SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 149
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 1
บทนำ
ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นรายวิ ช าภาษาอั ง กฤษ3(32101) ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 5
โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ในปีการศึกษา 2554 – ปีการศึกษา 2555
ภาพรวม ตลอด 2 ปีการศึกษา พบว่าได้คะแนนเฉลี่ย อยู่ในระดับผลการเรียน 2 ร้อยละ 29.2
และ 28.97 และได้ระดับผลการเรียน 1 ร้อยละ 10.9 และ ร้อยละ 35.17 ตามลาดับ ผู้รายงาน
จึงได้วิเคราะห์เนื้อหาในการจัดการเรียนการสอนสาหรับผู้เ รียน ปรากฏว่า การอ่านเนื้อเรื่อง
บทอ่านที่มีระดับความยากมากขึ้นแล้วสามารถอ่านจับใจความสาคัญ แสดงความคิดเห็นตอบ
คาถามได้ และการพูดเพื่อสื่อความหมายในชีวิตประจาวันนั้น ผู้เรียนทั้ง 2 ปีการศึกษา ได้รับ
คะแนนการเรียนรู้อยู่ในเกณฑ์ที่จะต้องปรับปรุงพัฒนา ผู้รายงานจึงได้นาข้อมูลที่ค้นพบมา
ทดสอบความรู้ก่อนเรียน เพื่อวัดความรู้พื้นฐานในเรื่องการอ่านบทความ การ์ตูนกับการฟัง
ของผู้เรียนที่จะสอนในปีการศึกษา 2556 พบว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนมีค่าใกล้เคียงและไม่
แตกต่างกันกับคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนของผู้เรียนในปีการศึกษา 2555 และจากการใช้ระบบ
ฐานข้อมูลของงานระบบดูแลของโรงเรียนโดยการใช้แบบสอบถาม สังเกตและสัมภาษณ์จาก
ผู้เกี่ยวข้อง ครูที่ปรึกษาและครูผู้สอน ผู้รายงานจึงได้สรุปสภาพการเรียนการสอนในเรื่อง
ดังกล่าวดังนี้
1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2554
และปีการศึกษา 2555 พบว่า ผู้สอนยังใช้พฤติกรรมการสอนแบบเดิมๆ ถึงแม้นว่าจะมีการนา
เว็บไซต์การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (www.krupu.com)ในบางส่วนมิได้ปรับปรุงพัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู้ให้สมบูรณ์ และไม่เหมาะสมกับผู้เรียนในปีการศึกษาใหม่
2. สื่ อ การเรี ย นการสอนที่ ก าหนดไว้ ใ นแผนการจั ด การเรี ย นรู้ มี ไ ม่ เ พี ย งพอ
ไม่เหมาะสมกับผู้เรียน จึงส่งผลให้ผู้เรียนขาดความสนใจ และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ
กิจกรรมการเรียนการสอนน้อย การวัด และประเมินผลยังไม่ครอบคลุมการวัดทั้ง 3 ด้าน
ผู้สอนเน้นการทดสอบเป็นหลัก ทาให้ไม่สามารถประเมินผู้เรียนให้ตรงตามสภาพจริงได้
อย่างชัดเจน ผู้เรียนขาดการฝึกทักษะด้านการอ่าน ความรู้ด้านคาศัพท์ สานวนประโยคใน
ภาษาอังกฤษ ทาให้ไม่ สามารถอ่านจับใจความ ตอบคาถามหรือแสดงความคิดเห็นได้ใน
2
เกณฑ์ที่น่าพึงพอใจ เพื่อสร้างความคุ้นเคยในการใช้ภาษาอังกฤษ และเสริมสร้างความมั่นใจ
ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนรวมทั้งสร้างเจตคติที่ดีต่ อวิชาภาษาอังกฤษ ผู้สอนจึงจาเป็นต้องพัฒนา
ทักษะการอ่านก่อนเป็นลาดับแรก เมื่อดาเนินการในเรื่องนี้ได้ผลเป็นที่พอใจแล้ว ผู้สอนจะ
พัฒนาเนื้อหาด้านทักษะการพูด ดังที่กล่าวไว้แล้วข้างต้นในลาดับต่อไป
ดังนั้นจึงจาเป็นต้องพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการอ่านบทความ อ่านเรื่อง
สั้นๆ การ์ตูนที่มีระดับความยากมากขึ้น สามารถจับใจความและตอบคาถามได้ แสดงความ
คิดเห็นเกี่ย วกับ เรื่อ งที่ อ่านได้เ พื่อ ให้เ หมาะสมกับ ผู้เรี ยนโดยนาสื่ อนวัตกรรมมาประกอบ
แผนการจัดการเรียนรู้ ให้ตรงกับสภาพผู้เรียน หากไม่ดาเนินการแก้ไขผู้สอนยังใช้แผนการ
จัดการเรียนการรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเดิม ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนคงไม่แตกต่าง
จากผลการเรียนรู้ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
การเรียนการสอนในลักษณะเดิมเป็นการเรียนการสอนแบบทางเดียว ผู้สอนทา
หน้าที่สอนในห้องเรียน มอบหมายงานให้ผู้เรียน จากนั้นผู้เรียนก็นางานมาส่งเมื่อถึงวันเวลาที่
กาหนด การสอนด้วยวิธีดังกล่าว ในปัจจุบันนี้ไม่สามารถทาให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด
วิเคราะห์ และแยกแยะได้เท่าที่ควร เพราะการจัดการเรียนการสอนที่ไม่คานึงถึงความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล ทาให้ผู้เรียนแต่ละคนไม่สามารถที่จะรับสิ่งที่ครูมอบให้ได้อย่างเท่าเทียมกัน
นอกจากนั้ น ผลการประเมิ น ตนเอง พบว่ า การใช้ สื่ อ การสอนยัง ไม่ ห ลากหลาย
เทคนิควิธีการสอนยังเน้นการใช้ใบงาน ใบความรู้เป็นส่วนใหญ่ ผู้เรียนมีส่วนร่วมน้อยในการ
ปฏิบัติจริงตามความสามารถและความสนใจ จึงส่งผลให้ผู้เรียนมีผลทางด้านการเรียนอยู่ใน
ระดับที่ไม่ พึงพอใจเกณฑ์ดังกล่าว และการศึกษาข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุค คลของนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2556 พบว่าผู้เรียนมีความสามารถพิเศษ ร้อยละ
72 ผู้เรียนติดเกม(กลุ่มเสี่ยง)ร้อยละ 25 และผู้เรียนใช้เครื่องมือ สื่อสารและอิเล็คทรอนิค ส์
(เสี่ยงและมีปัญหา)ร้อยละ 44.20 ดังนั้นปีการศึกษา 2556 ผู้รายงานจึงได้นาข้อมูลดังกล่าวมา
ปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการวางแผนการจัดการ
เรียนรู้ เตรียมสื่อต่างๆ และนาเทคนิคการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอย่างหลากหลาย โดย
มุ่งหวังที่ว่าจะส่งผลต่อผู้เรียนมีคุณภาพตรงตามลักษณะอันพึงประสงค์ที่สังคมต้องการ
เป็นที่ยอมรับอยู่แล้วว่า หนังสือการ์ตูนเป็นสื่อที่สามารถช่วยให้ผู้ เรียนเกิดความ
เข้าใจ เร้าความสนใจของผู้อ่านได้เป็นอย่างดี คุ ณค่าของหนังสือการ์ตูนคือสามารถถ่ายทอด
เรื่องราวที่เป็นนามธรรมให้ออกมาเป็นรูปธรรมได้ ความสะดุดตาของภาพจะทาให้ ผู้เรียนมี
3
ความกระตือรือร้นไม่เบื่อหน่าย และเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ มีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนและความคงทนในการเรียนรู้ พบว่าผู้เรียนสนใจและชอบอ่านการ์ตูน
นักจิตวิทยาและนักการศึกษาลงความเห็นว่าการ์ตูนมีคุณค่าต่อการจัดการเรียนการ
สอน เพราะการ์ตูนมี คุณสมบัติที่จะช่วยดึงดูดและเร้าความสนใจของเด็กอย่างเห็นได้ชัด
ความสะดุดตาของการ์ตูนจะทาให้เด็กมีความกระตือรือร้น ไม่เบื่อหน่าย การเขียนข้อความ
บางอย่างให้อ่าน ถ้าเปลี่ยนมาเป็นการวาดภาพการ์ตูนเด็กจะสนใจและเข้าใจได้ดีกว่า (Kinder.
1950 )
ในปัจจุบันกรมวิชาการให้ความสนใจในการใช้หนังสือการ์ตูนเป็นสื่อเพื่อสอน
จริยธรรมให้กับเด็กตลอดจนในการเรียนการสอนวิชาต่างๆ ในเรื่องนี้นักวิจัยทางการศึกษา
พบว่ า การใช้ แ บบเรี ย นที่ ผ ลิ ต ในรู ป หนั ง สื อ การ์ ตู น ช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย นมี ผ ลการเรี ย นรู้ สู ง กว่ า
แบบเรียนธรรมดา (ประสงค์ สุรสิทธิ์. 2515 ; ประเสริฐ มาสุปรีด์. 2522 ) และหากดัดแปลง
เนื้อหาบทเรียนธรรมดาที่มีอยู่ให้เป็นหนังสือการ์ตูนประกอบการสอนของผู้สอน จะสามารถ
ให้ผลการเรียนรู้ได้ดีเท่ากัน หรือดีกว่าการใช้อุปกรณ์การสอนอย่างอื่นที่หายาก และราคาแพง
(ประทิน. 2516 )
“การ์ตูน” คือ ภาพวาดที่แสดงเรื่องราวหรือข่าวสารต่างๆ หรือการแสดงสัญลักษณ์
ที่ล้อเลียนเสียดสีเหตุการณ์ต่างๆ ถ่ายทอดเรื่องราวซึ่งเป็นความคิดเห็น หรือทัศนะของผู้เขียน
ไปยังผู้ดู อีกทั้งให้ความสนุกสนาน มีคาพูดประกอบ แสดงความรู้สึกออกมาทางใบหน้าและ
ท่าทาง และช่วยให้เกิดความเข้าใจเรื่องราวได้ดีกว่าการใช้ภาษาบอกเล่าเพียงอย่างเดียว
(จันทิมา ปลื้มอารมณ์. 2542 )
จุ ด ส าคั ญ ของการ์ ตู น อยู่ ที่ ค วามคิ ด (Idea)ที่ อ ยู่ เ บื้ อ งหลั ง ภาพซึ่ ง แฝงอารมณ์
ความรู้สึก หรือความคิดที่ต้องการถ่ายทอดไปยังผู้ดู ผู้ดูการ์ตูนต้องการได้ค วามคิดและ
อารมณ์ที่อยู่เบื้องหลังภาพนั้น เช่น ขาขัน น่าเอ็นดู ลักษณะภาพการ์ตูนที่ง่ายๆ ยังตรงกับ
ลักษณะที่เด็กต้องการอีกด้วย เพราะเด็กจะสนใจส่วนสาคัญหลักในภาพ ไม่สนใจรายละเอียด
ปลีกย่อยต่างๆ มีผู้ใหญ่จานวนมากที่ชอบอ่านการ์ตูนเพราะต้องการดู มุขตลก หรือความคิดที่
แยบยลในการ์ตูนนั้น การอ่านการ์ตูนสาหรับผู้ใหญ่เป็นการคลายเครียดด้วยการ “อ่านเล่น”
การอ่านการ์ตูนของเด็กเป็นการอ่านที่ “เอาจริงเอาจัง” มากกว่า การ์ตูนจึงสามารถดึงดูดความ
สนใจได้จากทั้งผู้ใหญ่และเด็ก (จันทิมา ปลื้มอารมณ์. 2542 )
4
เนืองจากสภาพของสังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เจริญก้าวหน้า
่
ไปอย่างรวดเร็ว อันเป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนทางด้านการศึกษา เพื่อให้สอดคล้องเหมาะสม
กับสภาพที่เปลี่ยนไป จึงมีการนานวัตกรรมมาใช้ในการศึกษา เช่น บทเรียนโปรแกรม การ
สอนเสริมด้วยสื่อบางชนิดและคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (สันทัด ภิบาลสุข และพิมพ์ใจ ภิบาล
สุข. 2525 : 10) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันการเรียนการสอนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เน้น
ให้ผู้สอนเป็นสาคัญ มีการถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียนด้วยวิธีการบรรยายโดยใช้ตาราเรียน
ประกอบการเรียน เปลี่ยนรูปแบบการเรียนรู้มาสู่ยุคที่ผู้สอนทาหน้าที่เป็นผู้กระตุ้น และชี้แนะ
ให้ผู้เรียนได้ดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยอาศัยรูปแบบของการเรียนการสอนซึ่ง
เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปในยุคปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์
การเรียนการสอนบนเว็บไซต์ การเรียนบทเรียนออนไลน์เป็นต้น จึงทาให้คอมพิวเตอร์เป็น
สื่ อ การศึ ก ษาที่ เ ข้ า มามี บ ทบาทในการเรี ย นการสอนอย่ า งรวดเร็ ว ผู้ ส อนเป็ น ผู้ ส ร้ าง
กระบวนการเรียนการสอนที่ เหมาะสมใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลางในการนาเสนอให้แ ก่
ผู้เรียนตามความพร้อมในด้านการเรียนรู้ได้อีกด้วย ซึ่งตอบสนองทฤษฎีความแตกต่างระหว่าง
บุคคลได้เป็นอย่างดี
ทุกวันนี้เครื่องคอมพิวเตอร์ได้แพร่หลายในวงการศึกษาทุกระดับ ซึ่งหากมีการวาง
ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาที่ดีมีประสิทธิภาพสาหรับผู้เรียนในระดับเยาวชน ซึ่งสามารถ
รับรู้พัฒนาได้รวดเร็ว และพร้อมที่จะศึกษาโปรแกรมต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาโปรแกรมให้
สูงขึ้น อันเป็นการสร้างพื้นฐานความรู้ด้านคอมพิวเตอร์แก่เยาวชนที่จะก้าวไปสู่ยุคแห่งความ
ทันสมัย โดยอาศัยแนวคิดที่สนับสนุนให้มีการใช้คอมพิวเตอร์ในการศึกษา 4 ประการดังนี้
(สุกรี รอดโพธิ์ทอง. 2532)
1. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) หมายถึง
การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อใช้สอนในเนื้อหาบางส่วน หรือเพื่อทบทวนเนื้อหา ทดสอบความรู้
และเพื่อเสริมกิจกรรมการเรียนรู้
2. คอมพิวเตอร์จัดการสอน (Computer Managed Instruction: CMI) หมายถึง
การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดการเกี่ยวกับงานกระบวนการการเรียนการสอน
3. คอมพิวเตอร์ช่วยงานบริหาร (Computer Assisted Administration) หมายถึง
การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการบริหารงานการศึกษา
4. คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะการใช้ (Computer Literacy) หมายถึง
5
การพัฒนาทักษะเกี่ยวกับการใช้ค อมพิวเตอร์ทั้งทางด้านคาสั่งหรือโปรแกรม และด้าน
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มาใช้ใ นการเรี ยนการสอนเป็นการใช้ค อมพิวเตอร์
ในโรงเรียนอย่างคุ้มค่า เป็นการพัฒนาผู้เรียนในลักษณะที่ช่วยให้คนเก่งสามารถเรียนเก่งขึ้น
คนเรียนอ่อนสามารถพัฒนาให้มีความรู้เพิ่มขึ้นในเกณฑ์ที่น่าพอใจ ทาให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อ
วิชาเรียนและต่อผู้สอนมีผลทาให้ผู้เรียนสนใจเรียนชอบวิชาที่เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สูงขึ้น(มณฑล อนันตรศิริชัย. 2536 )
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการสร้างสรรค์ทางภาษาที่หลากหลาย และ
ส่งเสริมให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน และระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน โดยการปฏิบัติ
กิจกรรมเป็นคู่ กลุ่ม หรือเดี่ยว เน้นให้ผู้เรียนมีค วามสามารถในเชิงวิเคราะห์วิจารณ์มากขึ้น
เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาอังกฤษในบรรยากาศการเรียนที่มีการปฏิบัติงานในโครงงานร่วมกัน
หรือการปฏิบัติกิจกรรมในสถานการณ์จาลองหรือในสถานการณ์จริง โดยการนาสื่อที่เหมาะสม
