SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 21
สมาชิก
1. นางสาว ฉันทนา ศรีกุล
  รหัส : 54022305095
2. นางสาว นัทธมน อินทรา
 รหัส : 54022305087
3. นางสาว ศิริรัตน์ ดีมาก
   รหัส : 54022305103
4. นางสาว นภาพร ขวัญมี
   รหัส : 54022305108
ประวัต ิค วามเป็น มา
• ด้วยความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและ
  อุตสาหกรรมด้านซอร์ฟแวร์ 
  (Software) ทำาให้มีการประดิษฐ์คดค้นและ
                                     ิ
  พัฒนาโปรแกรมใหม่ๆ ออกมาอย่างต่อเนื่อง
  นอกจากนันยังได้มีการพัฒนาแบบต่อยอด
            ้
  กล่าวคือ เป็นการพัฒนาที่ไม่ได้เริ่มต้นจากจุด
  แรกแต่เป็นการพัฒนาที่นำาเอาผลหรือจากสิ่งที่มี
  อยู่แล้วมาพัฒนาต่อและเพิ่มมูลค่าให้สงขึ้น ทั้งนี้
                                        ู
  จะได้ผลเป็นนวัตกรรมชินใหม่ออกมา  เช่น
                        ้
  เดียวกันกับการพัฒนาโปรแกรม Word to
  Flippingbook ซึ่งเป็นโปรแกรมลิขสิทธิ์ที่
  พัฒนาขึ้นโดยบริษัท Flippagemakerจำากัด
• e-Books , e-Magazine จึงเป็นสือที่มีบทบาท
                                      ่
  ในการใช้ชีวิตประจำาวัน  เนื่องจากพฤติกรรม
  ของผูบริโภคสือได้เปลี่ยนแปลงไป เช่น  การ
         ้      ่
  เข้าถึงระบบอินเตอร์เน็ตที่ง่ายขึ้น รวมทั้ง
  ฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์มีราคาที่ตำ่าลง และด้วย
  ความสะดวกในการใช้งานของ e-
  Magazine ในการเปิดพลิกหน้ากระดาษโดย
  การใช้ Mouse หรือ Keyboard เป็นตัว
  ควบคุม มีปมคำาสังให้กดควบคุมเพื่อความ
             ุ่   ่
  สะดวกในการใช้งาน ซึ่งถือเป็นนวัตกรรมด้าน
  การพัฒนาโปรแกรมยุคใหม่  เป็นการ
  เปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตเอกสาร หนังสือ
วิว ัฒ นาการ E-Magazine ใน
           ประเทศไทย
• ในประเทศไทยยุคของ e-Magazine เริ่มจาก
  การปรากฏโฉมของ มินิซีดี PC
  Magazine 2000 ในนิตยสาร PC
  Magazine ปี 2543 มาบันทึกไว้ในแผ่นมินิซีดี
  ที่มีชอว่า "PC Magazine 2000" ซึ่งมีขนาด
        ื่
  เพียง 3" ทำาให้คณสามารถพกพา PC
                  ุ
  Magazine ทั้ง 12 เล่มไปอ่านได้ทุกที่ทุกเวลา
  แม้ว่าการอ่านในช่วงเวลานั้นจะยุ่งยากกว่าสมัย
  ปัจจุบนบ้าง เพราะตัวนิตยสารอยู่ในรูปแบบของ
           ั
  มินิซีดี ภายในบรรจุไฟล์บทความที่เป็น
  ฟอร์แมต PDF หรือ Acrobat พร้อมผู้ใช้งาน
  ต้องมีโปรแกรม Acrobat Reader ในการอ่าน
