SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 12
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย
     สําหรับนักเรียนอายุ 7 – 18 ปี




                 โดย
สํานักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา
      กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
รายการทดสอบสมรรถภาพทางกายสําหรับนักเรียน 7 – 18 ปี

ที่             รายการทดสอบ                          วัตถุประสงค์ของการทดสอบ
1     องค์ประกอบของร่างกาย :         เพื่อประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนร่างกาย
      ดัชนีมวลกาย (BMI)              (น้ําหนักและส่วนสูง)
2     วัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง   เพื่อประเมินปริมาณไขมันใต้ผิวหนังของร่างกาย
3     นั่งงอตัวไปข้างหน้า            เพื่อวัดความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อหลังและต้นขาด้านหลัง
4     ยืนกระโดดไกล                   เพื่อวัดกําลังกล้ามเนื้อขา
5     ลุกนั่ง 60 วินาที              เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง
6     ดันพื้น 30 วินาที              เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อแขน
7     วิ่งอ้อมหลัก (Zigzag run)      เพื่อวัดความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็วและความสามารถ
                                     ในการทรงตัว
8     วิ่งระยะไกล                    เพื่อวัดความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบ
                                     หายใจ
องค์ประกอบของร่างกาย : ดัชนีมวลกาย (BMI)
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ              เพื่อประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนร่างกาย (น้ําหนักและส่วนสูง)
อุปกรณ์ที่ใช้                        1.เครื่องชั่งน้ําหนัก
                                     2.เครื่องวัดส่วนสูง
                                     3.เครื่องคิดเลข
วิธีการปฏิบัติ                                             ตัวอย่าง เช่น
1.ชั่งน้ําหนัก และวัดส่วนสูงของผู้เข้ารับการทดสอบ ผู้เข้ารับการทดสอบมีน้ําหนักตัว 25 กิโลกรัม
2.นําน้ําหนัก และส่วนสูงมาคํานวณหาค่า                      มีส่วนสูง 120 เซนติเมตร
ดัชนีมวลกาย โดยนําค่า                                      ค่าดัชนีมวลกาย = 25 / (1.20)2
      น้าหนัก (กิโลกรัม) หารด้วย ส่วนสูง (เมตร)2
         ํ                                                                   = 25 / 1.44
                                                                             = 17.36 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
ระเบียบการทดสอบ 1. การชั่งน้ําหนักให้ผู้เข้ารับการทดสอบสวมชุดที่เบาที่สุด และให้ถอดรองเท้า
                         2. การวัดส่วนสูงให้ผู้เข้ารับการทดสอบ ยืนตรง ศีรษะตั้งตรง สายตามองตรงไป
                         ข้างหน้า

การบันทึกผล            น้ําหนักตัวให้บันทึกเป็นค่ากิโลกรัม สําหรับส่วนสูงให้บันทึกค่าเป็นเมตร




                    ชั่งน้ําหนัก                                            วัดส่วนสูง
ความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ                     เพื่อประเมินปริมาณไขมันใต้ผิวหนังของร่างกาย
อุปกรณ์ที่ใช้                               1.เครื่องวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง
                                            2.สายวัด
                                            3.เครื่องคิดเลข
วิธีการปฏิบัติ                             1.วัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณต้นแขน
                                           ด้านหลัง (triceps skinfold)
                                           2.วัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณน่องด้านใน
                                           (medial calf skinfold)
                                           3.นําผลรวมจาก 2 วิธีการข้างต้น มาคํานวณตามวิธีการที่
                                           กําหนด
วิธีการวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณต้นแขนด้านหลัง (triceps skinfold)
1. ผู้รบการทดสอบยืนตรง หันหลังให้ผทดสอบ
       ั                           ู้
- งอข้อศอกข้างที่ถนัด จนท่อนแขนส่วนบน และ
ท่อนแขนส่วนล่างตั้งฉากกัน โดยท่อนแขนส่วนบน
แนบกับลําตัว และท่อนแขนส่วนล่างชี้ตรงไป
ข้างหน้า




2.ผู้ทดสอบใช้สายวัด
- วัดระยะห่างระหว่างปุ่มกระดูกของกระดูก
สะบักที่นนขึ้นบริเวณหัวไหล่ด้านข้างค่อนมาทาง
          ู
ข้างหลังกับปุ่มปลายกกระดูกข้อศอก
- แล้วใช้ปากกาทําเครื่องหมายไว้ที่กึ่งกลาง
ระหว่างระยะห่าง
3.ผู้เข้ารับการทดสอบปล่อยแขนข้างลําตัวอย่าง
ผ่อนคลาย




4. ผู้ทดสอบใช้มือข้างซ้ายดึงผิวหนังพร้อมไขมัน
ใต้ผิวหนังในแนวกึ่งกลางด้านหลังของแขนเหนือ
เครื่องหมายที่ทําไว้ประมาณ 1 ซม.
- แล้วใช้เครื่องวัดความหนาของไขมันใต้ผวหนังที่
                                          ิ
ถืออยู่มือขวาหนีบไปที่เนื้อใต้บริเวณที่ขอมือข้าง
                                        ้
ซ้ายจับอยู่ในระดับเดียวกันกับเครื่องหมายที่
กําหนดไว้ รอประมาณ 1 - 3 วินาที จนกระทั่ง
เข็มชี้สเกลนิ่งแล้วจึงอ่านค่าจากสเกล