สอดคล้องครอบคลุมจุดประสงค์และเนื้อหา ทั้งสื่อที่พบเห็นในชีวิตจริง และสื่อเทคโนโลยี
ทันสมัยที่น่าสนใจ มาช่วยให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาความรู้ ความเข้าใจจากสื่อเอกสารอ้างอิง
ต่างๆ ที่เป็นภาษาอังกฤษจนเป็นนิสัย ซึ่งจะช่วยพัฒนาวิธีการเรียนโดยการใช้ภาษาอังกฤษใน
การศึกษาค้นคว้าให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ปัจจุบันการศึกษาได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการสอน
อย่างกว้างขวาง ในรูปแบบการสอนบนเว็บไซต์(Web-Based Instruction) เป็นผลของความ
พยายามในการใช้ เว็ บไซต์ เพื่ อส่ งเสริ มและสนั บสนุน การจั ดการเรี ยนการสอน เพื่อ เพิ่ ม
ประสิทธิภาพทางการเรียนและแก้ปัญหาในเรื่องข้อจากัดทางด้านสถานที่และเวลาซึ่งการ
เรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บไซต์นี้อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการ
สอนก็ได้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง สนองตอบความสนใจ มีสีสัน มีภาพเคลื่อนไหว
และเสียงประกอบ ใช้เวลาน้อยและสะดวกต่อการทบทวน สร้างแรงจูงใจและทัศนคติที่ดีต่อ
การเรียน ผลการทดลองวิจัยยอมรับว่าคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีประโยชน์ต่อผู้เรียนและผู้สอน
อย่างมาก
จากเหตุผลความสาคัญดังกล่าวผู้รายงานเห็นว่าการสร้างสื่อนวัตกรรมการสอนบน
เว็บไซต์(Web-Based Instruction) โดยใช้ภาพการ์ตูนเพือพัฒนาทักษะด้านความเข้าใจในการ
่
อ่านและความสามารถในการเรียนภาษาอังกฤษและเป็นบทเรียนเสริมทีดี สามารถใช้เป็น
่
6
เครืองมือในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ สาหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 พัฒนาส่งเสริม
่
ศักยภาพผู้เรียน ปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียน เป็นการค้นหา
วิธีการที่เหมาะสมให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ซึ่งได้นาไปเป็นแนวทางใน
การพัฒนาโดยผู้เรียนจะสามารถเรียนที่ใดก็ได้ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับผู้เรียนอื่น
หรือกับผู้สอนได้โดยการโต้ตอบนี้อาจเป็นได้ทงแบบเวลาเดียวกันและต่างเวลา บุคคลต่อกลุ่ม
ั้
หรือกลุ่มต่อกลุม ในบางครังผู้เรียนอาจจะต้องทาการทดสอบหลังการเรียนด้วยและในกรณีที่
่
้
ผู้สอนทาการสอนเว็บไซต์อย่างเต็มรูปแบบ ผู้เรียนจะต้องรับ-ส่งงาน และเข้าตรวจสอบผล
ป้อนกลับบนเว็บไซต์
วัตถุประสงค์
1. เพื่อหาประสิทธิภาพสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษบนเว็บไซต์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง
จังหวัดบุรีรัมย์ ที่สร้างขึ้นให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80
2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านโดยใช้ภาพการ์ตูน ก่อนเรียนและหลัง
เรี ย นโดยใช้ สื่ อ นวั ต กรรมการสอนบนเว็ บ ไซต์ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ภ าษาต่ า งประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ที่สร้างขึ้น
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษบนเว็บไซต์โดยใช้ภาพการ์ตูนเพื่อพัฒนาทักษะความเข้าใจในการอ่าน ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ประจาปีการศึกษา 2556 โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง
จังหวัดบุรีรัมย์ที่สร้างขึ้น
ขอบเขตกำรศึกษำ
1. การศึกษาครั้งนี้ต้องการประเมินประสิทธิภาพ การใช้สื่อนวัตกรรมบน
เว็บไซต์โดยการใช้ภาพการ์ตูนเพื่อพัฒนาประกอบทักษะการอ่าน(www.krupu.com/homework)
2. กลุ่มประชากรในการศึกษา เป็นผู้เรียนที่มีปัญหาด้านทักษะการอ่าน ประจาปี
การศึกษา 2556 ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 – 5/6 จานวน 243 คนโรงเรียนภัทรบพิตร
อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
7
3. กลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ใ ช้ ใ นการศึ ก ษา เป็ น ผู้ เ รี ย นที่ มี ปั ญ หาด้ า นทั ก ษะการอ่ า น
กลุ่มเป้าหมาย ประจาปีการศึกษา 2556 ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1- 5/6 ได้มาโดยการ
เลือกแบบสุ่มแบบง่าย จานวน 90 คน โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
4. เนื้อหาที่ใช้ในการใช้สื่อนวัตกรรมการสอนบนเว็บไซต์ (www.krupu.com/homework)
ใช้ ภ าพการ์ ตู น ประกอบทั ก ษะความเข้ า ใจในการอ่ า นภาษาอั ง กฤษน ามาจากหนั ง สื อ
สื่อ สิ่งพิม พ์ต่างๆ เพื่อเสริมทักษะการอ่านที่ได้นามาดัดแปลง ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมจาก
การ์ตูนภาษาอังกฤษ เพื่อให้เหมาะกับผู้เรียน
5. การใช้สื่อนวัตกรรมการสอนบนเว็บไซต์ (www.krupu.com/homework)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยการใช้ภาพการ์ตูนประกอบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ
ที่สร้างขึ้นจะประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์โดยบุคคลต่อไปนี้
5.1 ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการเขียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จานวน 4 คน
5.2 ผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ ที่มีประสบการณ์ทางการสอน ไม่น้อยกว่า 20 ปี
และทาการสอนอยู่ในปีการศึกษา 2556 โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัม ย์
จานวน 3 คน
5.3 ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัยเชิงสถิติข้อมูล จานวน 1 คน
5.4 ผู้เชี่ยวชาญในด้านการวาดภาพการ์ตูนจานวน 1 คน
6 . แบบทดสอบวัดความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษ
ที่ผู้รายงานสร้างขึ้น จานวน 14 ข้อ
6.1 วิธีการศึกษาค้นคว้า
6.2 ทดสอบก่อนเรียนกับกลุ่มทดลอง (Pre-Test)
6.3 ดาเนินการทดลองโดยให้ผู้เรียนเรียนจากสือนวัตกรรรมการสอนบน
่
เว็บไซต์ (www.krupu.com/homework) โดยใช้ภาพการ์ตูนเพื่อพัฒนาทักษะความเข้าใจในการ
อ่านภาษาอังกฤษที่พัฒนา
6.4 ทดสอบก่อนเรียน – ทดสอบหลังเรียน
7. ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง คือ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
8
ข้อตกลงเบื้องต้น
การรายงานครั้ง นี้ไ ม่ศึ กษาครอบคลุม ถึ งตั วแปรที่เ กี่ย วกั บเพศ อายุ ฐานะทาง
เศรษฐกิจ สถานภาพทางครอบครัว และประสบการณ์เดิมของผู้เรียน
นิยำมศัพท์เฉพำะ
1. การใช้สื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษบนเว็บไซต์เพื่อพัฒนาทักษะความเข้าใจ
ในการอ่าน หมายถึง บทเรียนทีบรรจุเนื้อหาโดยมีระบบโปรแกรมควบคุมการทางานบนเว็บไซต์
่
www.krupu.com/homework และมีการแสดงผลทางจอภาพเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในวิชา
ภาษาอังกฤษโดยใช้ภาพการ์ตูน เพื่อพัฒนาทักษะความเข้าใจในการอ่าน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ตามหลักสูตรการเรียนรู้กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ช่วงชั้นที่ 3
2. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึงอัตราส่วนระหว่าง
ประสิทธิภาพของกระบวนการต่อประสิทธิภาพของผลลัพธ์ ของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอน ได้พัฒนาตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้เป็น 80/80 ซึ่งมีความหมายดังนี้
80 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละของค่าเฉลี่ยที่ได้จากคะแนนแบบฝึกหัดใน
(www.krupu.com/homework) บทเรี ย นบนเว็ บ ไซต์ โ ดยใช้ ภ าพการ์ ตู น เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะ
การอ่านภาษาอังกฤษ
80 ตัวหลัง หมายถึง ร้อยละของค่าเฉลี่ยของคะแนนซึ่งได้จากการทาแบบ
ทดสอบหลังจากศึกษาเนื้อหาในบทเรียนบนเว็บไซต์แล้ว
โดยการหาประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นบนเว็ บ ไซต์ ค รั้ ง นี้ ผู้ ร ายงานได้
กาหนดค่าความคลาดเคลื่อนไว้  2.50
3. ค่าดัช นีประสิทธิผลของบทเรียนบนเว็บไซต์ หมายถึง อัตราส่วนของ
ความก้าวหน้าในการเรียนของผู้เรียน โดยเทียบระหว่างคะแนนที่เพิ่มขึนจากการทดสอบก่อน
้
เรีย นและการทดสอบหลั งเรี ยน เทียบกับคะแนนที่ค วรจะเพิ่มขึ้ นได้ สูง สุด โดยคิด จาก
คะแนนเต็มลบด้วยคะแนนสอบก่อนเรียน ตามวิธีการของ Hovland และคณะ (อ้างถึงใน
Goodman, Fletcher & Schneider. 1980)
คะแนนสอบหลังเรียน - คะแนนสอบก่อนเรียน
ค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I) =
คะแนนเต็ม – คะแนนสอบก่อนเรียน
9
4. รูปภาพการ์ตูนประกอบการอ่าน หมายถึง ภาพที่ผู้รายงานดัดแปลงสร้างขึ้นโดย
มีภาพวาดล้อเลียนแบบของจริง เป็นลักษณะการ์ตูนสีโดยยึดเค้าโครงภาพการ์ตูนเรื่องเดิม
มีคาบรรยายของตัวการ์ตูนที่สอดคล้องสัมพันธ์ต่อเนื่องเป็นเรื่องราวซึ่งแต่ละภาพจะมีกรอบ
ภาพเป็นรูปสี่เหลี่ยม
การ์ตูนสีลักษณะล้อของจริง หมายถึง การ์ตูนที่เขียนในลักษณะง่า ยๆ เน้น
ลักษณะเด่นอาจมีรูปร่างหรือรูปทรงที่ผิดไปจากเดิมที่มีสีขาว - ดา แต่ยังคงมีเค้าโครงของ
ความเป็นจริง ให้อารมณ์ที่สนุกสนาน คล้อยตาม การให้สีเป็นไปตามธรรมชาติบ้าง และอาจ
ผิดเพี้ยนไปบ้างตามความสวยงามและเหมาะสม
5. แบบทดสอบ หมายถึง เครื่องมือที่มีลักษณะเป็นข้อคาถามโดยมีตัวเลือกให้
ตอบ 4 ตัวเลือก และมีคาตอบที่ถูกต้องเพียง 1 คาตอบ เพื่อใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ทักษะการอ่าน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลคะแนนที่ไ ด้จากการทาแบบทดสอบ
ประเมินผล
6. ผู้เชี่ยวชาญ หมายถึง ผู้ที่มีความรู้ ความชานาญหรือมีประสบการณ์เกี่ยวกับ
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและการจัดทาเว็บไซต์
7. ผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ หมายถึง ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ทางการสอน
ไม่น้อยกว่า 15 ปี และทาการสอนอยู่ในระหว่างภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ กระทรวงศึกษาธิการ จานวน 3 คน
8. ผู้เรียน หมายถึง ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1- 5/6 ประจาปีการศึกษา
2556 โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ จานวน 90 คน
9. ความพึงพอใจต่อวิชาภาษาอังกฤษ หมายถึง ความรูสึกชอบ ความพอใจต่อการ
้
ใช้สื่อนวัตกรรมการสอนบนเว็บไซต์บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยการใช้ภาพการ์ตูน
ประกอบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ (www.krupu.com/homework) ซึ่งประเมินโดยครูผู้สอน
และนักเรียน โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรมย์
ั
10. ความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ หมายถึง ความสามารถในการอ่าน
ภาษาอังกฤษของนักเรียน ในการเข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่าน ในระดับความเข้าใจตรงตาม
ตัวอักษร ระดับความเข้าใจแบบตีความ ระดับการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ และระดับการอ่าน
อย่างสร้างสรรค์
10
11. การเรียนรูด้วยตนเอง หมายถึง การที่บคคลนั้นมีความใฝ่รู้ ขวนขวาย ในการ
้
ุ
วางแผนควบคุม รับผิดชอบในการฝึกฝนและแสวงหาความรู้ มีอิสรเสรีในการที่จะเลือกศึกษา
ทบทวนความรู้ และสามารถตรวจสอบ ประเมินความก้าวหน้าของตนเองได้ตามเป้าหมายที่
วางไว้
12. บทเรียนบนเว็บไซต์ หมายถึง บทเรียนที่สร้างขึ้นผ่านเว็บซึ่งเป็นบทเรียน
สาเร็จรูป ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนได้ ภายในบทเรียน
ประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟิก ภาพนิ่ง เสียงและภาพเคลื่อนไหว แบบออนไลน์
www.krupu.com/homework
13. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนทีได้จากการทาแบบทดสอบหลังเรียน
่
เพื่อวัดความรู้ในเนื้อหาในบทเรียนบนเว็บไซต์
14. การประเมินผลระบบการจัดการเรียนการสอนซึ่งเป็นแบบประเมินบทเรียนของ
สมศักดิ์ จีวัฒนา (2546) ซึ่งเป็นแบบประเมินมาตราส่วนประมาณคา (Rating Scale) ซึ่ง
กาหนดการตัดสินคุณภาพเป็น 5 ระดับ ดังนี้
ระดับ 5 หมายถึง ดีมาก
ระดับ 4 หมายถึง ดี
ระดับ 3 หมายถึง พอใช้
ระดับ 2 หมายถึง ควรปรับปรุง
ระดับ 1 หมายถึง ไม่เหมาะสม
และมีเกณฑ์ประเมินดังนี้
ค่าเฉลี่ย 4.50 - 5.00 สรุปผลการประเมิน ดีมาก
ค่าเฉลี่ย 3.50 - 4.49 สรุปผลการประเมิน ดี
ค่าเฉลี่ย 2.50 - 3.49 สรุปผลการประเมิน พอใช้
ค่าเฉลี่ย 1.50 - 2.49 สรุปผลการประเมิน ควรปรับปรุง
ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.49 สรุปผลการประเมิน ไม่เหมาะสม
11