• ที่แตกต่างจากในปัจจุบนที่นตยสารออนไลน์
                           ั  ิ
  หรือ e-Magazine ที่ผู้บริโภคเริ่มเข้าถึง
  เทคโนโลยีที่มากขึ้น เนื่องจากอุปกรณ์
  อิเล็กทรอนิกส์ มือถือ คอมพิวเตอร์ มีราคาที่ถูก
  ลงในการเป็นเจ้าของ ตลอดจนบริษัทสื่อสิ่งพิมพ์
  ในประเทศไทยก็มีการปรับตัวเข้าสูการเป็น
                                    ่
  นิตยสารออนไลน์กันมากขึ้น เช่น นิตยสา
  รอสท. Maxim เป็นต้น โดยเมื่อจัดทำาแล้วจัด
  เก็บในรูปแบบของไฟล์ข้อมูล และฝากในเว็ป
  ไซต์ที่เกี่ยวข้องกับเนือหาสาระในนิตยสารนั้นๆ
                         ้
  ทำาให้ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลด e –
  Magazine มาอ่านได้อย่างฟรีและสะดวก เช่น
PC Magazine ฉบับ ที่ 27 เมษายน 2544
       จุด เด่น ของ e –
         Magazine
• ข้อดีของ e –Magazine อีกหลายประการ เช่น
  ผลิตได้ง่าย สะดวก ปรับปรุงได้ตลอดเวลา มี
  ต้นทุนการผลิตตำ่า ไม่เปลืองพื้นที่ในการจัดเก็บ
  เอกสาร  ทำาสำาเนาเอกสารได้ง่าย  สามารถนำา
  เสนอผ่านสื่อได้หลายช่องทาง  การส่งผ่านถึง
  ผูรับโดยตรงทาง e-mail หรือ ผ่าน Social
    ้
  Network การเผยแพร่ออนไลน์บนเว็บ เปิดชม
  ได้บน iPad, iPhone, iPod Touch,
  Samsung Galaxy Tab บันทึกลงบน
  แผ่น CD เพื่อเปิดชมแบบออฟไลน์ สามารถ
  สร้างรายได้ของนิตยสารจะมาจากการขายหน้า
  โฆษณาออนไลน์ให้กับสินค้าต่างๆ และความ
ความแตกต่า งระหว่า งนิต ยสาร
ฉบับ กระดาษกับ นิต ยสารออนไลน์
• ข้อแตกต่างระหว่างนิตยสารฉบับกระดาษกับ
  นิตยสารออนไลน์คือ เทคนิคในการนำาเสนอ ซึ่ง
  นิตยสารออนไลน์จะใช้การออกแบบจาก
  โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีเสียง ภาพเคลื่อนไหว
  และสามารถย่อขยายหน้า ตลอดจนเพิ่มการ
  สืบค้น การลิงค์หัวข้อที่เกี่ยวข้อง ต่อเชือมกัน
                                           ่
  การ Navigate ข้ามบทความ หรือการพลิกอ่าน
  ข้อความต่างๆที่สอดคล้อง บางฉบับมีครบทุก
  อย่าง บางฉบับมีแค่ข้อใดข้อหนึ่ง
• ถ้าหากนิตยสารออนไลน์ฉบับนั้นมีครบก็ทำาให้ผู้
  เข้าอ่านสะดวกมากขึ้น และเป็นการดึงกลุ่มคน
  อ่านให้เข้ามาอ่านมากขึ้น แต่เทคนิคในการ
  พิมพ์หนังสือ ซึ่งก็คอ การเขียนโปรแกรม ก็ต้อง
                       ื
  สูงตามไปด้วย อย่างไรก็ตาม ในตอนเริ่มต้นของ
  นิตยสาร โดยส่วนใหญ่จะไม่มีลักษณะดังกล่าว
  ซึ่งง่ายสำาหรับการเริ่มต้นและการทดสอบการ
  ยอมรับของผู้อ่าน เมื่อเริ่มต้นออกนิตยสาร