5.ทําการวัด 2 ครั้ง แล้วหาค่าเฉลี่ยเพื่อนําไปคํานวณตามวิธีการต่อไป

วิธีการวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณน่องด้านใน (medial calf skinfold)
1.ผู้รบการทดสอบนั่งบนเก้าอี้สูงประมาณ 70 - 75 ซม. แล้ววางเท้าขวาราบลงบนพื้นหรือกล่องที่จัดระดับ
      ั
ความสูงให้ขอสะโพก ข้อเข่า และข้อเท้าทํามุมฉากซึ่งกันและกัน
            ้

2. ผู้ทดสอบใช้สายวัด วัดรอบน่องที่ระดับความ
สูงต่าง ๆ กัน เพื่อหาระดับที่มีเส้นรอบน่องกว้าง
ที่สุด
3. ใช้ปากกาทําเครื่องหมายที่ระดับที่มีเส้นรอบ
น่องมากที่สุด
4. ผู้ทดสอบใช้มือซ้ายดึงผิวหนังพร้อมไขมันใต้ผิวหนังในแนวตั้งด้านในของน่องเหนือระดับเครื่องหมายที่ทําไว้
ประมาณ 1 ซม. แล้วใช้เครื่องวัดความหนาของไขมันใต้ผวหนังที่ถืออยู่ในมือข้างขวาหนีบ ไปที่เนื้อใต้บริเวณที่
                                                      ิ
มือข้างซ้ายจับอยู่เล็กน้อย ในระดับเดียวกับเครื่องหมายที่กําหนดไว้ รอประมาณ 1 - 3 วินาที จนกระทังเข็มชี้
                                                                                                ่
สเกลนิ่งแล้วจึงอ่านค่าจากสเกล




5.ทําการวัด 2 ครั้ง แล้วหาค่าเฉลี่ยเพื่อนําไปคํานวณตามวิธีการต่อไป
การบันทึกผล              นําค่าความหนาของไขมันใต้ผวหนังที่วัดได้ทั้ง 2 ตําแหน่งแปลงเป็นเปอร์เซ็นต์ของ
                                                     ิ
                         ไขมันที่สะสมในร่างกายจากสมการต่อไปนี้
วิธีการคํานวณของเพศชาย
เปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย
= (0.735 x ผลรวมของความหนาของไขมันบริเวณต้นแขนด้านหลังและน่องด้านใน) + 1.0
วิธีการคํานวณของเพศหญิง
เปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย
= (0.610 x ผลรวมของความหนาของไขมันบริเวณต้นแขนด้านหลังและน่องด้านใน) + 5.1

ตัวอย่างอุปกรณ์วัดไขมันใต้ผิวหนัง
นั่งงอตัวไปข้างหน้า
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ           เพื่อวัดความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อหลังและต้นขาด้านหลัง
อุปกรณ์ที่ใช้                     กล่องเครื่องมือวัดความอ่อนตัว ขนาดสูง 30 เซนติเมตร
วิธีการปฏิบัติ
1.ท่าเริ่มต้น
- ผู้รับการทดสอบนั่งเหยียดขาตรงไป
ข้างหน้า
- เท้าทั้งสองอยู่ห่างกันประมาณ 1
ฟุต โดยให้ฝ่าเท้าวางราบชิดกล่อง
- แขนทั้งสองเหยียดตรงไปข้างหน้า


2.ผู้เข้ารับการทดสอบค่อย ๆ ก้ม
ลําตัวลงและใช้ปลายนิ้วจากมือทั้ง
สองดันแกนวัดระยะทางไปข้างหน้า
จนไม่สามารถก้มลําตัวลงไปได้อีก ให้
ผู้เข้ารับการทดสอบก้มตัวค้างไว้ 1
วินาที

ระเบียบการทดสอบ 1. ขณะที่กมเพื่อให้ปลายนิ้วแตะแกนที่วัดระยะทางไปข้างหน้านั้น เข่าจะต้องไม่งอ
                            ้
                2. ห้ามผู้เข้ารับการทดสอบโยกตัวช่วยขณะที่ก้มลําตัวลง
                3. ให้ทําการทดสอบ 2 ครั้ง
การบันทึกผล     1. ให้บนทึกระยะทางเป็นเซนติเมตร
                        ั
                2. บันทึกค่าทีทาการทดสอบได้ดีที่สุด จากการทดสอบ 2 ครั้ง
                                ่ ํ
ยืนกระโดดไกล
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ                               เพื่อวัดกําลังกล้ามเนื้อขา
อุปกรณ์ที่ใช้     1.แผ่นยางสําหรับยืนกระโดดไกล
                  2.เทปวัดระยะไม้ที หรือไม้บรรทัด (กรณีไม่มีแผ่นยาง)
                  3.ปูนขาว หรือผ้าเช็ดพื้น (กรณีใช้แผ่นยาง)
วิธีการปฏิบัติ
1.ท่าเริ่มต้น
- ผู้เข้ารับการทดสอบ ยืนแยกเท้าห่างกันประมาณ
ช่วงไหล ปลายเท้าอยู่หลังเส้นเริ่ม
- ย่อเข่าพร้อมกับเหวี่ยงแขนไปด้านหน้า-หลัง เพื่อหา
จังหวะในการกระโดด และเท้าทั้งสองไม่เคลื่อนที่