บทที่ 2
เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เอกสารและงานวิจัยที่เกียวกับการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษบน
่
เว็บไซต์โดยใช้ภาพการ์ตูนเพื่อพัฒนาทักษะความเข้าใจในการอ่าน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ประจาปีการศึกษา 2556 ผูรายงานได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้
้
1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์
3. เอกสารเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
4. เอกสารเกี่ยวกับบทเรียนโปรแกรมบนเว็บไซต์
5. เอกสารเกี่ยวข้องกับการ์ตูน
6. เอกสารเกี่ยวกับการสอนภาษาอังกฤษ
7. แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนออนไลน์
7.1 ความหมายของการสอนออนไลน์
7.2 ลักษณะสาคัญของการสอนออนไลน์
7.3 รูปแบบของการเรียนการสอนออนไลน์
7.4 องค์ประกอบของการสอนออนไลน์
7.5 ประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนร่วมกับออนไลน์
8. แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง
8.1 ความหมายของการเรียนรู้ด้วยตนเอง
8.2 ความสาคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเอง
8.3 ลักษณะของการเรียนรูด้วยตนเอง
้
8.4 กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
9. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
9.1 งานวิจัยเกี่ยวกับนวัตกรรมบนเว็บไซต์ (Web – Based Instruction)
9.2 งานวิจัยเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาภาษาอังกฤษ
9.3 งานวิจัยเกี่ยวกับการ์ตูน
9.4 งานวิจัยที่เกี่ยวกับบทเรียนโปรแกรม
12
1. หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 และมำตรฐำนกำรเรียนรู้กลุ่ม
สำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2553) ได้กล่าวว่ากลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่ า งประเทศมุ่ ง หวั ง ให้ ผู้ เ รี ย นมี เ จตคติ ที่ ดี ต่ อ ภาษาต่ า งประเทศ สามารถใช้
ภาษาต่างประเทศ สื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษา
ต่อในระดับที่สูง รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของ
ประชาคมโลกและสามารถถ่ า ยทอดความคิ ด และวั ฒ นธรรมไทยไปยั ง สั ง คมโลกอย่ า ง
สร้างสรรค์ ประกอบด้วยสาระสาคัญ ดังนี้
ภำษำเพื่อกำรสื่อสำร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง -พูด-อ่าน-เขียน แลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ตีค วาม นาเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอด
และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างเหมาะสม
ภำษำและวัฒ นธรรม การใช้ ภาษาต่า งประเทศตามวัฒ นธรรมของเจ้ าของภาษา
ความสัมพันธ์ ความเหมือน และความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
และวัฒนธรรมไทยและนาไปใช้อย่างเหมาะสม
ภำษำกับควำมสัมพันธ์กับกลุ่มสำระกำรเรียนรู้อื่น การใช้ภาษาต่างประเทศในการ
เชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และ
เปิดโลกทัศน์ของตนเอง
ภำษำกับควำมสัมพันธ์กับชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์
ต่างๆ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เป็นเครื่องมือพื้นฐานใน
การศึกษาต่อ ประกอบอาชีพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้
สำระที่ 1 ภำษำเพื่อกำรสื่อสำร
มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความ
คิดเห็นอย่างมีเหตุผล
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดง
ความรู้สึกและความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
13
มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็ นในเรื่องต่าง ๆ
โดยการพูดและการเขียน
สำระที่ 2 ภำษำและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และ
นาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่ างภาษาและวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและ
เหมาะสม
สำระที่ 3 ภำษำกับควำมสัมพันธ์ของกลุ่มสำระกำรเรียนรู้อื่น
มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน
สำระที่ 4 ภำษำกับควำมสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และ
สังคม
มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบ
อาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
คุณภำพผู้เรียน
จบชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
ปฏิบัติตามคาแนะนาในคู่มือการใช้งานต่าง ๆ คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายที่
ฟังและอ่าน อ่านออกเสียงข้อความข่าว โฆษณา นิทาน และบทร้อยกรอง และบทละครสั้น
ที่ถูกต้องตามหลักการอ่าน อธิบายและเขียนประโยคและข้อความสัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความ
เรียงรูปแบบต่าง ๆ ที่อ่าน รวมทั้งระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่าง ๆ สัมพันธ์
กับประโยคและข้อความที่ฟังหรืออ่าน จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความ
และแสดงความคิดเห็นจากการฟังและอ่านเรื่อ งที่เป็นสารคดีและบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้
เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว สถานการณ์
ข่ า ว/เหตุ ก ารณ์ ประเด็ น ที่ อ ยู่ ใ นความสนใจของสั ง คม และสื่ อ สารอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและ
เหมาะสม เลือกและใช้คาขอร้อง คาชี้แจง คาอธิบาย และให้คาแนะ พูดและเขียนแสดง
14
ความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือใน
สถานการณ์จริงอย่างเหมาะสมพูดและเขียนเพื่อขอให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังหรืออ่านอย่างเหมาะสม พูด
และเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรม
และข่าว/เหตุการณ์ อย่างมีเหตุผล
พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและประเด็น
ต่าง ๆ ตามความสนใจ พูดและเขียนสรุ ปใจความสาคัญ/แก่นสาระที่ได้จากการวิเคราะห์
เรื่อง ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับกิจกรรมประสบการณ์ และเหตุการณ์ พร้อมทั้งใช้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับบุคคล เวลา โอกาส และสถานที่
ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด ความ
เชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของภาษา เข้าร่วม แนะนา และจัด
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม
อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สานวน คา
พังเพย สุภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย วิเคราะห์/อภิปรายความ
เหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของ
ไทยและนาไปใช้อย่างมีเหตุผล
ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ และนาเสนอด้วยการพูดและการเขียน
ใช้ ภ าษาสื่ อ สารในสถานการณ์ จ ริ ง /สถานการณ์ จ าลองที่ เ กิ ด ขึ้ น ในห้ อ งเรี ย น
สถานศึกษาชุมชน และสังคม
ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม และสรุปความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ
จากสื่ อ และแหล่ ง การเรี ย นรู้ ต่ า ง ๆ ในการศึ ก ษาต่ อ และประกอบอาชี พ เผยแพร่ /
ประชาสั ม พั น ธ์ ข้ อ มู ล ข่ า วสารของโรงเรี ย น ชุ ม ชน และท้ อ งถิ่ น /ประเทศชาติ เ ป็ น
ภาษาต่างประเทศ
มีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง -พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตามหัว
เรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม ความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ -ขาย ลมฟ้าอากาศ
15
การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ภายในวงคาศัพท์ประมาณ 3,600-3,750 คา (คาศัพท์ที่มีระดับการใช้แตกต่าง
กัน)
ใช้ป ระโยคผสมและประโยคซับ ซ้อ น สื่อ ความหมายตามบริบทต่า ง ๆ ในการ
สนทนาทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
ดั ง นั้ น จากการวิ เ คราะห์ ห ลั ก สู ต รพอสรุ ป ว่ า การจั ด การเรี ย นการสอนในระดั บ ชั้ น
มัธยมศึ กษาปี ที่ 5 ในตัวชี้ วัดและสาระการเรีย นรู้แกนกลางวิชาภาษาอังกฤษเพื่ อนามาพั ฒนา
นวัตกรรมและจัดการเรียนการสอนดังนี้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความ
คิดเห็นอย่าง มีเหตุผล
ตัวชี้วัด