  ออนไลน์ ประเด็นสำาคัญคือ Content is gold
  "เนื้อหาสาระคือทอง" ที่จะมัดใจและสร้างความ
  ภักดีต่อผู้บริโภคได้
แนวโน้ม ของนิต ยสารออนไลน์
• ปัจจุบันมีผลวิจัยของวัยรุ่นไทยมากมายต่อไลฟ์
  สไตล์ของคนยุคใหม่ในประเทศไทย อันส่งผลถึง
  การเติบโตของสือออนไลน์ทั้งหลาย รวมถึง
                      ่
  นิตยสารออนไลน์หรือ E-Magazine เช่นงาน
  วิจัยในการใช้เวลาอยู่กบสือต่างๆ ต่อวัน มากกว่า
                             ั ่
  ค่าเฉลี่ยของเอเชียแปซิฟิก เวลาที่วัยรุ่นไทยใช้
  สือ/ (ชัวโมง) เวลาเฉลี่ยของเอเชียแปซิฟิก
    ่      ่
  (ชัวโมง)
      ่
• โทรทัศน์             5.7
• อินเทอร์เน็ต        3.1
• วิทยุ                  1.3
• นิตยสาร            0.8
• หนังสือพิมพ์      0.9
  ข้อ มูล จาก : Synovate Young Asian
• ซึ่งพบว่ากลุ่มวัยรุ่นหรือคนรุ่นใหม่บริโภคสื่อทาง
  อินเตอร์เน็ตมากขึ้น และเริ่มมีบทบาทต่อการใช้
  ชีวิตประจำาวันที่ต้องมีการแข่งขันกันสูง ทุกสิ่ง
  ทุกอย่างล้วนเป็นสิงที่เร่งรีบด้วยกันทั้งหมด
                       ่
  ตลอดจนอัตราความคลั่งไคล้เทคโนโลยีในการ
  ถือครองเป็นเจ้าของอุปกรณ์ไฮเทคในประเภท
  ต่างๆ ของคนไทย พบว่าคนไทยเป็นเจ้าของ
  โทรศัพท์มือถือเพิ่มสูงขึ้น รองลงมาเป็น
  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และเครื่อง
  เล่น MP3 อย่าง iPod และมีแนวโน้มที่คนไทย
  จะเป็นเจ้าของอุปกรณ์ไฮเทคที่ตอบสนองไลฟ์
  สไตล์เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากราคาอุปกรณ์
ที่ม าจากนิต ยสาร MBA ฉบับ ที่ 146 มิถ ุน ายน 2554 หน้า
                       61.
ข้อ ดี
1. ประหยัดค่าใช้จ่ายกว่าการทำา Magazine รูป
  แบบเดิม ที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการพิมพ์และมี
  ปริมาณขั้นตำ่า
2. ประหยัดเวลาในการจัดทำา เพราะ 
  e-Magazine ใช้เวลาจัดทำาสัน ปกติไม่เกิน 1
                               ้
  สัปดาห์
3. สามารถเข้าถึงได้จากทุกมุมโลก ทุกเวลาตลอด
  24 ชม.
4. ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ทันสมัยขององค์กรของ
  ท่าน
5. สามารถค้นหาข้อมูลจากเนื้อหาภายในเล่มได้
  อย่างรวดเร็ว
7. สีสนลวดลายต่างๆ เจ้าของคอลัมน์สามารถแต่ง
       ั
  แต้มนำาเสนอได้อย่างเต็มที่
8. สามารถกำาหนด URL ให้คลิกเพื่อไปเปิด
  เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง หรือประกอบกับแทรกภาพ
  เคลื่อนไหว ข้อมูลเสียง เพลง วิดีโอ clip ต่างๆ