                                                             ท่าเตรียม             กรณีไม่มแผ่นยาง
                                                                                           ี
2.เมื่อได้จังหวะแล้ว ให้กระโดดด้วยเท้าทั้งสองข้างไปด้านหน้าให้ได้ระยะไกลที่สุด




3.วัดระยะจากจุดเริ่มไปยังส่วนของร่างกายของผู้รับ
การทดสอบที่อยู่ใกล้ทสุด
                     ี่




การบันทึกผล                          1.ทําการทดสอบ 2 ครั้ง บันทึกผลการทดสอบครั้งที่กระโดดได้ไกลที่สุด
                                     2. ให้วดระยะทางเป็นเซนติเมตร
                                            ั
ลุกนั่ง 60 วินาที
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ                    เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง
อุปกรณ์ที่ใช้                              1. เบาะรองพื้น หรือสนามหญ้านุ่ม
                                           2. นาฬิกาจับเวลา
วิธีการปฏิบัติ
1.ท่าเริ่มต้น
- ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย
- ชันเข่าทั้งสองข้าง
- เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก
- เท้าทั้งสองวางห่างกันประมาณ 1 ช่วงไหล่
- ฝ่าเท้าวางราบกับพื้น
- มือทั้งสองแตะไว้ที่หน้าขาทั้งสองข้าง
2.ผู้ช่วยการทดสอบนั่งอยู่ที่ปลายเท้า




3.เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการทดสอบยกลําตัวขึ้นไปสู่ท่านั่ง ก้มลําตัวให้ศรษะผ่านไประหว่างเข่า
                                                                                       ี
แขนทั้งสองเหยียดตรงไปข้างหน้า และให้ปลายนิ้วแตะเส้นตรงที่อยู่แนวเดียวกับปลายเท้าทั้งสองข้าง




4.กลับสู่ท่าเริ่มต้น โดยจะต้องให้สะบักทั้งสองข้างแตะพื้น
ระเบียบการทดสอบ ในการทดสอบจะไม่นับจํานวนครั้งในกรณีต่อไปนี้
1. มือทั้งสองไม่ได้วางแตะที่บริเวณขาทั้งสองข้าง
2. ในขณะกลับลงไปสู่ท่าเริ่มต้น สะบักไม่ได้แตะพื้น
3. ปลายนิ้วมือทั้งสองข้างไม่ได้แตะเส้นที่อยู่ในระดับเดียวกับปลายเท้า
4. ผู้เข้ารับการทดสอบใช้มือยันพื้น เพื่อดันลําตัวขึ้น
การบันทึกผล บันทึกจํานวนครั้งที่ทาได้อย่างถูกต้องภายในเวลา 60 วินาที
                                        ํ
ดันพื้น 30 วินาที
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ                          เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง
อุปกรณ์ที่ใช้                                    1. เบาะรองพื้น หรือสนามหญ้านุ่ม
                                                 2. นาฬิกาจับเวลา
วิธีการปฏิบัติ                                   ผู้ชายและผู้หญิงใช้ท่าทดสอบเหมือนกัน
1.ท่าเริ่มต้น
- ผู้เข้ารับการทดสอบนอนคว่ํา ลําตัวตรง
และเข่าเหยียดตรงขนานกับพื้น
- ยันฝ่ามือทั้งสองข้างไว้กับพื้นให้ปลายนิ้วชี้
ตรงไปข้างหน้า
- ฝ่ามือทั้งสองข้างเท่ากับช่วงไหล่
- ลําตัวจะเหยียดตรง
- แขนทั้งสองอยู่ท่าเหยียดตึง
2.เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการ
ทดสอบยุบข้อเพื่อดันพื้นลงไป โดยทํามุม
90 องศาที่ข้อศอกทั้งสองข้าง ในขณะที่
แขนบนขนานกับพื้น แล้วยกแขนและลําตัว
กลับขึ้นมาอยู่ในท่าเดิม นับเป็น 1 ครั้ง

3.กลับสู่ท่าเริ่มต้นและปฏิบัติต่อเนื่อง
จนกว่าจะหมดเวลา
ระเบียบการทดสอบ
1. ผู้ทดสอบจะต้องสังเกตลําตัวของผู้เข้ารับการทดสอบให้เหยียดตรง แขนทั้งสองอยู่ในท่าเหยียดตึงก่อนจะ
ยุบข้อเพื่อการดันพื้นลงไป
2. เมื่อยุบข้อและดันพื้นลงไป บริเวณหน้าอกของผู้เข้ารับการทดสอบลดต่ําลงจนเกือบจะแตะบริเวณเบาะ
ฟองน้ํา
การบันทึกผล บันทึกจํานวนครั้งที่ทําได้อย่างถูกต้องภายในเวลา 30 วินาที
วิ่งอ้อมหลัก
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ             เพื่อวัดความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็วและความสามารถในการทรงตัว
อุปกรณ์ที่ใช้                       1. หลักสูง 100 เซนติเมตร จํานวน 6 หลัก
                                    2. เทปวัดระยะทาง
                                    3. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที
การเตรียมสถานที่ในการทดสอบ
    ก่อนการทดสอบ ผู้ทดสอบจะต้องเตรียมสถานที่ดังนี้ คือ จากเส้นเริ่ม วัดระยะทางมา 5 เมตร จะเป็นจุด
ในการวางหลักที่ 1 จากหลักที่ 1 ในแนวเส้นเดียวกัน วัดระยะทางจากหลักที่ 1 มา 4 เมตร จะเป็นจุดในการ
วางหลักที่ 3 และเช่นเดียวกัน จากหลักที่ 3 วัดระยะทางมาอีก 4 เมตร จะเป็นจุดวางหลักที่ 5 จากหลักที่ 1,
3, 5 ทํามุม 45 องศา วัดระยะทางจุดละ 2 เมตร จะเป็นการวางหลักที่ 2, 4 และ 6 ซึ่งในแต่ละจุดนั้น ก็จะมี
ระยะทางห่างกันจุดละ 4 เมตรเช่นเดียวกัน ดังรูป