ผู้เรียนรู้อะไร

ผู้เรียนทำอะไรได้

1.ปฏิบัติตามคาแนะนาในคู่มือ
การใช้งานต่าง ๆ คาชี้แจง
คาอธิบาย และคาบรรยายที่ฟง
ั
และอ่าน
2. อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว
ประกาศ โฆษณา บทร้อย
กรอง และบทละครสั้น (skit)
ถูกต้องตามหลักการอ่าน

คาศัพท์ สานวนโครงสร้างภาษาที่ใช้
ในคู่มือ การใช้งาน คาชี้แจง
คาอธิบาย และคาบรรยาย ช่วยให้
ปฏิบติตาม
ั
การอ่านออกเสียงตามหลักการและ
เทคนิคการอ่านออกเสียง อ่าน
ข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา
บทร้อยกรอง และบทละครสั้น
1. สื่อที่ไม่ใช่ความเรียง
- กราฟ แผนภูมิ ตาราง
- การ์ตูน
- บทร้อยกรอง
- ภาพสัญลักษณ์
-- เป็นต้น
2. รูปแบบของสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง
ชนิดต่าง ๆ

1. ปฏิบติตามคู่มือการใช้งาน คาชี้แจง
ั
คาอธิบายและคาบรรยาย
2. อธิบาย / เล่าขั้นตอนการปฏิบัตงาน
ิ

3. อธิบายและเขียนประโยค
และข้อความให้สัมพันธ์กับ
สื่อที่ไม่ใช่ความเรียง รูปแบบ
ต่าง ๆ ที่อ่าน รวมทั้งระบุและ
เขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง
รูปแบบต่างๆ ให้สัมพันธ์กับ
ประโยคและข้อความที่ฟัง
หรืออ่าน

1. อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว
ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง
2. พูดบทละครสั้นได้ถูกต้องตามหลัก
การอ่านออกเสียง
1. เขียนอธิบายถ่ายโอนสื่อที่ไม่ใช่
ความเรียงให้เป็นประโยคและ
ข้อความ
2. เขียนอธิบายถ่ายโอนประโยคและ
ข้อความเป็นสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง
16
3. ศัพท์ สานวนภาษา โครงสร้าง
ประโยค
4. หลัก/วิธีการเขียนสรุปความ
4. จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ เทคนิคการอ่านคาศัพท์ สานวน
ความ สรุปความ ตีความ และ โครงสร้างประโยคที่ใช้ในการแสดง
แสดงความคิดเห็นจากการฟัง ความคิดเห็น การสรุปความและการ
และอ่านเรื่องที่เป็นสารคดีและ ใช้เหตุผล การจับใจความสาคัญ
บันเทิงคดี พร้อมทั้งให้เหตุผล วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความ และ
และยกตัวอย่างประกอบ
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องทีอ่าน
่