  ที่เชือมต่อไปยังอินเตอร์เน็ตอย่าง YouTube ได้
         ่
  หรือจะเป็นการแทรกเกมส์ หรือส่วนที่ต้องการ
  ตอบโต้กับผู้อ่านลงไปในเนื้อหาได้อย่างลงตัว
9. ค้นหาตำาแหน่ง หรือหาเส้นทางไปยังสถานที่ซึ่ง
  ถูกอ้างอิงไว้ในเนือหาได้อย่างง่ายดาย ซึ่ง
                       ้
  คุณสมบัติทั้งหมดที่กล่าวมานี้เอง ทำาให้การอ่าน
  นิตยสารไม่น่าเบืออีกต่อไป
                     ่
ข้อ เสีย
1. ต้องอาศัยพลังงานในการอ่านตลอดเวลา ไม่ว่า
   จะเป็นไฟฟ้าหรือแบตเตอรี่
  หากไฟฟ้าดับหรือไม่มีแบตเตอรี่ก็จะไม่สามารถ
   อ่านได้
2. เสียสุขภาพสายตา จากการได้รับแสงจาก
   อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
3. ขาดความรู้สึก หรืออรรถรส หรือความคลาสสิค
การจัด ทำา  e-Magazine  แบ่ง
        เป็น 2 ประเภท
1. แบบ scan
  บริการนี้เหมาะสำาหรับลูกค้าที่มี Catalogue
  หรือแม็กกาซีน หรือจดหมายข่าวฉบับตีพิมพ์อยู่
  แล้ว และต้องการจัดทำาเป็น e-Magazine อย่าง
  ง่ายๆ ราคาประหยัด โดยการจัดทำา 
  e-Magazine วิธนี้จะเป็นการนำาภาพ  scan มา
                    ี
  ปรับแต่งแสงสีสันให้คมชัด แล้วจึงนำามาทำา
  เป็น e-Magazine 
  ค่าบริการเริ่มต้น สำาหรับ e-Magazine ไม่เกิน
  40 หน้า ราคาเพียง 3,000 บาท/ฉบับ
2. แบบจัด Layout ใหม่ เพิ่ม ลูก เล่น ด้ว ย
  ภาพเคลื่อ นไหว หรือ ภาพวีด ีโ อ
  กรณีที่ลูกค้ามีข้อมูลที่ยังไม่พร้อมจัดทำาเป็น e-
  Magazine ได้ทันที เช่น ข้อมูลแยกรูปภาพกับ
  ข้อความ หรือเป็นข้อมูลที่มีการรวบรวมมาจาก
  เอกสารต่างๆ Numplus จะทำาการจัดวาง
  layout ใหม่ให้สวยงาม และมีสอดคล้องกันทั้ง
  ฉบับ โดยลูกค้าอาจเลือกลูกเล่นเพิ่มเติมลงใน
  หน้าต่างๆ ของ e-Magazine ได้ เช่น ภาพ
  เคลื่อนไหว หรือพื้นที่แสดงวีดีโอ
    ค่าบริการในส่วนนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณข้อมูลและ
  ลูกเล่นที่จะใส่ลงไป โปรดติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อ
ตัว อย่า ง e -Magazine
วิธ ีก ารใช้ห รือ อ่า น E –
                Magazine
1. โดยส่วนมากแล้วการที่เราจะเข้าไปใช้บริการ
   E-Magazine ได้นนต้องมีการสมัครเป็น
                      ั้
   สมาชิกก่อน และต้องเสียค่าใช้จ่ายในการใช้
   บริการซึ่งก็แล้วแต่ข้อตกลงระหว่างผูใช้
                                      ้
   บริการกับเจ้าของ E-Magazine แต่ที่เห็นส่วน
   มากก็จะคิดค่าบริการเป็นรายปักษ์หรือราย
   เดือน

