบในการจัดการที่จะดำ�เนินการต่ออย่างต่อเนื่องเห็นผล วัดได้ (Carry Forward) Our A B C Samui Model A = Advocacy, Acceptance “Yes, we can.” B = (Self) Benchmarking “Yes, we are good.” C = Carry Forward “Yes, we will continue to do better.” Source: Perfect Link Consulting Group, 2012 บทส่งท้าย เส้นทางสู่การจัดการอย่างยั่งยืนไม่เป็น เพียงทางเลือกอีกต่อไป แต่เป็นความจำ�เป็น ที่ต้องดำ�เนินการ ในแต่ละองค์กรแต่ละพื้นที่ แต่ละประเทศต้องพยายามคิดค้นกลวิธีที่จะ ทำ�ให้สมฤทธิผลตามความเหมาะสมของสภาพ ั ์ ของสังคมกันต่อไป Samui Going Green Model Tourism Jounal | 17
  • 20. From the Cover เรื่อง ชาตรี ประกิตนนทการ 18 | Tourism Jounal
  • 21. From the Cover ปรากฏการณ์สำ�คัญอย่างหนึ่งในกระแสท่องเที่ยวไทยในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา คือ การเกิดขึ้นอย่างมากมายของแหล่ง ท่องเที่ยวชนิดใหม่ที่เรียกว่า “Retro Market” (ตลาดย้อนยุค) Retro Market มิใช่การฟื้นฟูตลาดเก่าที่ซบเซาให้กลับมามีชีวิตใหม่เพียงอย่างเดียว เช่น ตลาดสามชุก หรือตลาดเก่า ทั้งหลายที่นิยมพ่วงท้ายชื่อตลาดแบบใหม่ด้วยคำ�ฮิตว่า “100 ปี” แต่ในกรณีนี้ยังหมายรวมถึงการก่อสร้างพื้นที่ตลาดขึ้นมาใหม่ โดยตั้งใจออกแบบให้มีลักษณะของการจำ�ลองกลิ่นอายและบรรยากาศอันหวนรำ�ลึกย้อนไปถึงตลาดในอดีตเมื่อเกือบ 100 ปี ที่ผ่านมา อาทิ ตลาดนํ้า 4 ภาค พัทยา, ตลาดนํ้าอโยธยา, เพลินวาน, หรือแม้กระทั่ง Cicada Market หัวหิน เป็นต้น ที่น่าสนใจเป็นพิเศษจนต้องนำ�มาเขียนถึง ก็เพราะในทัศนะผม Retro Market มิได้เกี่ยวข้องสักเท่าไรเลยกับสำ�นึกว่าด้วยความ ต้องการที่จะอนุรักษ์หรือรื้อฟื้น แบบแผนวิถีชีวิตดั้งเดิมที่ปรากฏอยู่ในตลาดเก่าทั้งหลายในแบบที่คนส่วนใหญ่มักจะพูดถึงกัน เวลาเมื่อกล่าวถึงโครงการรื้อฟื้นตลาดเก่าให้กลับมามีชีวิตใหม่อีกครั้งแต่อย่างใด โครงการเหล่านี้ โดยเนื้อแท้มิได้เกิดขึ้นมาเพื่อตอบสนองเป้าหมายและผู้ใช้สอยแบบเก่าอีกต่อไป แต่ตัวมันเองคือพื้นที่ชนิด ใหม่ที่มิใช่ทำ�หน้าที่ขายแต่สิ่งของเครื่องใช้หรือของกินตามนิยามของตลาดแบบเดิมเพียงอย่างเดียว แต่ยังเป็นพื้นที่ที่เสนอขาย ภาพลักษณ์และความแปลกใหม่ในสถานะของการเป็นสถานที่ท่องเที่ยวของคนชั้นกลางในเมืองไปพร้อม ๆ กัน กล่าวให้ชัดเจนยิ่งขึ้นก็คือ Retro Market เป็นผลผลิตทางวัฒนธรรมการท่องเที่ยวของคนชั้นกลางในเมืองโดยเฉพาะ อันเป็นผลพวงสืบเนื่องโดยตรงมาจากปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรมที่เราเรียกว่า “Nostalgia Tourism” (การท่องเที่ยว แบบโหยหาอดีต) Tourism Jounal | 19