1. ฟังเรื่องทีเ่ ป็นบันเทิงคดีและสารคดี
แล้วจับใจความหรือสรุปความได้
2. อ่านเรื่องทีเ่ ป็นบันเทิงคดีและสาร
คดีแล้วเขียนสรุปความ ตีความ
วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นพร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ

สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดง
ความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
1. สนทนาและเขียน
โต้ตอบ ข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเองและเรื่องต่าง ๆ
ใกล้ตัว ประสบการณ์
สถานการณ์ ข่าว /
เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ใน
ความสนใจของสังคม
และสื่อสารอย่างต่อเนื่อง
และเหมาะสม
2. เลือกและใช้คาขอร้อง
ให้คาแนะนา คาชี้แจง
คาอธิบายอย่างคล่องแคล่ว

ผู้เรียนรู้อะไร
การรู้คาศัพท์ สานวนภาษาที่ใช้ในการ
ทักทาย การกล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ
ชมเชย การพูดแทรกอย่างสุภาพ การ
ชักชวน เขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเอง เรืองต่าง ๆใกล้ตัว ประสบการณ์
่
สถานการณ์ ข่าง /เหตุการณ์ และ
ประเด็นที่อยูในความสนใจของสังคม
่

ผู้เรียนทำอะไรได้
1. สนทนาและเขียนโต้ตอบกับผูอื่น
้
เกี่ยวกับเรื่องในชีวิตประจาวันได้
2. เขียนเกี่ยวกับตนเองและบุคคลใกล้ตัว
ประสบการณ์ เหตุการณ์และประเด็นที่
อยู่ในความสนใจ

ความหมายของคาศัพท์ สานวน คา
ขอร้อง คาแนะนา ชี้แจง การใช้คา
กลุ่มคา และประโยคที่เกี่ยวข้อง

3. พูดและเขียนแสดง
ความต้องการ เสนอตอบ
รับและปฏิเสธการให้
ความช่วยเหลือใน
สถานการณ์จาลองหรือ
สถานการณ์จริงอย่าง
เหมาะสม

1. รู้และเข้าใจความหมายของประโยค
โครงสร้าง พูดและเขียนแสดงความ
ต้องการได้ถูกต้องและเหมาะสมกับ
สถานการณ์ นั้น ๆ
2. ภาษาที่ใช้แสดงความต้องการ/ตอบ
รับและปฏิเสธการเสนอความช่วยเหลือ

1. การพูดขอร้อง พูดแนะนาและชี้แจง
ผู้อื่นในสถานการณ์ต่าง ๆ
2. พูดตามสถานการณ์ที่จะใช้คาแนะนา
คาขอร้อง คาชี้แจง
พูด/เขียนบอกความต้องการ/แสดง
ความรู้สึก พูดเสนอและตอบรับ/ปฏิเสธ
การให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์
จาลองหรือสถานการณ์จริงอย่าง
เหมาะสม
17
4. พูดและเขียนเพื่อขอและ
ให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย
เปรียบเทียบ และแสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/
ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่
ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม

1. รู้และเข้าใจคาศัพท์ สานวน ภาษา
ประโยค และโครงสร้างที่ถูกต้อง ใช้
ภาษาได้ถูกต้องและเหมาะสมตาม
สถานการณ์ นั้น ๆ
2. ภาษาที่ใช้ในการขอและให้ข้อมูล
บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ แสดง
ความคิดเห็น
3. วิธีการพูดและเขียนเพื่อขอและให้
ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ
แสดงความคิดเห็น
5. พูดและเขียนบรรยาย
โครงสร้างทางภาษา ช่วยให้พูดและ
ความรู้สึกและแสดงความ เขียนเกี่ยวกับการใช้ภาษาในการแสดง
คิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับ ความรู้สึก ความคิดเห็นและให้เหตุผล
เรื่องต่างๆ กิจกรรม
ตามสถานการณ์
ประสบการณ์ และข่าว/
เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล

1. พูดขอและให้ข้อมูล
2. เขียนบรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข่าว
เหตุการณ์

1. พูดแสดงความรู้สึกและแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม
ประกาศ ข่าว เหตุการณ์
2. เขียนแสดงความรู้สึกและความ
คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม
ประกาศ ข่าว เหตุการณ์

สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ
โดยการพูดและ การเขียน
ตัวชี้วัด
1.พูดและเขียนนาเสนอ
ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
ประสบการณ์ ข่าว/
เหตุการณ์ เรื่องและ
ประเด็นต่าง ๆ ตาม
ความสนใจของสังคม
2. พูดและเขียนสรุป
ใจความสาคัญ/แก่น
สาระที่ได้จากการ
วิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม
ข่าว เหตุการณ์ และ
สถานการณ์ตามความ
สนใจ

ผู้เรียนรู้อะไร
ผู้เรียนทำอะไรได้
หลักวิธีการพูด นาเสนอ หลักวิธีการเขียน พูดและเขียนนาเสนอ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
ย่อหน้า เรียงความ บันทึกประจาวันและ ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและ
รายงาน และคาศัพท์สานวนที่เกี่ยวข้อง
ประเด็นต่าง ๆ
เขียน/พูดนาเสนอข้อมูล

โครงสร้างประโยค สานวนภาษา และ
หลักไวยากรณ์ พูดและเขียน สรุปใจความ
สาคัญได้ถูกต้องตามสถานการณ์ หรือ
เหตุการณ์

1. พูดสรุปใจความสาคัญจากการวิเคราะห์
ข่าว / กิจกรรม / เหตุการณ์ /ฯลฯ
2. เขียนสรุปใจความสาคัญจากการ
วิเคราะห์ข่าว / กิจกรรม / เหตุการณ์ ฯลฯ
18
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และ
นาไปใช้ ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
ตัวชี้วัด
1. เลือกใช้ภาษา น้าเสียง
และกิริยาท่าทางเหมาะกับ
ระดับของบุคคล โอกาส
และสถานที่ ตามมารยาท
สังคมและวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษา
2. อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต
ความคิด ความเชื่อ และ
ที่มาของขนบธรรมเนียม
และประเพณีของเจ้าของ
ภาษา
3. เข้าร่วม แนะนา และจัด
กิจกรรมทางภาษาและ
วัฒนธรรมอย่างเหมาะสม

ผู้เรียนรู้อะไร
การใช้ภาษา น้าเสียงและกิริยาท่าทาง
ที่เหมาะสมกับบุคคล โอกาส และ
สถานที่ มารยาททางสังคมและ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา

ผู้เรียนทำอะไรได้
เลือกใช้ภาษาในการสื่อสารตาม
สถานการณ์ได้ถูกต้องเหมาะสมกับระดับ
บุคคล สถานที่และโอกาส

การรู้ที่มาของขนบธรรมเนียมและ
ประเพณีของเจ้าของภาษา ช่วยให้
อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิดของ
เจ้าของภาษา

อธิบายเกี่ยวกับวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ
และที่มาของขนบธรรมเนียม ประเพณีของ
เจ้าของภาษา

ภาษาต่างประเทศในการเข้าร่วมแนะนา
และจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม
ของเจ้าของภาษา

เข้าร่วม ให้คาแนะนา และจัดกิจกรรมวัน
สาคัญต่าง ๆ ของเจ้าของภาษาอย่าง
เหมาะสม

สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด
1. อธิบาย/เปรียบเทียบ
ความแตกต่างระหว่าง
โครงสร้างประโยค
ข้อความ สานวนคา
พังเพยสุภาษิต และ
บทกลอนของภาษา
ต่างประเทศและ
ภาษาไทย
2. วิเคราะห์/อภิปราย
ความเหมือนและ

ผู้เรียนรู้อะไร
ความแตกต่างของโครงสร้าง ประโยค
ข้อความ สานวน คาพังเพย สุภาษิต
ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย

ผู้เรียนทำอะไรได้
อธิบายและเปรียบเทียบความแตกต่างของ
ประโยค ข้อความ สานวน คาพังเพย
สุภาษิตและบทกลอนของ
ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย

วิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่าง วิเคราะห์ อภิปรายความเหมือนและ
ระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม ความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ
19
ความแตกต่างระหว่าง
วิถีชีวิต ความเชื่อและ
วัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษากับของไทยและ
นาไปใช้อย่างมีเหตุผล

ของเจ้าของภาษาและของไทย

และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของ
ไทยอย่างมีเหตุผล

สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และ
เป็นพื้นฐานใน การพัฒนาแสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน
ตัวชี้วัด
1. ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป
และแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจาก
แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และ
นาเสนอด้วยการพูด การเขียน

ผู้เรียนรู้อะไร
คาศัพท์ สานวนภาษาต่างประเทศ
ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
การค้นคว้า สืบค้น บันทึก สรุปและ
แสดงความคิดเห็น

ผู้เรียนทำอะไรได้
นาเสนอข้อมูล/ข้อเท็จจริงทีเ่ กี่ยวข้อง
กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นที่ได้จากการ
ค้นคว้า สืบค้น บันทึก สรุป และแสดง
ความคิดเห็นด้วยการพูด/การเขียน

สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
ตัวชี้วัด

ผู้เรียนรู้อะไร

ผู้เรียนทำอะไรได้

1.ใช้ภาษาสื่อสารใน
สถานการณ์จริง/สถานการณ์
จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
สถานศึกษา ชุมชน และ
สังคม

คาศัพท์ สานวนภาษา โครงสร้าง
ประโยคในการสื่อสารตามสถานการณ์
จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึนใน
้
ห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และ
สังคม

ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/
สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
สถานศึกษา ชุมชน และสังคม เช่น
การแนะนาสถานศึกษา บทละครสั้น
หรือพิธีการในเทศกาลต่าง ๆ
20
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพืนฐานในการศึกษาต่อ การประกอบ
้
อาชีพ และการแลกเปลียนเรียนรู้กับสังคมโลก
่
ตัวชี้วัด

ผู้เรียนรู้อะไร

ผู้เรียนทำอะไรได้

1. ใช้ภาษาต่างประเทศใน
การสืบค้น/ค้นคว้ารวบรวม
วิเคราะห์ และสรุปความรู้/
ข้อมูลต่าง ๆ จากสื่อและ
แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ใน
การศึกษาต่อและประกอบ
อาชีพ
2. เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์
ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน
ชุมชนและท้องถิ่น/
ประเทศชาติ เป็น
ภาษาต่างประเทศ

คาศัพท์ สานวนภาษา โครงสร้าง
ประโยคและวิธีการในการสืบค้นข้อมูล
จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ในการศึกษาต่อ
และการประกอบอาชีพ

ใช้ภาษาต่างประเทศสืบค้น รวบรวม
วิเคราะห์ สรุปความรู้จากแหล่งเรียนรู้
ที่นาไปใช้เพื่อการศึกษาต่อและ
ประกอบอาชีพ

คาศัพท์ สานวนภาษา โครงสร้าง
ประโยค ในการเขียนเผยแพร่/
ประชาสัมพันธ์ข่าวสารข้อมูลของ
โรงเรียน ชุมชนและท้องถิ่น/
ประเทศชาติ

เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร
ของโรงเรียน ชุมชนและท้องถิ่น/
ประเทศชาติ เป็นภาษาต่างประเทศ

2. เอกสำรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์
2.1 ควำมหมำยของคอมพิวเตอร์
Merrill และคณะ (1986) ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า หมายถึง
เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งสามารถแสดงกระบวนการ ข่าวสาร ข้อมูลต่างๆ ให้สอดคล้องกับ
โปรแกรมที่มนุษย์สร้างขึ้น
อรพันธุ์ ประสิทธิรั ตน์ (2530) ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่าเป็น
เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ทางานแบบอัตโนมัติ ใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่เป็นการคานวณ
การเก็บข้อมูลในหน่วยความจา การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ รวมทั้งการแก้ปัญหา ยุ่งยาก
ซับซ้อน โดยทางานตามขั้นตอนของโปรแกรมที่เตรียมไว้ด้วยความเร็วสูง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2532) ให้ความหมาย
ของคอมพิ ว เตอร์ ไ ว้ ว่ า เป็ น อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ส ามารถรั บ โปรแกรมและข้ อ มู ล ที่
21
เหมาะสมกับเครื่องโดยสามารถทาการคานวณ ประมวลผล วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลจน
ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
ยืน ภู่สุวรรณ (2536) ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า หมายถึง อุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเก็บข้อมูล อ่านข้อมูล ประมวลผลข้อมูล และแสดงผลข้อมูลได้ตาม
ต้องการ
สรุปได้ว่าคอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์สร้างขึ้นใช้ใน
การเก็ บ ข้ อ มู ล สามารถท างานแบบอั ต โนมั ติ กั บ โปรแกรมการอ่ า นข้ อ มู ล การค านวณ
การประมวลผล การวิเคราะห์เปรียบเทียบ การแสดงผลข้อมูล และแก้ปัญหายุ่งยากซับซ้อน
ด้วยความเร็วสูง
2.2 ประเภทของคอมพิวเตอร์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2532) ได้แบ่งคอมพิวเตอร์
ตามระดับความสามารถของคอมพิวเตอร์เป็นเกณฑ์ โดยแบ่งได้ 4 ระดับ ดังนี้
1) ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
ที่มีหน่วยความจาหลักตั้งแต่ 640 Kbytes มีความเร็วในการประมวลผลข้อมูลไม่สูงนัก บางที
เรียกว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer: PC)
2) มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เป็นเครืองมือคอมพิวเตอร์ที่มี
่
ความสามารถสูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ เหมาะสาหรับระบบงานที่มระบบฐานข้อมูลจานวน
ี
มากและทางานด้วยความเร็วสูง
3) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็นเครื่องมือคอมพิวเตอร์
ที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานหลายอย่างพร้อมๆ กันสามารถที่จะแสดงผลทางด้านจอภาพ
เครื่องพิมพ์ได้หลายจุดและมีความเร็วในการประมวลผลสูงมาก มีความสามารถในการบันทึก
ข้อมูลได้ปริมาณมาก
4) ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ผลิตขึ้นมา
เพื่อใช้งานเฉพาะกิจ อาจเป็นงานในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือด้านการยุทธศาสตร์
การทหาร ซึ่งสามารถที่จะสั่งงานและประมวลผลด้วยความเร็วสูงมาก
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf
PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Kruthai Kidsdee

คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน GoogleKruthai Kidsdee
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesKruthai Kidsdee
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsKruthai Kidsdee
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Kruthai Kidsdee
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32Kruthai Kidsdee
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันKruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091Kruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
Teacher highsecon2013-2014
Teacher highsecon2013-2014Teacher highsecon2013-2014
Teacher highsecon2013-2014Kruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
มอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธ
มอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธมอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธ
มอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธKruthai Kidsdee
 
2016 khao khra dong forest park
2016 khao khra dong forest park2016 khao khra dong forest park
2016 khao khra dong forest parkKruthai Kidsdee
 

Mehr von Kruthai Kidsdee (20)

คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plus
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google drive
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน Google
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docs
 
Google appsall
Google appsallGoogle appsall
Google appsall
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
Teacher highsecon2013-2014
Teacher highsecon2013-2014Teacher highsecon2013-2014
Teacher highsecon2013-2014
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
มอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธ
มอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธมอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธ
มอบทุนให้เด็กกองทุนเด็กดีมธ
 
2016 khao khra dong forest park
2016 khao khra dong forest park2016 khao khra dong forest park
2016 khao khra dong forest park
 

PDF_4.Formatวิจัยปูปลา149ตอน4ทุ่ม14กพโคตรหิน.pdf

  • 1. บทที่ 1 บทนำ ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นรายวิ ช าภาษาอั ง กฤษ3(32101) ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 5 โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ในปีการศึกษา 2554 – ปีการศึกษา 2555 ภาพรวม ตลอด 2 ปีการศึกษา พบว่าได้คะแนนเฉลี่ย อยู่ในระดับผลการเรียน 2 ร้อยละ 29.2 และ 28.97 และได้ระดับผลการเรียน 1 ร้อยละ 10.9 และ ร้อยละ 35.17 ตามลาดับ ผู้รายงาน จึงได้วิเคราะห์เนื้อหาในการจัดการเรียนการสอนสาหรับผู้เ รียน ปรากฏว่า การอ่านเนื้อเรื่อง บทอ่านที่มีระดับความยากมากขึ้นแล้วสามารถอ่านจับใจความสาคัญ แสดงความคิดเห็นตอบ คาถามได้ และการพูดเพื่อสื่อความหมายในชีวิตประจาวันนั้น ผู้เรียนทั้ง 2 ปีการศึกษา ได้รับ คะแนนการเรียนรู้อยู่ในเกณฑ์ที่จะต้องปรับปรุงพัฒนา ผู้รายงานจึงได้นาข้อมูลที่ค้นพบมา ทดสอบความรู้ก่อนเรียน เพื่อวัดความรู้พื้นฐานในเรื่องการอ่านบทความ การ์ตูนกับการฟัง ของผู้เรียนที่จะสอนในปีการศึกษา 2556 พบว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนมีค่าใกล้เคียงและไม่ แตกต่างกันกับคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนของผู้เรียนในปีการศึกษา 2555 และจากการใช้ระบบ ฐานข้อมูลของงานระบบดูแลของโรงเรียนโดยการใช้แบบสอบถาม สังเกตและสัมภาษณ์จาก ผู้เกี่ยวข้อง ครูที่ปรึกษาและครูผู้สอน ผู้รายงานจึงได้สรุปสภาพการเรียนการสอนในเรื่อง ดังกล่าวดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2554 และปีการศึกษา 2555 พบว่า ผู้สอนยังใช้พฤติกรรมการสอนแบบเดิมๆ ถึงแม้นว่าจะมีการนา เว็บไซต์การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (www.krupu.com)ในบางส่วนมิได้ปรับปรุงพัฒนา แผนการจัดการเรียนรู้ให้สมบูรณ์ และไม่เหมาะสมกับผู้เรียนในปีการศึกษาใหม่ 2. สื่ อ การเรี ย นการสอนที่ ก าหนดไว้ ใ นแผนการจั ด การเรี ย นรู้ มี ไ ม่ เ พี ย งพอ ไม่เหมาะสมกับผู้เรียน จึงส่งผลให้ผู้เรียนขาดความสนใจ และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนการสอนน้อย การวัด และประเมินผลยังไม่ครอบคลุมการวัดทั้ง 3 ด้าน ผู้สอนเน้นการทดสอบเป็นหลัก ทาให้ไม่สามารถประเมินผู้เรียนให้ตรงตามสภาพจริงได้ อย่างชัดเจน ผู้เรียนขาดการฝึกทักษะด้านการอ่าน ความรู้ด้านคาศัพท์ สานวนประโยคใน ภาษาอังกฤษ ทาให้ไม่ สามารถอ่านจับใจความ ตอบคาถามหรือแสดงความคิดเห็นได้ใน
  • 2. 2 เกณฑ์ที่น่าพึงพอใจ เพื่อสร้างความคุ้นเคยในการใช้ภาษาอังกฤษ และเสริมสร้างความมั่นใจ ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนรวมทั้งสร้างเจตคติที่ดีต่ อวิชาภาษาอังกฤษ ผู้สอนจึงจาเป็นต้องพัฒนา ทักษะการอ่านก่อนเป็นลาดับแรก เมื่อดาเนินการในเรื่องนี้ได้ผลเป็นที่พอใจแล้ว ผู้สอนจะ พัฒนาเนื้อหาด้านทักษะการพูด ดังที่กล่าวไว้แล้วข้างต้นในลาดับต่อไป ดังนั้นจึงจาเป็นต้องพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการอ่านบทความ อ่านเรื่อง สั้นๆ การ์ตูนที่มีระดับความยากมากขึ้น สามารถจับใจความและตอบคาถามได้ แสดงความ คิดเห็นเกี่ย วกับ เรื่อ งที่ อ่านได้เ พื่อ ให้เ หมาะสมกับ ผู้เรี ยนโดยนาสื่ อนวัตกรรมมาประกอบ แผนการจัดการเรียนรู้ ให้ตรงกับสภาพผู้เรียน หากไม่ดาเนินการแก้ไขผู้สอนยังใช้แผนการ จัดการเรียนการรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเดิม ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนคงไม่แตกต่าง จากผลการเรียนรู้ในปีการศึกษาที่ผ่านมา การเรียนการสอนในลักษณะเดิมเป็นการเรียนการสอนแบบทางเดียว ผู้สอนทา หน้าที่สอนในห้องเรียน มอบหมายงานให้ผู้เรียน จากนั้นผู้เรียนก็นางานมาส่งเมื่อถึงวันเวลาที่ กาหนด การสอนด้วยวิธีดังกล่าว ในปัจจุบันนี้ไม่สามารถทาให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด วิเคราะห์ และแยกแยะได้เท่าที่ควร เพราะการจัดการเรียนการสอนที่ไม่คานึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ทาให้ผู้เรียนแต่ละคนไม่สามารถที่จะรับสิ่งที่ครูมอบให้ได้อย่างเท่าเทียมกัน นอกจากนั้ น ผลการประเมิ น ตนเอง พบว่ า การใช้ สื่ อ การสอนยัง ไม่ ห ลากหลาย เทคนิควิธีการสอนยังเน้นการใช้ใบงาน ใบความรู้เป็นส่วนใหญ่ ผู้เรียนมีส่วนร่วมน้อยในการ ปฏิบัติจริงตามความสามารถและความสนใจ จึงส่งผลให้ผู้เรียนมีผลทางด้านการเรียนอยู่ใน ระดับที่ไม่ พึงพอใจเกณฑ์ดังกล่าว และการศึกษาข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุค คลของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2556 พบว่าผู้เรียนมีความสามารถพิเศษ ร้อยละ 72 ผู้เรียนติดเกม(กลุ่มเสี่ยง)ร้อยละ 25 และผู้เรียนใช้เครื่องมือ สื่อสารและอิเล็คทรอนิค ส์ (เสี่ยงและมีปัญหา)ร้อยละ 44.20 ดังนั้นปีการศึกษา 2556 ผู้รายงานจึงได้นาข้อมูลดังกล่าวมา ปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการวางแผนการจัดการ เรียนรู้ เตรียมสื่อต่างๆ และนาเทคนิคการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอย่างหลากหลาย โดย มุ่งหวังที่ว่าจะส่งผลต่อผู้เรียนมีคุณภาพตรงตามลักษณะอันพึงประสงค์ที่สังคมต้องการ เป็นที่ยอมรับอยู่แล้วว่า หนังสือการ์ตูนเป็นสื่อที่สามารถช่วยให้ผู้ เรียนเกิดความ เข้าใจ เร้าความสนใจของผู้อ่านได้เป็นอย่างดี คุ ณค่าของหนังสือการ์ตูนคือสามารถถ่ายทอด เรื่องราวที่เป็นนามธรรมให้ออกมาเป็นรูปธรรมได้ ความสะดุดตาของภาพจะทาให้ ผู้เรียนมี
  • 3. 3 ความกระตือรือร้นไม่เบื่อหน่าย และเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนและความคงทนในการเรียนรู้ พบว่าผู้เรียนสนใจและชอบอ่านการ์ตูน นักจิตวิทยาและนักการศึกษาลงความเห็นว่าการ์ตูนมีคุณค่าต่อการจัดการเรียนการ สอน เพราะการ์ตูนมี คุณสมบัติที่จะช่วยดึงดูดและเร้าความสนใจของเด็กอย่างเห็นได้ชัด ความสะดุดตาของการ์ตูนจะทาให้เด็กมีความกระตือรือร้น ไม่เบื่อหน่าย การเขียนข้อความ บางอย่างให้อ่าน ถ้าเปลี่ยนมาเป็นการวาดภาพการ์ตูนเด็กจะสนใจและเข้าใจได้ดีกว่า (Kinder. 1950 ) ในปัจจุบันกรมวิชาการให้ความสนใจในการใช้หนังสือการ์ตูนเป็นสื่อเพื่อสอน จริยธรรมให้กับเด็กตลอดจนในการเรียนการสอนวิชาต่างๆ ในเรื่องนี้นักวิจัยทางการศึกษา พบว่ า การใช้ แ บบเรี ย นที่ ผ ลิ ต ในรู ป หนั ง สื อ การ์ ตู น ช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย นมี ผ ลการเรี ย นรู้ สู ง กว่ า แบบเรียนธรรมดา (ประสงค์ สุรสิทธิ์. 2515 ; ประเสริฐ มาสุปรีด์. 2522 ) และหากดัดแปลง เนื้อหาบทเรียนธรรมดาที่มีอยู่ให้เป็นหนังสือการ์ตูนประกอบการสอนของผู้สอน จะสามารถ ให้ผลการเรียนรู้ได้ดีเท่ากัน หรือดีกว่าการใช้อุปกรณ์การสอนอย่างอื่นที่หายาก และราคาแพง (ประทิน. 2516 ) “การ์ตูน” คือ ภาพวาดที่แสดงเรื่องราวหรือข่าวสารต่างๆ หรือการแสดงสัญลักษณ์ ที่ล้อเลียนเสียดสีเหตุการณ์ต่างๆ ถ่ายทอดเรื่องราวซึ่งเป็นความคิดเห็น หรือทัศนะของผู้เขียน ไปยังผู้ดู อีกทั้งให้ความสนุกสนาน มีคาพูดประกอบ แสดงความรู้สึกออกมาทางใบหน้าและ ท่าทาง และช่วยให้เกิดความเข้าใจเรื่องราวได้ดีกว่าการใช้ภาษาบอกเล่าเพียงอย่างเดียว (จันทิมา ปลื้มอารมณ์. 2542 ) จุ ด ส าคั ญ ของการ์ ตู น อยู่ ที่ ค วามคิ ด (Idea)ที่ อ ยู่ เ บื้ อ งหลั ง ภาพซึ่ ง แฝงอารมณ์ ความรู้สึก หรือความคิดที่ต้องการถ่ายทอดไปยังผู้ดู ผู้ดูการ์ตูนต้องการได้ค วามคิดและ อารมณ์ที่อยู่เบื้องหลังภาพนั้น เช่น ขาขัน น่าเอ็นดู ลักษณะภาพการ์ตูนที่ง่ายๆ ยังตรงกับ ลักษณะที่เด็กต้องการอีกด้วย เพราะเด็กจะสนใจส่วนสาคัญหลักในภาพ ไม่สนใจรายละเอียด ปลีกย่อยต่างๆ มีผู้ใหญ่จานวนมากที่ชอบอ่านการ์ตูนเพราะต้องการดู มุขตลก หรือความคิดที่ แยบยลในการ์ตูนนั้น การอ่านการ์ตูนสาหรับผู้ใหญ่เป็นการคลายเครียดด้วยการ “อ่านเล่น” การอ่านการ์ตูนของเด็กเป็นการอ่านที่ “เอาจริงเอาจัง” มากกว่า การ์ตูนจึงสามารถดึงดูดความ สนใจได้จากทั้งผู้ใหญ่และเด็ก (จันทิมา ปลื้มอารมณ์. 2542 )
  • 4. 4 เนืองจากสภาพของสังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เจริญก้าวหน้า ่ ไปอย่างรวดเร็ว อันเป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนทางด้านการศึกษา เพื่อให้สอดคล้องเหมาะสม กับสภาพที่เปลี่ยนไป จึงมีการนานวัตกรรมมาใช้ในการศึกษา เช่น บทเรียนโปรแกรม การ สอนเสริมด้วยสื่อบางชนิดและคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (สันทัด ภิบาลสุข และพิมพ์ใจ ภิบาล สุข. 2525 : 10) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันการเรียนการสอนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เน้น ให้ผู้สอนเป็นสาคัญ มีการถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียนด้วยวิธีการบรรยายโดยใช้ตาราเรียน ประกอบการเรียน เปลี่ยนรูปแบบการเรียนรู้มาสู่ยุคที่ผู้สอนทาหน้าที่เป็นผู้กระตุ้น และชี้แนะ ให้ผู้เรียนได้ดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยอาศัยรูปแบบของการเรียนการสอนซึ่ง เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปในยุคปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ การเรียนการสอนบนเว็บไซต์ การเรียนบทเรียนออนไลน์เป็นต้น จึงทาให้คอมพิวเตอร์เป็น สื่ อ การศึ ก ษาที่ เ ข้ า มามี บ ทบาทในการเรี ย นการสอนอย่ า งรวดเร็ ว ผู้ ส อนเป็ น ผู้ ส ร้ าง กระบวนการเรียนการสอนที่ เหมาะสมใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลางในการนาเสนอให้แ ก่ ผู้เรียนตามความพร้อมในด้านการเรียนรู้ได้อีกด้วย ซึ่งตอบสนองทฤษฎีความแตกต่างระหว่าง บุคคลได้เป็นอย่างดี ทุกวันนี้เครื่องคอมพิวเตอร์ได้แพร่หลายในวงการศึกษาทุกระดับ ซึ่งหากมีการวาง ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาที่ดีมีประสิทธิภาพสาหรับผู้เรียนในระดับเยาวชน ซึ่งสามารถ รับรู้พัฒนาได้รวดเร็ว และพร้อมที่จะศึกษาโปรแกรมต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาโปรแกรมให้ สูงขึ้น อันเป็นการสร้างพื้นฐานความรู้ด้านคอมพิวเตอร์แก่เยาวชนที่จะก้าวไปสู่ยุคแห่งความ ทันสมัย โดยอาศัยแนวคิดที่สนับสนุนให้มีการใช้คอมพิวเตอร์ในการศึกษา 4 ประการดังนี้ (สุกรี รอดโพธิ์ทอง. 2532) 1. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อใช้สอนในเนื้อหาบางส่วน หรือเพื่อทบทวนเนื้อหา ทดสอบความรู้ และเพื่อเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ 2. คอมพิวเตอร์จัดการสอน (Computer Managed Instruction: CMI) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดการเกี่ยวกับงานกระบวนการการเรียนการสอน 3. คอมพิวเตอร์ช่วยงานบริหาร (Computer Assisted Administration) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการบริหารงานการศึกษา 4. คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะการใช้ (Computer Literacy) หมายถึง
  • 5. 5 การพัฒนาทักษะเกี่ยวกับการใช้ค อมพิวเตอร์ทั้งทางด้านคาสั่งหรือโปรแกรม และด้าน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มาใช้ใ นการเรี ยนการสอนเป็นการใช้ค อมพิวเตอร์ ในโรงเรียนอย่างคุ้มค่า เป็นการพัฒนาผู้เรียนในลักษณะที่ช่วยให้คนเก่งสามารถเรียนเก่งขึ้น คนเรียนอ่อนสามารถพัฒนาให้มีความรู้เพิ่มขึ้นในเกณฑ์ที่น่าพอใจ ทาให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อ วิชาเรียนและต่อผู้สอนมีผลทาให้ผู้เรียนสนใจเรียนชอบวิชาที่เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงขึ้น(มณฑล อนันตรศิริชัย. 2536 ) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการสร้างสรรค์ทางภาษาที่หลากหลาย และ ส่งเสริมให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน และระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน โดยการปฏิบัติ กิจกรรมเป็นคู่ กลุ่ม หรือเดี่ยว เน้นให้ผู้เรียนมีค วามสามารถในเชิงวิเคราะห์วิจารณ์มากขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาอังกฤษในบรรยากาศการเรียนที่มีการปฏิบัติงานในโครงงานร่วมกัน หรือการปฏิบัติกิจกรรมในสถานการณ์จาลองหรือในสถานการณ์จริง โดยการนาสื่อที่เหมาะสม สอดคล้องครอบคลุมจุดประสงค์และเนื้อหา ทั้งสื่อที่พบเห็นในชีวิตจริง และสื่อเทคโนโลยี ทันสมัยที่น่าสนใจ มาช่วยให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาความรู้ ความเข้าใจจากสื่อเอกสารอ้างอิง ต่างๆ ที่เป็นภาษาอังกฤษจนเป็นนิสัย ซึ่งจะช่วยพัฒนาวิธีการเรียนโดยการใช้ภาษาอังกฤษใน การศึกษาค้นคว้าให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ปัจจุบันการศึกษาได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการสอน อย่างกว้างขวาง ในรูปแบบการสอนบนเว็บไซต์(Web-Based Instruction) เป็นผลของความ พยายามในการใช้ เว็ บไซต์ เพื่ อส่ งเสริ มและสนั บสนุน การจั ดการเรี ยนการสอน เพื่อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพทางการเรียนและแก้ปัญหาในเรื่องข้อจากัดทางด้านสถานที่และเวลาซึ่งการ เรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บไซต์นี้อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการ สอนก็ได้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง สนองตอบความสนใจ มีสีสัน มีภาพเคลื่อนไหว และเสียงประกอบ ใช้เวลาน้อยและสะดวกต่อการทบทวน สร้างแรงจูงใจและทัศนคติที่ดีต่อ การเรียน ผลการทดลองวิจัยยอมรับว่าคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีประโยชน์ต่อผู้เรียนและผู้สอน อย่างมาก จากเหตุผลความสาคัญดังกล่าวผู้รายงานเห็นว่าการสร้างสื่อนวัตกรรมการสอนบน เว็บไซต์(Web-Based Instruction) โดยใช้ภาพการ์ตูนเพือพัฒนาทักษะด้านความเข้าใจในการ ่ อ่านและความสามารถในการเรียนภาษาอังกฤษและเป็นบทเรียนเสริมทีดี สามารถใช้เป็น ่