2.      แต่ในกรณีที่เป็น E-Magazine แจกฟรี
     หรือเปิดให้บริการฟรีก็เพียงสมัครเป็นสมาชิก
E magazine

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์
teerarat55
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
Pp'dan Phuengkun
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอม
nam pedpuai
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอม
nam pedpuai
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
guest832105
 
605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22
Rungroj Ssan
 

Was ist angesagt? (17)

155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
E book muanal-for_ntc
E book muanal-for_ntcE book muanal-for_ntc
E book muanal-for_ntc
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอม
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอม
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
 
605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Andere mochten auch

แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่นแบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
Nutchaporn Kanchanakorn
 
ประเภทของสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ประเภทของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทของสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ประเภทของสื่ออิเล็กทรอนิกส์
Ping Knp
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
maethaya
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
Kantiya Dornkanha
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
สำเร็จ นางสีคุณ
 

Andere mochten auch (7)

แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่นแบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
แบบสอบถามการติดเกมออนไลน์ของวัยรุ่น
 
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถามตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
 
ประเภทของสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ประเภทของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทของสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ประเภทของสื่ออิเล็กทรอนิกส์
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรมตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
 

Ähnlich wie E magazine

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
bscreech
 
Random 100125184602-phpapp02
Random 100125184602-phpapp02Random 100125184602-phpapp02
Random 100125184602-phpapp02
nantiya2010
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
Justice MengKing
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
Thank Chiro
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับโครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
Angsuthorn
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Wilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Wilaiporn Seehawong
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
Thank Chiro
 

Ähnlich wie E magazine (20)

โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CCโครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
โครงงาน เรื่อง Adobe Photoshop CC
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานท 2-8 (1)
ใบงานท   2-8 (1)ใบงานท   2-8 (1)
ใบงานท 2-8 (1)
 
K2
K2K2
K2
 
K2
K2K2
K2
 
K2
K2K2
K2
 
Random 100125184602-phpapp02
Random 100125184602-phpapp02Random 100125184602-phpapp02
Random 100125184602-phpapp02
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
บทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัยบทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัย
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับโครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 