 วิธีการปฏิบติ  ั
      ให้ผู้เข้ารับการทดสอบยืนอยู่หลังเส้นเริ่ม เมื่อได้รับสัญญาณ “เริ่ม” ผู้เข้ารับการทดสอบจะวิ่งไปอ้อมซ้าย
ในหลักที่ 1 แล้วไปอ้อมขวาในหลักที่ 2 ต่อไปจะอ้อมซ้ายในหลักที่ 3 อ้อมขวาในหลักที่ 4 อ้อมซ้ายในหลักที่ 5
และอ้อมขวาในหลักที่ 6 ต่อจากนั้นก็จะวิ่งกลับมาอ้อมขวาในหลักที่ 5 อ้อมซ้ายในหลักที่ 4 อ้อมขวาในหลักที่ 3
อ้อมซ้ายในหลักที่ 2 และอ้อมขวาในหลักที่ 1 และวิ่งผ่านเส้นเริ่มไปอย่างรวดเร็ว
 ระเบียบการทดสอบ หากผู้เข้ารับการทดสอบวิ่งผิดเส้นทางตามที่กําหนด หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
 สัมผัสกับหลักที่วางไว้ ให้หยุดพักและทําการทดสอบใหม่
 การบันทึกผล บันทึกเวลาที่ผเู้ ข้ารับการทดสอบเริ่มต้นออกวิ่งจากเส้นเริ่มไปอ้อมหลักทั้ง 6 หลักและวิ่ง
                     กลับไปถึงเส้นชัยเป็นวินาที ทศนิยมสองตําแหน่ง
วิ่งระยะไกล
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ               เพื่อวัดความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ
ระยะทางในการวิ่ง
1.ระยะทาง 1,200 เมตร สําหรับนักเรียนชายและนักเรียนหญิงที่มีอายุระหว่าง 7-12 ปี
2.ระยะทาง 1,600 เมตร สําหรับนักเรียนชายและนักเรียนหญิงที่มีอายุระหว่าง 13-18 ปี
อุปกรณ์ที่ใช้                         1. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที
                                      2. สนามที่มีลู่วง หรือทางวิ่งพื้นราบ
                                                      ิ่
วิธีการปฏิบัติ
1.เมื่อให้สญญาณ “เข้าที่” ผูเ้ ข้ารับการทดสอบยืนให้เท้าข้างหนึ่งแตะเส้นเริ่ม
            ั
2.เมื่อพร้อมและนิ่ง ผู้ปล่อยตัวสั่ง “ไป” ผู้เข้ารับการทดสอบออกวิ่งไปตามเส้นทางที่กําหนดให้เร็วที่สุดเท่าที่
จะทําได้ (แม้วาจะอนุญาตให้เดินได้ แต่ก็ยังเน้นให้รักษาระดับความเร็วให้คงที่อยู่เสมอ)
                 ่
ระเบียบการทดสอบ
1.หากผู้เข้ารับการทดสอบไม่สามารถวิ่งได้ตลอดระยะทางที่กาหนดได้ ก็ให้เดินจนครบระยะทาง
                                                              ํ
2.ผู้เข้ารับการทดสอบที่ไม่สามารถวิ่ง/เดิน ได้ครบระยะทางที่กําหนดจะไม่มีการบันทึกเวลา และต้องทําการ
ทดสอบใหม่
3.หากไม่มีลู่ว่งระยะทาง 400 เมตร ก็สามารถดัดแปลงจากสนามหรือทางวิ่งให้ครบระยะทางที่กําหนดไว้
               ิ
การบันทึกผล บันทึกเวลาเป็นนาทีและวินาที




                                               เอกสารอ้างอิง

วัลลีย์ ภัทโรภาส สุพิตร สมาหิโต และคณะ (สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ). 2553.
          แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสําหรับเด็กไทยระดับก่อนประถมศึกษาอายุ
          4 – 6 ปี. กรุงเทพฯ

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. 2549. แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทาง
        กายที่สัมพันธ์กับสุขภาพสําหรับเด็กไทยอายุ 7 – 18 ปี. โรงพิม พี เอส พริ้นท์. กรุงเทพฯ.