  • 6. 6 เครืองมือในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ สาหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 พัฒนาส่งเสริม ่ ศักยภาพผู้เรียน ปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียน เป็นการค้นหา วิธีการที่เหมาะสมให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ซึ่งได้นาไปเป็นแนวทางใน การพัฒนาโดยผู้เรียนจะสามารถเรียนที่ใดก็ได้ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับผู้เรียนอื่น หรือกับผู้สอนได้โดยการโต้ตอบนี้อาจเป็นได้ทงแบบเวลาเดียวกันและต่างเวลา บุคคลต่อกลุ่ม ั้ หรือกลุ่มต่อกลุม ในบางครังผู้เรียนอาจจะต้องทาการทดสอบหลังการเรียนด้วยและในกรณีที่ ่ ้ ผู้สอนทาการสอนเว็บไซต์อย่างเต็มรูปแบบ ผู้เรียนจะต้องรับ-ส่งงาน และเข้าตรวจสอบผล ป้อนกลับบนเว็บไซต์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อหาประสิทธิภาพสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษบนเว็บไซต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ที่สร้างขึ้นให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80 2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านโดยใช้ภาพการ์ตูน ก่อนเรียนและหลัง เรี ย นโดยใช้ สื่ อ นวั ต กรรมการสอนบนเว็ บ ไซต์ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ภ าษาต่ า งประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ที่สร้างขึ้น 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษบนเว็บไซต์โดยใช้ภาพการ์ตูนเพื่อพัฒนาทักษะความเข้าใจในการอ่าน ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ประจาปีการศึกษา 2556 โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ที่สร้างขึ้น ขอบเขตกำรศึกษำ 1. การศึกษาครั้งนี้ต้องการประเมินประสิทธิภาพ การใช้สื่อนวัตกรรมบน เว็บไซต์โดยการใช้ภาพการ์ตูนเพื่อพัฒนาประกอบทักษะการอ่าน(www.krupu.com/homework) 2. กลุ่มประชากรในการศึกษา เป็นผู้เรียนที่มีปัญหาด้านทักษะการอ่าน ประจาปี การศึกษา 2556 ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 – 5/6 จานวน 243 คนโรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
  • 7. 7 3. กลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ใ ช้ ใ นการศึ ก ษา เป็ น ผู้ เ รี ย นที่ มี ปั ญ หาด้ า นทั ก ษะการอ่ า น กลุ่มเป้าหมาย ประจาปีการศึกษา 2556 ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1- 5/6 ได้มาโดยการ เลือกแบบสุ่มแบบง่าย จานวน 90 คน โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 4. เนื้อหาที่ใช้ในการใช้สื่อนวัตกรรมการสอนบนเว็บไซต์ (www.krupu.com/homework) ใช้ ภ าพการ์ ตู น ประกอบทั ก ษะความเข้ า ใจในการอ่ า นภาษาอั ง กฤษน ามาจากหนั ง สื อ สื่อ สิ่งพิม พ์ต่างๆ เพื่อเสริมทักษะการอ่านที่ได้นามาดัดแปลง ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมจาก การ์ตูนภาษาอังกฤษ เพื่อให้เหมาะกับผู้เรียน 5. การใช้สื่อนวัตกรรมการสอนบนเว็บไซต์ (www.krupu.com/homework) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยการใช้ภาพการ์ตูนประกอบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ ที่สร้างขึ้นจะประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์โดยบุคคลต่อไปนี้ 5.1 ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการเขียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จานวน 4 คน 5.2 ผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ ที่มีประสบการณ์ทางการสอน ไม่น้อยกว่า 20 ปี และทาการสอนอยู่ในปีการศึกษา 2556 โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัม ย์ จานวน 3 คน 5.3 ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัยเชิงสถิติข้อมูล จานวน 1 คน 5.4 ผู้เชี่ยวชาญในด้านการวาดภาพการ์ตูนจานวน 1 คน 6 . แบบทดสอบวัดความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษ ที่ผู้รายงานสร้างขึ้น จานวน 14 ข้อ 6.1 วิธีการศึกษาค้นคว้า 6.2 ทดสอบก่อนเรียนกับกลุ่มทดลอง (Pre-Test) 6.3 ดาเนินการทดลองโดยให้ผู้เรียนเรียนจากสือนวัตกรรรมการสอนบน ่ เว็บไซต์ (www.krupu.com/homework) โดยใช้ภาพการ์ตูนเพื่อพัฒนาทักษะความเข้าใจในการ อ่านภาษาอังกฤษที่พัฒนา 6.4 ทดสอบก่อนเรียน – ทดสอบหลังเรียน 7. ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง คือ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
  • 8. 8 ข้อตกลงเบื้องต้น การรายงานครั้ง นี้ไ ม่ศึ กษาครอบคลุม ถึ งตั วแปรที่เ กี่ย วกั บเพศ อายุ ฐานะทาง เศรษฐกิจ สถานภาพทางครอบครัว และประสบการณ์เดิมของผู้เรียน นิยำมศัพท์เฉพำะ 1. การใช้สื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษบนเว็บไซต์เพื่อพัฒนาทักษะความเข้าใจ ในการอ่าน หมายถึง บทเรียนทีบรรจุเนื้อหาโดยมีระบบโปรแกรมควบคุมการทางานบนเว็บไซต์ ่ www.krupu.com/homework และมีการแสดงผลทางจอภาพเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในวิชา ภาษาอังกฤษโดยใช้ภาพการ์ตูน เพื่อพัฒนาทักษะความเข้าใจในการอ่าน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ตามหลักสูตรการเรียนรู้กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ช่วงชั้นที่ 3 2. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึงอัตราส่วนระหว่าง ประสิทธิภาพของกระบวนการต่อประสิทธิภาพของผลลัพธ์ ของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ได้พัฒนาตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้เป็น 80/80 ซึ่งมีความหมายดังนี้ 80 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละของค่าเฉลี่ยที่ได้จากคะแนนแบบฝึกหัดใน (www.krupu.com/homework) บทเรี ย นบนเว็ บ ไซต์ โ ดยใช้ ภ าพการ์ ตู น เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะ การอ่านภาษาอังกฤษ 80 ตัวหลัง หมายถึง ร้อยละของค่าเฉลี่ยของคะแนนซึ่งได้จากการทาแบบ ทดสอบหลังจากศึกษาเนื้อหาในบทเรียนบนเว็บไซต์แล้ว โดยการหาประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นบนเว็ บ ไซต์ ค รั้ ง นี้ ผู้ ร ายงานได้ กาหนดค่าความคลาดเคลื่อนไว้  2.50 3. ค่าดัช นีประสิทธิผลของบทเรียนบนเว็บไซต์ หมายถึง อัตราส่วนของ ความก้าวหน้าในการเรียนของผู้เรียน โดยเทียบระหว่างคะแนนที่เพิ่มขึนจากการทดสอบก่อน ้ เรีย นและการทดสอบหลั งเรี ยน เทียบกับคะแนนที่ค วรจะเพิ่มขึ้ นได้ สูง สุด โดยคิด จาก คะแนนเต็มลบด้วยคะแนนสอบก่อนเรียน ตามวิธีการของ Hovland และคณะ (อ้างถึงใน Goodman, Fletcher & Schneider. 1980) คะแนนสอบหลังเรียน - คะแนนสอบก่อนเรียน ค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I) = คะแนนเต็ม – คะแนนสอบก่อนเรียน
  • 9. 9 4. รูปภาพการ์ตูนประกอบการอ่าน หมายถึง ภาพที่ผู้รายงานดัดแปลงสร้างขึ้นโดย มีภาพวาดล้อเลียนแบบของจริง เป็นลักษณะการ์ตูนสีโดยยึดเค้าโครงภาพการ์ตูนเรื่องเดิม มีคาบรรยายของตัวการ์ตูนที่สอดคล้องสัมพันธ์ต่อเนื่องเป็นเรื่องราวซึ่งแต่ละภาพจะมีกรอบ ภาพเป็นรูปสี่เหลี่ยม การ์ตูนสีลักษณะล้อของจริง หมายถึง การ์ตูนที่เขียนในลักษณะง่า ยๆ เน้น ลักษณะเด่นอาจมีรูปร่างหรือรูปทรงที่ผิดไปจากเดิมที่มีสีขาว - ดา แต่ยังคงมีเค้าโครงของ ความเป็นจริง ให้อารมณ์ที่สนุกสนาน คล้อยตาม การให้สีเป็นไปตามธรรมชาติบ้าง และอาจ ผิดเพี้ยนไปบ้างตามความสวยงามและเหมาะสม 5. แบบทดสอบ หมายถึง เครื่องมือที่มีลักษณะเป็นข้อคาถามโดยมีตัวเลือกให้ ตอบ 4 ตัวเลือก และมีคาตอบที่ถูกต้องเพียง 1 คาตอบ เพื่อใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการอ่าน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลคะแนนที่ไ ด้จากการทาแบบทดสอบ ประเมินผล 6. ผู้เชี่ยวชาญ หมายถึง ผู้ที่มีความรู้ ความชานาญหรือมีประสบการณ์เกี่ยวกับ การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและการจัดทาเว็บไซต์ 7. ผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ หมายถึง ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ทางการสอน ไม่น้อยกว่า 15 ปี และทาการสอนอยู่ในระหว่างภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ กระทรวงศึกษาธิการ จานวน 3 คน 8. ผู้เรียน หมายถึง ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1- 5/6 ประจาปีการศึกษา 2556 โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ จานวน 90 คน 9. ความพึงพอใจต่อวิชาภาษาอังกฤษ หมายถึง ความรูสึกชอบ ความพอใจต่อการ ้ ใช้สื่อนวัตกรรมการสอนบนเว็บไซต์บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยการใช้ภาพการ์ตูน ประกอบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ (www.krupu.com/homework) ซึ่งประเมินโดยครูผู้สอน และนักเรียน โรงเรียนภัทรบพิตร อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรมย์ ั 10. ความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ หมายถึง ความสามารถในการอ่าน ภาษาอังกฤษของนักเรียน ในการเข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่าน ในระดับความเข้าใจตรงตาม ตัวอักษร ระดับความเข้าใจแบบตีความ ระดับการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ และระดับการอ่าน อย่างสร้างสรรค์
  • 10. 10 11. การเรียนรูด้วยตนเอง หมายถึง การที่บคคลนั้นมีความใฝ่รู้ ขวนขวาย ในการ ้ ุ วางแผนควบคุม รับผิดชอบในการฝึกฝนและแสวงหาความรู้ มีอิสรเสรีในการที่จะเลือกศึกษา ทบทวนความรู้ และสามารถตรวจสอบ ประเมินความก้าวหน้าของตนเองได้ตามเป้าหมายที่ วางไว้ 12. บทเรียนบนเว็บไซต์ หมายถึง บทเรียนที่สร้างขึ้นผ่านเว็บซึ่งเป็นบทเรียน สาเร็จรูป ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนได้ ภายในบทเรียน ประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟิก ภาพนิ่ง เสียงและภาพเคลื่อนไหว แบบออนไลน์ www.krupu.com/homework 13. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนทีได้จากการทาแบบทดสอบหลังเรียน ่ เพื่อวัดความรู้ในเนื้อหาในบทเรียนบนเว็บไซต์ 14. การประเมินผลระบบการจัดการเรียนการสอนซึ่งเป็นแบบประเมินบทเรียนของ สมศักดิ์ จีวัฒนา (2546) ซึ่งเป็นแบบประเมินมาตราส่วนประมาณคา (Rating Scale) ซึ่ง กาหนดการตัดสินคุณภาพเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับ 5 หมายถึง ดีมาก ระดับ 4 หมายถึง ดี ระดับ 3 หมายถึง พอใช้ ระดับ 2 หมายถึง ควรปรับปรุง ระดับ 1 หมายถึง ไม่เหมาะสม และมีเกณฑ์ประเมินดังนี้ ค่าเฉลี่ย 4.50 - 5.00 สรุปผลการประเมิน ดีมาก ค่าเฉลี่ย 3.50 - 4.49 สรุปผลการประเมิน ดี ค่าเฉลี่ย 2.50 - 3.49 สรุปผลการประเมิน พอใช้ ค่าเฉลี่ย 1.50 - 2.49 สรุปผลการประเมิน ควรปรับปรุง ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.49 สรุปผลการประเมิน ไม่เหมาะสม
  • 11. 11 บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง เอกสารและงานวิจัยที่เกียวกับการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษบน ่ เว็บไซต์โดยใช้ภาพการ์ตูนเพื่อพัฒนาทักษะความเข้าใจในการอ่าน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประจาปีการศึกษา 2556 ผูรายงานได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ ้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ 3. เอกสารเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 4. เอกสารเกี่ยวกับบทเรียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ 5. เอกสารเกี่ยวข้องกับการ์ตูน 6. เอกสารเกี่ยวกับการสอนภาษาอังกฤษ 7. แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนออนไลน์ 7.1 ความหมายของการสอนออนไลน์ 7.2 ลักษณะสาคัญของการสอนออนไลน์ 7.3 รูปแบบของการเรียนการสอนออนไลน์ 7.4 องค์ประกอบของการสอนออนไลน์ 7.5 ประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนร่วมกับออนไลน์ 8. แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง 8.1 ความหมายของการเรียนรู้ด้วยตนเอง 8.2 ความสาคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเอง 8.3 ลักษณะของการเรียนรูด้วยตนเอง ้ 8.4 กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง 9. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 9.1 งานวิจัยเกี่ยวกับนวัตกรรมบนเว็บไซต์ (Web – Based Instruction) 9.2 งานวิจัยเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาภาษาอังกฤษ 9.3 งานวิจัยเกี่ยวกับการ์ตูน 9.4 งานวิจัยที่เกี่ยวกับบทเรียนโปรแกรม
  • 12. 12 1. หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 และมำตรฐำนกำรเรียนรู้กลุ่ม สำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2553) ได้กล่าวว่ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ า งประเทศมุ่ ง หวั ง ให้ ผู้ เ รี ย นมี เ จตคติ ที่ ดี ต่ อ ภาษาต่ า งประเทศ สามารถใช้ ภาษาต่างประเทศ สื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษา ต่อในระดับที่สูง รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของ ประชาคมโลกและสามารถถ่ า ยทอดความคิ ด และวั ฒ นธรรมไทยไปยั ง สั ง คมโลกอย่ า ง สร้างสรรค์ ประกอบด้วยสาระสาคัญ ดังนี้ ภำษำเพื่อกำรสื่อสำร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง -พูด-อ่าน-เขียน แลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ตีค วาม นาเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างเหมาะสม ภำษำและวัฒ นธรรม การใช้ ภาษาต่า งประเทศตามวัฒ นธรรมของเจ้ าของภาษา ความสัมพันธ์ ความเหมือน และความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และวัฒนธรรมไทยและนาไปใช้อย่างเหมาะสม ภำษำกับควำมสัมพันธ์กับกลุ่มสำระกำรเรียนรู้อื่น การใช้ภาษาต่างประเทศในการ เชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และ เปิดโลกทัศน์ของตนเอง ภำษำกับควำมสัมพันธ์กับชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ ต่างๆ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เป็นเครื่องมือพื้นฐานใน การศึกษาต่อ ประกอบอาชีพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้ สำระที่ 1 ภำษำเพื่อกำรสื่อสำร มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความ คิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดง ความรู้สึกและความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 13. 13 มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็ นในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูดและการเขียน สำระที่ 2 ภำษำและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และ นาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่ างภาษาและวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม สำระที่ 3 ภำษำกับควำมสัมพันธ์ของกลุ่มสำระกำรเรียนรู้อื่น มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน สำระที่ 4 ภำษำกับควำมสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และ สังคม มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบ อาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก คุณภำพผู้เรียน จบชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ปฏิบัติตามคาแนะนาในคู่มือการใช้งานต่าง ๆ คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายที่ ฟังและอ่าน อ่านออกเสียงข้อความข่าว โฆษณา นิทาน และบทร้อยกรอง และบทละครสั้น ที่ถูกต้องตามหลักการอ่าน อธิบายและเขียนประโยคและข้อความสัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความ เรียงรูปแบบต่าง ๆ ที่อ่าน รวมทั้งระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่าง ๆ สัมพันธ์ กับประโยคและข้อความที่ฟังหรืออ่าน จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟังและอ่านเรื่อ งที่เป็นสารคดีและบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้ เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว สถานการณ์ ข่ า ว/เหตุ ก ารณ์ ประเด็ น ที่ อ ยู่ ใ นความสนใจของสั ง คม และสื่ อ สารอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและ เหมาะสม เลือกและใช้คาขอร้อง คาชี้แจง คาอธิบาย และให้คาแนะ พูดและเขียนแสดง