E magazine

  • 1.
  • 2. สมาชิก 1. นางสาว ฉันทนา ศรีกุล รหัส : 54022305095 2. นางสาว นัทธมน อินทรา รหัส : 54022305087 3. นางสาว ศิริรัตน์ ดีมาก รหัส : 54022305103 4. นางสาว นภาพร ขวัญมี รหัส : 54022305108
  • 3. ประวัต ิค วามเป็น มา • ด้วยความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและ อุตสาหกรรมด้านซอร์ฟแวร์  (Software) ทำาให้มีการประดิษฐ์คดค้นและ ิ พัฒนาโปรแกรมใหม่ๆ ออกมาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนันยังได้มีการพัฒนาแบบต่อยอด ้ กล่าวคือ เป็นการพัฒนาที่ไม่ได้เริ่มต้นจากจุด แรกแต่เป็นการพัฒนาที่นำาเอาผลหรือจากสิ่งที่มี อยู่แล้วมาพัฒนาต่อและเพิ่มมูลค่าให้สงขึ้น ทั้งนี้ ู จะได้ผลเป็นนวัตกรรมชินใหม่ออกมา  เช่น ้ เดียวกันกับการพัฒนาโปรแกรม Word to Flippingbook ซึ่งเป็นโปรแกรมลิขสิทธิ์ที่ พัฒนาขึ้นโดยบริษัท Flippagemakerจำากัด
  • 4. • e-Books , e-Magazine จึงเป็นสือที่มีบทบาท ่ ในการใช้ชีวิตประจำาวัน  เนื่องจากพฤติกรรม ของผูบริโภคสือได้เปลี่ยนแปลงไป เช่น  การ ้ ่ เข้าถึงระบบอินเตอร์เน็ตที่ง่ายขึ้น รวมทั้ง ฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์มีราคาที่ตำ่าลง และด้วย ความสะดวกในการใช้งานของ e- Magazine ในการเปิดพลิกหน้ากระดาษโดย การใช้ Mouse หรือ Keyboard เป็นตัว ควบคุม มีปมคำาสังให้กดควบคุมเพื่อความ ุ่ ่ สะดวกในการใช้งาน ซึ่งถือเป็นนวัตกรรมด้าน การพัฒนาโปรแกรมยุคใหม่  เป็นการ เปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตเอกสาร หนังสือ
  • 5. วิว ัฒ นาการ E-Magazine ใน ประเทศไทย • ในประเทศไทยยุคของ e-Magazine เริ่มจาก การปรากฏโฉมของ มินิซีดี PC Magazine 2000 ในนิตยสาร PC Magazine ปี 2543 มาบันทึกไว้ในแผ่นมินิซีดี ที่มีชอว่า "PC Magazine 2000" ซึ่งมีขนาด ื่ เพียง 3" ทำาให้คณสามารถพกพา PC ุ Magazine ทั้ง 12 เล่มไปอ่านได้ทุกที่ทุกเวลา แม้ว่าการอ่านในช่วงเวลานั้นจะยุ่งยากกว่าสมัย ปัจจุบนบ้าง เพราะตัวนิตยสารอยู่ในรูปแบบของ ั มินิซีดี ภายในบรรจุไฟล์บทความที่เป็น ฟอร์แมต PDF หรือ Acrobat พร้อมผู้ใช้งาน ต้องมีโปรแกรม Acrobat Reader ในการอ่าน
  • 6. • ที่แตกต่างจากในปัจจุบนที่นตยสารออนไลน์ ั ิ หรือ e-Magazine ที่ผู้บริโภคเริ่มเข้าถึง เทคโนโลยีที่มากขึ้น เนื่องจากอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ มือถือ คอมพิวเตอร์ มีราคาที่ถูก ลงในการเป็นเจ้าของ ตลอดจนบริษัทสื่อสิ่งพิมพ์ ในประเทศไทยก็มีการปรับตัวเข้าสูการเป็น ่ นิตยสารออนไลน์กันมากขึ้น เช่น นิตยสา รอสท. Maxim เป็นต้น โดยเมื่อจัดทำาแล้วจัด เก็บในรูปแบบของไฟล์ข้อมูล และฝากในเว็ป ไซต์ที่เกี่ยวข้องกับเนือหาสาระในนิตยสารนั้นๆ ้ ทำาให้ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลด e – Magazine มาอ่านได้อย่างฟรีและสะดวก เช่น
  • 7. PC Magazine ฉบับ ที่ 27 เมษายน 2544