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
Mam Chongruk
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
supap6259
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
weerawato
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
Dhanee Chant
 

Was ist angesagt? (20)

โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 

Ähnlich wie แบบทดสอบอายุ7 18

แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6
kkkkon
 
สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกาย
captain
 
สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกาย
captain
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
Art Nan
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
Bunsita Baisang
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
Bunsita Baisang
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
Nun อันทวีสิน
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
Nun อันทวีสิน
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
krutitirut
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
sonsukda
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
Chok Ke
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
krutitirut
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
sonsukda
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัด
kroojaja
 

Ähnlich wie แบบทดสอบอายุ7 18 (20)

แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6
 
สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกาย
 
สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกาย
 
5 หมู
5 หมู5 หมู
5 หมู
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
 
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeIntervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
 
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-4page
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-4pageใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-4page
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-4page
 
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-1page
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-1pageใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-1page
ใบความรู้+แรงดึงดูดของโลก+ป.3+248+dltvscip3+55t2sci p03 f26-1page
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
 
E5
E5E5
E5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
 
Obec robot contest 2012
Obec robot contest 2012Obec robot contest 2012
Obec robot contest 2012
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัด
 

แบบทดสอบอายุ7 18

  • 1. แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย สําหรับนักเรียนอายุ 7 – 18 ปี โดย สํานักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  • 2. รายการทดสอบสมรรถภาพทางกายสําหรับนักเรียน 7 – 18 ปี ที่ รายการทดสอบ วัตถุประสงค์ของการทดสอบ 1 องค์ประกอบของร่างกาย : เพื่อประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนร่างกาย ดัชนีมวลกาย (BMI) (น้ําหนักและส่วนสูง) 2 วัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง เพื่อประเมินปริมาณไขมันใต้ผิวหนังของร่างกาย 3 นั่งงอตัวไปข้างหน้า เพื่อวัดความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อหลังและต้นขาด้านหลัง 4 ยืนกระโดดไกล เพื่อวัดกําลังกล้ามเนื้อขา 5 ลุกนั่ง 60 วินาที เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง 6 ดันพื้น 30 วินาที เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อแขน 7 วิ่งอ้อมหลัก (Zigzag run) เพื่อวัดความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็วและความสามารถ ในการทรงตัว 8 วิ่งระยะไกล เพื่อวัดความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบ หายใจ