  • 14. 14 ความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือใน สถานการณ์จริงอย่างเหมาะสมพูดและเขียนเพื่อขอให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังหรืออ่านอย่างเหมาะสม พูด และเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรม และข่าว/เหตุการณ์ อย่างมีเหตุผล พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและประเด็น ต่าง ๆ ตามความสนใจ พูดและเขียนสรุ ปใจความสาคัญ/แก่นสาระที่ได้จากการวิเคราะห์ เรื่อง ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับกิจกรรมประสบการณ์ และเหตุการณ์ พร้อมทั้งใช้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับบุคคล เวลา โอกาส และสถานที่ ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด ความ เชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของภาษา เข้าร่วม แนะนา และจัด กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สานวน คา พังเพย สุภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย วิเคราะห์/อภิปรายความ เหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของ ไทยและนาไปใช้อย่างมีเหตุผล ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ และนาเสนอด้วยการพูดและการเขียน ใช้ ภ าษาสื่ อ สารในสถานการณ์ จ ริ ง /สถานการณ์ จ าลองที่ เ กิ ด ขึ้ น ในห้ อ งเรี ย น สถานศึกษาชุมชน และสังคม ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม และสรุปความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ จากสื่ อ และแหล่ ง การเรี ย นรู้ ต่ า ง ๆ ในการศึ ก ษาต่ อ และประกอบอาชี พ เผยแพร่ / ประชาสั ม พั น ธ์ ข้ อ มู ล ข่ า วสารของโรงเรี ย น ชุ ม ชน และท้ อ งถิ่ น /ประเทศชาติ เ ป็ น ภาษาต่างประเทศ มีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง -พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตามหัว เรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ -ขาย ลมฟ้าอากาศ
  • 15. 15 การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ภายในวงคาศัพท์ประมาณ 3,600-3,750 คา (คาศัพท์ที่มีระดับการใช้แตกต่าง กัน) ใช้ป ระโยคผสมและประโยคซับ ซ้อ น สื่อ ความหมายตามบริบทต่า ง ๆ ในการ สนทนาทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ดั ง นั้ น จากการวิ เ คราะห์ ห ลั ก สู ต รพอสรุ ป ว่ า การจั ด การเรี ย นการสอนในระดั บ ชั้ น มัธยมศึ กษาปี ที่ 5 ในตัวชี้ วัดและสาระการเรีย นรู้แกนกลางวิชาภาษาอังกฤษเพื่ อนามาพั ฒนา นวัตกรรมและจัดการเรียนการสอนดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความ คิดเห็นอย่าง มีเหตุผล ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ 1.ปฏิบัติตามคาแนะนาในคู่มือ การใช้งานต่าง ๆ คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายที่ฟง ั และอ่าน 2. อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อย กรอง และบทละครสั้น (skit) ถูกต้องตามหลักการอ่าน คาศัพท์ สานวนโครงสร้างภาษาที่ใช้ ในคู่มือ การใช้งาน คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยาย ช่วยให้ ปฏิบติตาม ั การอ่านออกเสียงตามหลักการและ เทคนิคการอ่านออกเสียง อ่าน ข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบทละครสั้น 1. สื่อที่ไม่ใช่ความเรียง - กราฟ แผนภูมิ ตาราง - การ์ตูน - บทร้อยกรอง - ภาพสัญลักษณ์ -- เป็นต้น 2. รูปแบบของสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง ชนิดต่าง ๆ 1. ปฏิบติตามคู่มือการใช้งาน คาชี้แจง ั คาอธิบายและคาบรรยาย 2. อธิบาย / เล่าขั้นตอนการปฏิบัตงาน ิ 3. อธิบายและเขียนประโยค และข้อความให้สัมพันธ์กับ สื่อที่ไม่ใช่ความเรียง รูปแบบ ต่าง ๆ ที่อ่าน รวมทั้งระบุและ เขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง รูปแบบต่างๆ ให้สัมพันธ์กับ ประโยคและข้อความที่ฟัง หรืออ่าน 1. อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง 2. พูดบทละครสั้นได้ถูกต้องตามหลัก การอ่านออกเสียง 1. เขียนอธิบายถ่ายโอนสื่อที่ไม่ใช่ ความเรียงให้เป็นประโยคและ ข้อความ 2. เขียนอธิบายถ่ายโอนประโยคและ ข้อความเป็นสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง
  • 16. 16 3. ศัพท์ สานวนภาษา โครงสร้าง ประโยค 4. หลัก/วิธีการเขียนสรุปความ 4. จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ เทคนิคการอ่านคาศัพท์ สานวน ความ สรุปความ ตีความ และ โครงสร้างประโยคที่ใช้ในการแสดง แสดงความคิดเห็นจากการฟัง ความคิดเห็น การสรุปความและการ และอ่านเรื่องที่เป็นสารคดีและ ใช้เหตุผล การจับใจความสาคัญ บันเทิงคดี พร้อมทั้งให้เหตุผล วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความ และ และยกตัวอย่างประกอบ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องทีอ่าน ่ 1. ฟังเรื่องทีเ่ ป็นบันเทิงคดีและสารคดี แล้วจับใจความหรือสรุปความได้ 2. อ่านเรื่องทีเ่ ป็นบันเทิงคดีและสาร คดีแล้วเขียนสรุปความ ตีความ วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นพร้อม ยกตัวอย่างประกอบ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดง ความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด 1. สนทนาและเขียน โต้ตอบ ข้อมูลเกี่ยวกับ ตนเองและเรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว / เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ใน ความสนใจของสังคม และสื่อสารอย่างต่อเนื่อง และเหมาะสม 2. เลือกและใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบายอย่างคล่องแคล่ว ผู้เรียนรู้อะไร การรู้คาศัพท์ สานวนภาษาที่ใช้ในการ ทักทาย การกล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย การพูดแทรกอย่างสุภาพ การ ชักชวน เขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับ ตนเอง เรืองต่าง ๆใกล้ตัว ประสบการณ์ ่ สถานการณ์ ข่าง /เหตุการณ์ และ ประเด็นที่อยูในความสนใจของสังคม ่ ผู้เรียนทำอะไรได้ 1. สนทนาและเขียนโต้ตอบกับผูอื่น ้ เกี่ยวกับเรื่องในชีวิตประจาวันได้ 2. เขียนเกี่ยวกับตนเองและบุคคลใกล้ตัว ประสบการณ์ เหตุการณ์และประเด็นที่ อยู่ในความสนใจ ความหมายของคาศัพท์ สานวน คา ขอร้อง คาแนะนา ชี้แจง การใช้คา กลุ่มคา และประโยคที่เกี่ยวข้อง 3. พูดและเขียนแสดง ความต้องการ เสนอตอบ รับและปฏิเสธการให้ ความช่วยเหลือใน สถานการณ์จาลองหรือ สถานการณ์จริงอย่าง เหมาะสม 1. รู้และเข้าใจความหมายของประโยค โครงสร้าง พูดและเขียนแสดงความ ต้องการได้ถูกต้องและเหมาะสมกับ สถานการณ์ นั้น ๆ 2. ภาษาที่ใช้แสดงความต้องการ/ตอบ รับและปฏิเสธการเสนอความช่วยเหลือ 1. การพูดขอร้อง พูดแนะนาและชี้แจง ผู้อื่นในสถานการณ์ต่าง ๆ 2. พูดตามสถานการณ์ที่จะใช้คาแนะนา คาขอร้อง คาชี้แจง พูด/เขียนบอกความต้องการ/แสดง ความรู้สึก พูดเสนอและตอบรับ/ปฏิเสธ การให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ จาลองหรือสถานการณ์จริงอย่าง เหมาะสม
  • 17. 17 4. พูดและเขียนเพื่อขอและ ให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม 1. รู้และเข้าใจคาศัพท์ สานวน ภาษา ประโยค และโครงสร้างที่ถูกต้อง ใช้ ภาษาได้ถูกต้องและเหมาะสมตาม สถานการณ์ นั้น ๆ 2. ภาษาที่ใช้ในการขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ แสดง ความคิดเห็น 3. วิธีการพูดและเขียนเพื่อขอและให้ ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ แสดงความคิดเห็น 5. พูดและเขียนบรรยาย โครงสร้างทางภาษา ช่วยให้พูดและ ความรู้สึกและแสดงความ เขียนเกี่ยวกับการใช้ภาษาในการแสดง คิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับ ความรู้สึก ความคิดเห็นและให้เหตุผล เรื่องต่างๆ กิจกรรม ตามสถานการณ์ ประสบการณ์ และข่าว/ เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล 1. พูดขอและให้ข้อมูล 2. เขียนบรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข่าว เหตุการณ์ 1. พูดแสดงความรู้สึกและแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม ประกาศ ข่าว เหตุการณ์ 2. เขียนแสดงความรู้สึกและความ คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม ประกาศ ข่าว เหตุการณ์ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและ การเขียน ตัวชี้วัด 1.พูดและเขียนนาเสนอ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/ เหตุการณ์ เรื่องและ ประเด็นต่าง ๆ ตาม ความสนใจของสังคม 2. พูดและเขียนสรุป ใจความสาคัญ/แก่น สาระที่ได้จากการ วิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และ สถานการณ์ตามความ สนใจ ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ หลักวิธีการพูด นาเสนอ หลักวิธีการเขียน พูดและเขียนนาเสนอ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ย่อหน้า เรียงความ บันทึกประจาวันและ ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและ รายงาน และคาศัพท์สานวนที่เกี่ยวข้อง ประเด็นต่าง ๆ เขียน/พูดนาเสนอข้อมูล โครงสร้างประโยค สานวนภาษา และ หลักไวยากรณ์ พูดและเขียน สรุปใจความ สาคัญได้ถูกต้องตามสถานการณ์ หรือ เหตุการณ์ 1. พูดสรุปใจความสาคัญจากการวิเคราะห์ ข่าว / กิจกรรม / เหตุการณ์ /ฯลฯ 2. เขียนสรุปใจความสาคัญจากการ วิเคราะห์ข่าว / กิจกรรม / เหตุการณ์ ฯลฯ
  • 18. 18 สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และ นาไปใช้ ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ ตัวชี้วัด 1. เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับ ระดับของบุคคล โอกาส และสถานที่ ตามมารยาท สังคมและวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษา 2. อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ และ ที่มาของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของ ภาษา 3. เข้าร่วม แนะนา และจัด กิจกรรมทางภาษาและ วัฒนธรรมอย่างเหมาะสม ผู้เรียนรู้อะไร การใช้ภาษา น้าเสียงและกิริยาท่าทาง ที่เหมาะสมกับบุคคล โอกาส และ สถานที่ มารยาททางสังคมและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ผู้เรียนทำอะไรได้ เลือกใช้ภาษาในการสื่อสารตาม สถานการณ์ได้ถูกต้องเหมาะสมกับระดับ บุคคล สถานที่และโอกาส การรู้ที่มาของขนบธรรมเนียมและ ประเพณีของเจ้าของภาษา ช่วยให้ อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิดของ เจ้าของภาษา อธิบายเกี่ยวกับวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียม ประเพณีของ เจ้าของภาษา ภาษาต่างประเทศในการเข้าร่วมแนะนา และจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา เข้าร่วม ให้คาแนะนา และจัดกิจกรรมวัน สาคัญต่าง ๆ ของเจ้าของภาษาอย่าง เหมาะสม สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตัวชี้วัด 1. อธิบาย/เปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่าง โครงสร้างประโยค ข้อความ สานวนคา พังเพยสุภาษิต และ บทกลอนของภาษา ต่างประเทศและ ภาษาไทย 2. วิเคราะห์/อภิปราย ความเหมือนและ ผู้เรียนรู้อะไร ความแตกต่างของโครงสร้าง ประโยค ข้อความ สานวน คาพังเพย สุภาษิต ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย ผู้เรียนทำอะไรได้ อธิบายและเปรียบเทียบความแตกต่างของ ประโยค ข้อความ สานวน คาพังเพย สุภาษิตและบทกลอนของ ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย วิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่าง วิเคราะห์ อภิปรายความเหมือนและ ระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม ความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ
  • 19. 19 ความแตกต่างระหว่าง วิถีชีวิต ความเชื่อและ วัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากับของไทยและ นาไปใช้อย่างมีเหตุผล ของเจ้าของภาษาและของไทย และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของ ไทยอย่างมีเหตุผล สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และ เป็นพื้นฐานใน การพัฒนาแสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน ตัวชี้วัด 1. ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจาก แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และ นาเสนอด้วยการพูด การเขียน ผู้เรียนรู้อะไร คาศัพท์ สานวนภาษาต่างประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การค้นคว้า สืบค้น บันทึก สรุปและ แสดงความคิดเห็น ผู้เรียนทำอะไรได้ นาเสนอข้อมูล/ข้อเท็จจริงทีเ่ กี่ยวข้อง กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นที่ได้จากการ ค้นคว้า สืบค้น บันทึก สรุป และแสดง ความคิดเห็นด้วยการพูด/การเขียน สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ 1.ใช้ภาษาสื่อสารใน สถานการณ์จริง/สถานการณ์ จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และ สังคม คาศัพท์ สานวนภาษา โครงสร้าง ประโยคในการสื่อสารตามสถานการณ์ จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึนใน ้ ห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และ สังคม ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/ สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม เช่น การแนะนาสถานศึกษา บทละครสั้น หรือพิธีการในเทศกาลต่าง ๆ
  • 20. 20 สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพืนฐานในการศึกษาต่อ การประกอบ ้ อาชีพ และการแลกเปลียนเรียนรู้กับสังคมโลก ่ ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ 1. ใช้ภาษาต่างประเทศใน การสืบค้น/ค้นคว้ารวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้/ ข้อมูลต่าง ๆ จากสื่อและ แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ใน การศึกษาต่อและประกอบ อาชีพ 2. เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชนและท้องถิ่น/ ประเทศชาติ เป็น ภาษาต่างประเทศ คาศัพท์ สานวนภาษา โครงสร้าง ประโยคและวิธีการในการสืบค้นข้อมูล จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ในการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ ใช้ภาษาต่างประเทศสืบค้น รวบรวม วิเคราะห์ สรุปความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ที่นาไปใช้เพื่อการศึกษาต่อและ ประกอบอาชีพ คาศัพท์ สานวนภาษา โครงสร้าง ประโยค ในการเขียนเผยแพร่/ ประชาสัมพันธ์ข่าวสารข้อมูลของ โรงเรียน ชุมชนและท้องถิ่น/ ประเทศชาติ เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร ของโรงเรียน ชุมชนและท้องถิ่น/ ประเทศชาติ เป็นภาษาต่างประเทศ 2. เอกสำรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ 2.1 ควำมหมำยของคอมพิวเตอร์ Merrill และคณะ (1986) ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า หมายถึง เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งสามารถแสดงกระบวนการ ข่าวสาร ข้อมูลต่างๆ ให้สอดคล้องกับ โปรแกรมที่มนุษย์สร้างขึ้น อรพันธุ์ ประสิทธิรั ตน์ (2530) ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่าเป็น เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ทางานแบบอัตโนมัติ ใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่เป็นการคานวณ การเก็บข้อมูลในหน่วยความจา การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ รวมทั้งการแก้ปัญหา ยุ่งยาก ซับซ้อน โดยทางานตามขั้นตอนของโปรแกรมที่เตรียมไว้ด้วยความเร็วสูง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2532) ให้ความหมาย ของคอมพิ ว เตอร์ ไ ว้ ว่ า เป็ น อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ส ามารถรั บ โปรแกรมและข้ อ มู ล ที่
  • 21. 21 เหมาะสมกับเครื่องโดยสามารถทาการคานวณ ประมวลผล วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลจน ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ ยืน ภู่สุวรรณ (2536) ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า หมายถึง อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเก็บข้อมูล อ่านข้อมูล ประมวลผลข้อมูล และแสดงผลข้อมูลได้ตาม ต้องการ สรุปได้ว่าคอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์สร้างขึ้นใช้ใน การเก็ บ ข้ อ มู ล สามารถท างานแบบอั ต โนมั ติ กั บ โปรแกรมการอ่ า นข้ อ มู ล การค านวณ การประมวลผล การวิเคราะห์เปรียบเทียบ การแสดงผลข้อมูล และแก้ปัญหายุ่งยากซับซ้อน ด้วยความเร็วสูง 2.2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2532) ได้แบ่งคอมพิวเตอร์ ตามระดับความสามารถของคอมพิวเตอร์เป็นเกณฑ์ โดยแบ่งได้ 4 ระดับ ดังนี้ 1) ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ที่มีหน่วยความจาหลักตั้งแต่ 640 Kbytes มีความเร็วในการประมวลผลข้อมูลไม่สูงนัก บางที เรียกว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer: PC) 2) มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เป็นเครืองมือคอมพิวเตอร์ที่มี ่ ความสามารถสูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ เหมาะสาหรับระบบงานที่มระบบฐานข้อมูลจานวน ี มากและทางานด้วยความเร็วสูง 3) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็นเครื่องมือคอมพิวเตอร์ ที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานหลายอย่างพร้อมๆ กันสามารถที่จะแสดงผลทางด้านจอภาพ เครื่องพิมพ์ได้หลายจุดและมีความเร็วในการประมวลผลสูงมาก มีความสามารถในการบันทึก ข้อมูลได้ปริมาณมาก 4) ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ผลิตขึ้นมา เพื่อใช้งานเฉพาะกิจ อาจเป็นงานในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือด้านการยุทธศาสตร์ การทหาร ซึ่งสามารถที่จะสั่งงานและประมวลผลด้วยความเร็วสูงมาก