  • 8.        จุด เด่น ของ e – Magazine • ข้อดีของ e –Magazine อีกหลายประการ เช่น ผลิตได้ง่าย สะดวก ปรับปรุงได้ตลอดเวลา มี ต้นทุนการผลิตตำ่า ไม่เปลืองพื้นที่ในการจัดเก็บ เอกสาร  ทำาสำาเนาเอกสารได้ง่าย  สามารถนำา เสนอผ่านสื่อได้หลายช่องทาง  การส่งผ่านถึง ผูรับโดยตรงทาง e-mail หรือ ผ่าน Social ้ Network การเผยแพร่ออนไลน์บนเว็บ เปิดชม ได้บน iPad, iPhone, iPod Touch, Samsung Galaxy Tab บันทึกลงบน แผ่น CD เพื่อเปิดชมแบบออฟไลน์ สามารถ สร้างรายได้ของนิตยสารจะมาจากการขายหน้า โฆษณาออนไลน์ให้กับสินค้าต่างๆ และความ
  • 9. ความแตกต่า งระหว่า งนิต ยสาร ฉบับ กระดาษกับ นิต ยสารออนไลน์ • ข้อแตกต่างระหว่างนิตยสารฉบับกระดาษกับ นิตยสารออนไลน์คือ เทคนิคในการนำาเสนอ ซึ่ง นิตยสารออนไลน์จะใช้การออกแบบจาก โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีเสียง ภาพเคลื่อนไหว และสามารถย่อขยายหน้า ตลอดจนเพิ่มการ สืบค้น การลิงค์หัวข้อที่เกี่ยวข้อง ต่อเชือมกัน ่ การ Navigate ข้ามบทความ หรือการพลิกอ่าน ข้อความต่างๆที่สอดคล้อง บางฉบับมีครบทุก อย่าง บางฉบับมีแค่ข้อใดข้อหนึ่ง
  • 10. • ถ้าหากนิตยสารออนไลน์ฉบับนั้นมีครบก็ทำาให้ผู้ เข้าอ่านสะดวกมากขึ้น และเป็นการดึงกลุ่มคน อ่านให้เข้ามาอ่านมากขึ้น แต่เทคนิคในการ พิมพ์หนังสือ ซึ่งก็คอ การเขียนโปรแกรม ก็ต้อง ื สูงตามไปด้วย อย่างไรก็ตาม ในตอนเริ่มต้นของ นิตยสาร โดยส่วนใหญ่จะไม่มีลักษณะดังกล่าว ซึ่งง่ายสำาหรับการเริ่มต้นและการทดสอบการ ยอมรับของผู้อ่าน เมื่อเริ่มต้นออกนิตยสาร ออนไลน์ ประเด็นสำาคัญคือ Content is gold "เนื้อหาสาระคือทอง" ที่จะมัดใจและสร้างความ ภักดีต่อผู้บริโภคได้
  • 11. แนวโน้ม ของนิต ยสารออนไลน์ • ปัจจุบันมีผลวิจัยของวัยรุ่นไทยมากมายต่อไลฟ์ สไตล์ของคนยุคใหม่ในประเทศไทย อันส่งผลถึง การเติบโตของสือออนไลน์ทั้งหลาย รวมถึง ่ นิตยสารออนไลน์หรือ E-Magazine เช่นงาน วิจัยในการใช้เวลาอยู่กบสือต่างๆ ต่อวัน มากกว่า ั ่ ค่าเฉลี่ยของเอเชียแปซิฟิก เวลาที่วัยรุ่นไทยใช้ สือ/ (ชัวโมง) เวลาเฉลี่ยของเอเชียแปซิฟิก ่ ่ (ชัวโมง) ่ • โทรทัศน์             5.7 • อินเทอร์เน็ต        3.1 • วิทยุ                  1.3 • นิตยสาร            0.8 • หนังสือพิมพ์      0.9 ข้อ มูล จาก : Synovate Young Asian
  • 12. • ซึ่งพบว่ากลุ่มวัยรุ่นหรือคนรุ่นใหม่บริโภคสื่อทาง อินเตอร์เน็ตมากขึ้น และเริ่มมีบทบาทต่อการใช้ ชีวิตประจำาวันที่ต้องมีการแข่งขันกันสูง ทุกสิ่ง ทุกอย่างล้วนเป็นสิงที่เร่งรีบด้วยกันทั้งหมด ่ ตลอดจนอัตราความคลั่งไคล้เทคโนโลยีในการ ถือครองเป็นเจ้าของอุปกรณ์ไฮเทคในประเภท ต่างๆ ของคนไทย พบว่าคนไทยเป็นเจ้าของ โทรศัพท์มือถือเพิ่มสูงขึ้น รองลงมาเป็น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และเครื่อง เล่น MP3 อย่าง iPod และมีแนวโน้มที่คนไทย จะเป็นเจ้าของอุปกรณ์ไฮเทคที่ตอบสนองไลฟ์ สไตล์เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากราคาอุปกรณ์
  • 13. ที่ม าจากนิต ยสาร MBA ฉบับ ที่ 146 มิถ ุน ายน 2554 หน้า 61.