  • 3. องค์ประกอบของร่างกาย : ดัชนีมวลกาย (BMI) วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนร่างกาย (น้ําหนักและส่วนสูง) อุปกรณ์ที่ใช้ 1.เครื่องชั่งน้ําหนัก 2.เครื่องวัดส่วนสูง 3.เครื่องคิดเลข วิธีการปฏิบัติ ตัวอย่าง เช่น 1.ชั่งน้ําหนัก และวัดส่วนสูงของผู้เข้ารับการทดสอบ ผู้เข้ารับการทดสอบมีน้ําหนักตัว 25 กิโลกรัม 2.นําน้ําหนัก และส่วนสูงมาคํานวณหาค่า มีส่วนสูง 120 เซนติเมตร ดัชนีมวลกาย โดยนําค่า ค่าดัชนีมวลกาย = 25 / (1.20)2 น้าหนัก (กิโลกรัม) หารด้วย ส่วนสูง (เมตร)2 ํ = 25 / 1.44 = 17.36 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ระเบียบการทดสอบ 1. การชั่งน้ําหนักให้ผู้เข้ารับการทดสอบสวมชุดที่เบาที่สุด และให้ถอดรองเท้า 2. การวัดส่วนสูงให้ผู้เข้ารับการทดสอบ ยืนตรง ศีรษะตั้งตรง สายตามองตรงไป ข้างหน้า การบันทึกผล น้ําหนักตัวให้บันทึกเป็นค่ากิโลกรัม สําหรับส่วนสูงให้บันทึกค่าเป็นเมตร ชั่งน้ําหนัก วัดส่วนสูง
  • 4. ความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อประเมินปริมาณไขมันใต้ผิวหนังของร่างกาย อุปกรณ์ที่ใช้ 1.เครื่องวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง 2.สายวัด 3.เครื่องคิดเลข วิธีการปฏิบัติ 1.วัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณต้นแขน ด้านหลัง (triceps skinfold) 2.วัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณน่องด้านใน (medial calf skinfold) 3.นําผลรวมจาก 2 วิธีการข้างต้น มาคํานวณตามวิธีการที่ กําหนด วิธีการวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณต้นแขนด้านหลัง (triceps skinfold) 1. ผู้รบการทดสอบยืนตรง หันหลังให้ผทดสอบ ั ู้ - งอข้อศอกข้างที่ถนัด จนท่อนแขนส่วนบน และ ท่อนแขนส่วนล่างตั้งฉากกัน โดยท่อนแขนส่วนบน แนบกับลําตัว และท่อนแขนส่วนล่างชี้ตรงไป ข้างหน้า 2.ผู้ทดสอบใช้สายวัด - วัดระยะห่างระหว่างปุ่มกระดูกของกระดูก สะบักที่นนขึ้นบริเวณหัวไหล่ด้านข้างค่อนมาทาง ู ข้างหลังกับปุ่มปลายกกระดูกข้อศอก - แล้วใช้ปากกาทําเครื่องหมายไว้ที่กึ่งกลาง ระหว่างระยะห่าง
  • 5. 3.ผู้เข้ารับการทดสอบปล่อยแขนข้างลําตัวอย่าง ผ่อนคลาย 4. ผู้ทดสอบใช้มือข้างซ้ายดึงผิวหนังพร้อมไขมัน ใต้ผิวหนังในแนวกึ่งกลางด้านหลังของแขนเหนือ เครื่องหมายที่ทําไว้ประมาณ 1 ซม. - แล้วใช้เครื่องวัดความหนาของไขมันใต้ผวหนังที่ ิ ถืออยู่มือขวาหนีบไปที่เนื้อใต้บริเวณที่ขอมือข้าง ้ ซ้ายจับอยู่ในระดับเดียวกันกับเครื่องหมายที่ กําหนดไว้ รอประมาณ 1 - 3 วินาที จนกระทั่ง เข็มชี้สเกลนิ่งแล้วจึงอ่านค่าจากสเกล 5.ทําการวัด 2 ครั้ง แล้วหาค่าเฉลี่ยเพื่อนําไปคํานวณตามวิธีการต่อไป วิธีการวัดความหนาของไขมันใต้ผิวหนังบริเวณน่องด้านใน (medial calf skinfold) 1.ผู้รบการทดสอบนั่งบนเก้าอี้สูงประมาณ 70 - 75 ซม. แล้ววางเท้าขวาราบลงบนพื้นหรือกล่องที่จัดระดับ ั ความสูงให้ขอสะโพก ข้อเข่า และข้อเท้าทํามุมฉากซึ่งกันและกัน ้ 2. ผู้ทดสอบใช้สายวัด วัดรอบน่องที่ระดับความ สูงต่าง ๆ กัน เพื่อหาระดับที่มีเส้นรอบน่องกว้าง ที่สุด 3. ใช้ปากกาทําเครื่องหมายที่ระดับที่มีเส้นรอบ น่องมากที่สุด
  • 6. 4. ผู้ทดสอบใช้มือซ้ายดึงผิวหนังพร้อมไขมันใต้ผิวหนังในแนวตั้งด้านในของน่องเหนือระดับเครื่องหมายที่ทําไว้ ประมาณ 1 ซม. แล้วใช้เครื่องวัดความหนาของไขมันใต้ผวหนังที่ถืออยู่ในมือข้างขวาหนีบ ไปที่เนื้อใต้บริเวณที่ ิ มือข้างซ้ายจับอยู่เล็กน้อย ในระดับเดียวกับเครื่องหมายที่กําหนดไว้ รอประมาณ 1 - 3 วินาที จนกระทังเข็มชี้ ่ สเกลนิ่งแล้วจึงอ่านค่าจากสเกล 5.ทําการวัด 2 ครั้ง แล้วหาค่าเฉลี่ยเพื่อนําไปคํานวณตามวิธีการต่อไป การบันทึกผล นําค่าความหนาของไขมันใต้ผวหนังที่วัดได้ทั้ง 2 ตําแหน่งแปลงเป็นเปอร์เซ็นต์ของ ิ ไขมันที่สะสมในร่างกายจากสมการต่อไปนี้ วิธีการคํานวณของเพศชาย เปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย = (0.735 x ผลรวมของความหนาของไขมันบริเวณต้นแขนด้านหลังและน่องด้านใน) + 1.0 วิธีการคํานวณของเพศหญิง เปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย = (0.610 x ผลรวมของความหนาของไขมันบริเวณต้นแขนด้านหลังและน่องด้านใน) + 5.1 ตัวอย่างอุปกรณ์วัดไขมันใต้ผิวหนัง
  • 7. นั่งงอตัวไปข้างหน้า วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อหลังและต้นขาด้านหลัง อุปกรณ์ที่ใช้ กล่องเครื่องมือวัดความอ่อนตัว ขนาดสูง 30 เซนติเมตร วิธีการปฏิบัติ 1.ท่าเริ่มต้น - ผู้รับการทดสอบนั่งเหยียดขาตรงไป ข้างหน้า - เท้าทั้งสองอยู่ห่างกันประมาณ 1 ฟุต โดยให้ฝ่าเท้าวางราบชิดกล่อง - แขนทั้งสองเหยียดตรงไปข้างหน้า 2.ผู้เข้ารับการทดสอบค่อย ๆ ก้ม ลําตัวลงและใช้ปลายนิ้วจากมือทั้ง สองดันแกนวัดระยะทางไปข้างหน้า จนไม่สามารถก้มลําตัวลงไปได้อีก ให้ ผู้เข้ารับการทดสอบก้มตัวค้างไว้ 1 วินาที ระเบียบการทดสอบ 1. ขณะที่กมเพื่อให้ปลายนิ้วแตะแกนที่วัดระยะทางไปข้างหน้านั้น เข่าจะต้องไม่งอ ้ 2. ห้ามผู้เข้ารับการทดสอบโยกตัวช่วยขณะที่ก้มลําตัวลง 3. ให้ทําการทดสอบ 2 ครั้ง การบันทึกผล 1. ให้บนทึกระยะทางเป็นเซนติเมตร ั 2. บันทึกค่าทีทาการทดสอบได้ดีที่สุด จากการทดสอบ 2 ครั้ง ่ ํ
  • 8. ยืนกระโดดไกล วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดกําลังกล้ามเนื้อขา อุปกรณ์ที่ใช้ 1.แผ่นยางสําหรับยืนกระโดดไกล 2.เทปวัดระยะไม้ที หรือไม้บรรทัด (กรณีไม่มีแผ่นยาง) 3.ปูนขาว หรือผ้าเช็ดพื้น (กรณีใช้แผ่นยาง) วิธีการปฏิบัติ 1.ท่าเริ่มต้น - ผู้เข้ารับการทดสอบ ยืนแยกเท้าห่างกันประมาณ ช่วงไหล ปลายเท้าอยู่หลังเส้นเริ่ม - ย่อเข่าพร้อมกับเหวี่ยงแขนไปด้านหน้า-หลัง เพื่อหา จังหวะในการกระโดด และเท้าทั้งสองไม่เคลื่อนที่ ท่าเตรียม กรณีไม่มแผ่นยาง ี 2.เมื่อได้จังหวะแล้ว ให้กระโดดด้วยเท้าทั้งสองข้างไปด้านหน้าให้ได้ระยะไกลที่สุด 3.วัดระยะจากจุดเริ่มไปยังส่วนของร่างกายของผู้รับ การทดสอบที่อยู่ใกล้ทสุด ี่ การบันทึกผล 1.ทําการทดสอบ 2 ครั้ง บันทึกผลการทดสอบครั้งที่กระโดดได้ไกลที่สุด 2. ให้วดระยะทางเป็นเซนติเมตร ั
  • 9. ลุกนั่ง 60 วินาที วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง อุปกรณ์ที่ใช้ 1. เบาะรองพื้น หรือสนามหญ้านุ่ม 2. นาฬิกาจับเวลา วิธีการปฏิบัติ 1.ท่าเริ่มต้น - ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย - ชันเข่าทั้งสองข้าง - เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก - เท้าทั้งสองวางห่างกันประมาณ 1 ช่วงไหล่ - ฝ่าเท้าวางราบกับพื้น - มือทั้งสองแตะไว้ที่หน้าขาทั้งสองข้าง 2.ผู้ช่วยการทดสอบนั่งอยู่ที่ปลายเท้า 3.เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการทดสอบยกลําตัวขึ้นไปสู่ท่านั่ง ก้มลําตัวให้ศรษะผ่านไประหว่างเข่า ี แขนทั้งสองเหยียดตรงไปข้างหน้า และให้ปลายนิ้วแตะเส้นตรงที่อยู่แนวเดียวกับปลายเท้าทั้งสองข้าง 4.กลับสู่ท่าเริ่มต้น โดยจะต้องให้สะบักทั้งสองข้างแตะพื้น ระเบียบการทดสอบ ในการทดสอบจะไม่นับจํานวนครั้งในกรณีต่อไปนี้ 1. มือทั้งสองไม่ได้วางแตะที่บริเวณขาทั้งสองข้าง 2. ในขณะกลับลงไปสู่ท่าเริ่มต้น สะบักไม่ได้แตะพื้น 3. ปลายนิ้วมือทั้งสองข้างไม่ได้แตะเส้นที่อยู่ในระดับเดียวกับปลายเท้า 4. ผู้เข้ารับการทดสอบใช้มือยันพื้น เพื่อดันลําตัวขึ้น การบันทึกผล บันทึกจํานวนครั้งที่ทาได้อย่างถูกต้องภายในเวลา 60 วินาที ํ