  • 14. ข้อ ดี 1. ประหยัดค่าใช้จ่ายกว่าการทำา Magazine รูป แบบเดิม ที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการพิมพ์และมี ปริมาณขั้นตำ่า 2. ประหยัดเวลาในการจัดทำา เพราะ  e-Magazine ใช้เวลาจัดทำาสัน ปกติไม่เกิน 1 ้ สัปดาห์ 3. สามารถเข้าถึงได้จากทุกมุมโลก ทุกเวลาตลอด 24 ชม. 4. ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ทันสมัยขององค์กรของ ท่าน 5. สามารถค้นหาข้อมูลจากเนื้อหาภายในเล่มได้ อย่างรวดเร็ว
  • 15. 7. สีสนลวดลายต่างๆ เจ้าของคอลัมน์สามารถแต่ง ั แต้มนำาเสนอได้อย่างเต็มที่ 8. สามารถกำาหนด URL ให้คลิกเพื่อไปเปิด เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง หรือประกอบกับแทรกภาพ เคลื่อนไหว ข้อมูลเสียง เพลง วิดีโอ clip ต่างๆ ที่เชือมต่อไปยังอินเตอร์เน็ตอย่าง YouTube ได้ ่ หรือจะเป็นการแทรกเกมส์ หรือส่วนที่ต้องการ ตอบโต้กับผู้อ่านลงไปในเนื้อหาได้อย่างลงตัว 9. ค้นหาตำาแหน่ง หรือหาเส้นทางไปยังสถานที่ซึ่ง ถูกอ้างอิงไว้ในเนือหาได้อย่างง่ายดาย ซึ่ง ้ คุณสมบัติทั้งหมดที่กล่าวมานี้เอง ทำาให้การอ่าน นิตยสารไม่น่าเบืออีกต่อไป ่
  • 16. ข้อ เสีย 1. ต้องอาศัยพลังงานในการอ่านตลอดเวลา ไม่ว่า จะเป็นไฟฟ้าหรือแบตเตอรี่ หากไฟฟ้าดับหรือไม่มีแบตเตอรี่ก็จะไม่สามารถ อ่านได้ 2. เสียสุขภาพสายตา จากการได้รับแสงจาก อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 3. ขาดความรู้สึก หรืออรรถรส หรือความคลาสสิค
  • 17. การจัด ทำา  e-Magazine  แบ่ง เป็น 2 ประเภท 1. แบบ scan บริการนี้เหมาะสำาหรับลูกค้าที่มี Catalogue หรือแม็กกาซีน หรือจดหมายข่าวฉบับตีพิมพ์อยู่ แล้ว และต้องการจัดทำาเป็น e-Magazine อย่าง ง่ายๆ ราคาประหยัด โดยการจัดทำา  e-Magazine วิธนี้จะเป็นการนำาภาพ  scan มา ี ปรับแต่งแสงสีสันให้คมชัด แล้วจึงนำามาทำา เป็น e-Magazine  ค่าบริการเริ่มต้น สำาหรับ e-Magazine ไม่เกิน 40 หน้า ราคาเพียง 3,000 บาท/ฉบับ
  • 18. 2. แบบจัด Layout ใหม่ เพิ่ม ลูก เล่น ด้ว ย ภาพเคลื่อ นไหว หรือ ภาพวีด ีโ อ กรณีที่ลูกค้ามีข้อมูลที่ยังไม่พร้อมจัดทำาเป็น e- Magazine ได้ทันที เช่น ข้อมูลแยกรูปภาพกับ ข้อความ หรือเป็นข้อมูลที่มีการรวบรวมมาจาก เอกสารต่างๆ Numplus จะทำาการจัดวาง layout ใหม่ให้สวยงาม และมีสอดคล้องกันทั้ง ฉบับ โดยลูกค้าอาจเลือกลูกเล่นเพิ่มเติมลงใน หน้าต่างๆ ของ e-Magazine ได้ เช่น ภาพ เคลื่อนไหว หรือพื้นที่แสดงวีดีโอ ค่าบริการในส่วนนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณข้อมูลและ ลูกเล่นที่จะใส่ลงไป โปรดติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อ
  • 20. วิธ ีก ารใช้ห รือ อ่า น E – Magazine 1. โดยส่วนมากแล้วการที่เราจะเข้าไปใช้บริการ E-Magazine ได้นนต้องมีการสมัครเป็น ั้ สมาชิกก่อน และต้องเสียค่าใช้จ่ายในการใช้ บริการซึ่งก็แล้วแต่ข้อตกลงระหว่างผูใช้ ้ บริการกับเจ้าของ E-Magazine แต่ที่เห็นส่วน มากก็จะคิดค่าบริการเป็นรายปักษ์หรือราย เดือน 2. แต่ในกรณีที่เป็น E-Magazine แจกฟรี หรือเปิดให้บริการฟรีก็เพียงสมัครเป็นสมาชิก