  • 10. ดันพื้น 30 วินาที วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง อุปกรณ์ที่ใช้ 1. เบาะรองพื้น หรือสนามหญ้านุ่ม 2. นาฬิกาจับเวลา วิธีการปฏิบัติ ผู้ชายและผู้หญิงใช้ท่าทดสอบเหมือนกัน 1.ท่าเริ่มต้น - ผู้เข้ารับการทดสอบนอนคว่ํา ลําตัวตรง และเข่าเหยียดตรงขนานกับพื้น - ยันฝ่ามือทั้งสองข้างไว้กับพื้นให้ปลายนิ้วชี้ ตรงไปข้างหน้า - ฝ่ามือทั้งสองข้างเท่ากับช่วงไหล่ - ลําตัวจะเหยียดตรง - แขนทั้งสองอยู่ท่าเหยียดตึง 2.เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการ ทดสอบยุบข้อเพื่อดันพื้นลงไป โดยทํามุม 90 องศาที่ข้อศอกทั้งสองข้าง ในขณะที่ แขนบนขนานกับพื้น แล้วยกแขนและลําตัว กลับขึ้นมาอยู่ในท่าเดิม นับเป็น 1 ครั้ง 3.กลับสู่ท่าเริ่มต้นและปฏิบัติต่อเนื่อง จนกว่าจะหมดเวลา ระเบียบการทดสอบ 1. ผู้ทดสอบจะต้องสังเกตลําตัวของผู้เข้ารับการทดสอบให้เหยียดตรง แขนทั้งสองอยู่ในท่าเหยียดตึงก่อนจะ ยุบข้อเพื่อการดันพื้นลงไป 2. เมื่อยุบข้อและดันพื้นลงไป บริเวณหน้าอกของผู้เข้ารับการทดสอบลดต่ําลงจนเกือบจะแตะบริเวณเบาะ ฟองน้ํา การบันทึกผล บันทึกจํานวนครั้งที่ทําได้อย่างถูกต้องภายในเวลา 30 วินาที
  • 11. วิ่งอ้อมหลัก วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็วและความสามารถในการทรงตัว อุปกรณ์ที่ใช้ 1. หลักสูง 100 เซนติเมตร จํานวน 6 หลัก 2. เทปวัดระยะทาง 3. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที การเตรียมสถานที่ในการทดสอบ ก่อนการทดสอบ ผู้ทดสอบจะต้องเตรียมสถานที่ดังนี้ คือ จากเส้นเริ่ม วัดระยะทางมา 5 เมตร จะเป็นจุด ในการวางหลักที่ 1 จากหลักที่ 1 ในแนวเส้นเดียวกัน วัดระยะทางจากหลักที่ 1 มา 4 เมตร จะเป็นจุดในการ วางหลักที่ 3 และเช่นเดียวกัน จากหลักที่ 3 วัดระยะทางมาอีก 4 เมตร จะเป็นจุดวางหลักที่ 5 จากหลักที่ 1, 3, 5 ทํามุม 45 องศา วัดระยะทางจุดละ 2 เมตร จะเป็นการวางหลักที่ 2, 4 และ 6 ซึ่งในแต่ละจุดนั้น ก็จะมี ระยะทางห่างกันจุดละ 4 เมตรเช่นเดียวกัน ดังรูป วิธีการปฏิบติ ั ให้ผู้เข้ารับการทดสอบยืนอยู่หลังเส้นเริ่ม เมื่อได้รับสัญญาณ “เริ่ม” ผู้เข้ารับการทดสอบจะวิ่งไปอ้อมซ้าย ในหลักที่ 1 แล้วไปอ้อมขวาในหลักที่ 2 ต่อไปจะอ้อมซ้ายในหลักที่ 3 อ้อมขวาในหลักที่ 4 อ้อมซ้ายในหลักที่ 5 และอ้อมขวาในหลักที่ 6 ต่อจากนั้นก็จะวิ่งกลับมาอ้อมขวาในหลักที่ 5 อ้อมซ้ายในหลักที่ 4 อ้อมขวาในหลักที่ 3 อ้อมซ้ายในหลักที่ 2 และอ้อมขวาในหลักที่ 1 และวิ่งผ่านเส้นเริ่มไปอย่างรวดเร็ว ระเบียบการทดสอบ หากผู้เข้ารับการทดสอบวิ่งผิดเส้นทางตามที่กําหนด หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย สัมผัสกับหลักที่วางไว้ ให้หยุดพักและทําการทดสอบใหม่ การบันทึกผล บันทึกเวลาที่ผเู้ ข้ารับการทดสอบเริ่มต้นออกวิ่งจากเส้นเริ่มไปอ้อมหลักทั้ง 6 หลักและวิ่ง กลับไปถึงเส้นชัยเป็นวินาที ทศนิยมสองตําแหน่ง
  • 12. วิ่งระยะไกล วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ ระยะทางในการวิ่ง 1.ระยะทาง 1,200 เมตร สําหรับนักเรียนชายและนักเรียนหญิงที่มีอายุระหว่าง 7-12 ปี 2.ระยะทาง 1,600 เมตร สําหรับนักเรียนชายและนักเรียนหญิงที่มีอายุระหว่าง 13-18 ปี อุปกรณ์ที่ใช้ 1. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที 2. สนามที่มีลู่วง หรือทางวิ่งพื้นราบ ิ่ วิธีการปฏิบัติ 1.เมื่อให้สญญาณ “เข้าที่” ผูเ้ ข้ารับการทดสอบยืนให้เท้าข้างหนึ่งแตะเส้นเริ่ม ั 2.เมื่อพร้อมและนิ่ง ผู้ปล่อยตัวสั่ง “ไป” ผู้เข้ารับการทดสอบออกวิ่งไปตามเส้นทางที่กําหนดให้เร็วที่สุดเท่าที่ จะทําได้ (แม้วาจะอนุญาตให้เดินได้ แต่ก็ยังเน้นให้รักษาระดับความเร็วให้คงที่อยู่เสมอ) ่ ระเบียบการทดสอบ 1.หากผู้เข้ารับการทดสอบไม่สามารถวิ่งได้ตลอดระยะทางที่กาหนดได้ ก็ให้เดินจนครบระยะทาง ํ 2.ผู้เข้ารับการทดสอบที่ไม่สามารถวิ่ง/เดิน ได้ครบระยะทางที่กําหนดจะไม่มีการบันทึกเวลา และต้องทําการ ทดสอบใหม่ 3.หากไม่มีลู่ว่งระยะทาง 400 เมตร ก็สามารถดัดแปลงจากสนามหรือทางวิ่งให้ครบระยะทางที่กําหนดไว้ ิ การบันทึกผล บันทึกเวลาเป็นนาทีและวินาที เอกสารอ้างอิง วัลลีย์ ภัทโรภาส สุพิตร สมาหิโต และคณะ (สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ). 2553. แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสําหรับเด็กไทยระดับก่อนประถมศึกษาอายุ 4 – 6 ปี. กรุงเทพฯ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. 2549. แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทาง กายที่สัมพันธ์กับสุขภาพสําหรับเด็กไทยอายุ 7 – 18 ปี. โรงพิม พี เอส พริ้นท์. กรุงเทพฯ.