SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 1
อัตราสวน และรอยละ (18 ชั่วโมง)
1.1 อัตราสวน (2 ชั่วโมง)
1.2 อัตราสวนที่เทากัน (2 ชั่วโมง)
1.3 อัตราสวนของจํานวนหลาย ๆ จํานวน (3 ชั่วโมง)
1.4 สัดสวน (5 ชั่วโมง)
1.5 รอยละ (6 ชั่วโมง)
อัตราสวนเปนเรื่องที่นักเรียนเริ่มเรียนเปนครั้งแรก ในบทนี้จะกลาวถึงอัตราสวนของจํานวนสอง
จํานวนและอัตราสวนของจํานวนหลาย ๆ จํานวน ซึ่งแตละจํานวนในอัตราสวนเปนจํานวนบวก เราอาจ
เขียนอัตราสวน a : b ในรูป
b
a เพื่อชวยในการคํานวณเกี่ยวกับอัตราสวนที่เทากันไดสะดวกขึ้น แตเราไม
สามารถใชอัตราสวนไดเชนเดียวกับเศษสวนในทุกเรื่อง กลาวคืออาจนําจํานวนที่เปนบวกมาคูณหรือมาหาร
a และ b แลวไดอัตราสวนที่เทากับ
b
a เชน
b
a =
cb
ca
×
× =
cb
ca
÷
÷ แตไมสามารถนําอัตราสวนสอง
อัตราสวนมาบวก ลบ คูณและหาร หรือเปรียบเทียบกัน เชนเดียวกับในเรื่องของเศษสวน
ทั้งนี้เพราะอัตราสวนไมใชจํานวน
สําหรับเรื่องสัดสวนเสนอไวเพื่อใหเห็นประโยชนของอัตราสวนในการแกปญหาทางคณิตศาสตร
อีกวิธีหนึ่ง แทนการใชบัญญัติไตรยางคที่นักเรียนคุยเคยมากอน
นักเรียนเคยเรียนรอยละในรูปของเศษสวนมาแลว ในชั้นนี้จะนํารอยละมาเขียนในรูปอัตราสวนที่มี
จํานวนหลังเปน 100 โดยมุงฝกใหนักเรียนแกโจทยปญหาเกี่ยวกับรอยละในรูปสัดสวน
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. ใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน และรอยละในสถานการณตาง ๆ รวมทั้งแกปญหา
เกี่ยวกับความนาจะเปนได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
2
แนวทางในการจัดการเรียนรู
1.1 อัตราสวน (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถเขียนอัตราสวนแทนการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณที่กําหนดใหได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณในสถานการณตาง ๆ ตาม
หนังสือเรียน และอาจใหนักเรียนยกตัวอยางในชีวิตประจําวันเพิ่มเติมทั้งในหนวยเดียวกันและตางหนวยกัน
2. สําหรับการเขียนสัญลักษณแทนอัตราสวนของปริมาณ a ตอปริมาณ b ในรูป
b
a นั้น ครูควร
ชี้ใหนักเรียนเห็นวาในที่นี้เปนการอาศัยรูปของเศษสวน มาใชเพื่อความสะดวกในการคํานวณตอไป
3. ครูอาจใหนักเรียนตัดขอความที่เกี่ยวกับอัตราสวนในหนังสือพิมพ วารสารอื่น ๆ หรือตาม
ประกาศโฆษณาสินคา เพื่อนําขอความเหลานั้นมาติดบนปายนิเทศดวยการนําเสนอในรูปแบบตาง ๆ
4. สําหรับกิจกรรม “เรื่องของคนอยากรวย” นําเสนอไวเพื่อใหนักเรียนเห็นวาจํานวนสลากที่ถูก
รางวัลแตละรางวัลเทียบกับจํานวนสลากทั้งหมดในแตละชุด สามารถเขียนในรูปอัตราสวนได และเมื่อ
เปรียบเทียบจํานวนสลากที่ถูกรางวัลกับจํานวนสลากที่ไมถูกรางวัลในแตละชุด จะเห็นวาจํานวนสลากที่ไม
ถูกรางวัลมีจํานวนมากกวาจํานวนสลากที่ถูกรางวัลมากมายหลายเทา ซึ่งทําใหเกิดความรูสึกเกี่ยวกับความ
นาจะเปนที่จะถูกรางวัลโดยใชอัตราสวนเปนสื่อ การสอดแทรกเรื่องนี้เพื่อใหนักเรียนนําไปถายทอดใหผู
อื่นทราบวาไมควรมัวเมาในการซื้อสลากรางวัล เพราะอัตราสวนที่แสดงความนาจะเปนในการถูกรางวัลชี้
ใหเห็นถึงโอกาสในการถูกรางวัลที่มีนอยมาก
ครูควรใหนักเรียนรวมกันอภิปราย เพื่อชี้ใหเห็นวาการที่คนเราจะร่ํารวยไดนั้น ปกติแลวจะตอง
ทํามาหากินโดยสุจริต ดวยความขยันหมั่นเพียร อดออมและมีศีลธรรม
1.2 อัตราสวนที่เทากัน (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. หาอัตราสวนที่เทากับอัตราสวนที่กําหนดใหได
2. ตรวจสอบวาอัตราสวนที่กําหนดให เปนอัตราสวนที่เทากันหรือไม
3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูควรเนนใหนักเรียนเขาใจวาการเขียนแทนอัตราสวน a : b ในรูปเศษสวนคือ
b
a นั้นเปนการ
3
อาศัยรูปของเศษสวน ทั้งนี้เพื่อสะดวกในการคิดคํานวณในเรื่องอัตราสวน ควรอาน
b
a วา a ตอ b
อัตราสวน
b
a ที่จะไดพบตอไปจะไมมีอัตราสวนที่ a = 0 หรือ b = 0 หรือทั้ง a และ b เทากับ 0
2. นักเรียนเคยแกโจทยปญหาโดยวิธีการใชบัญญัติไตรยางคในระดับประถมศึกษามาแลว ในหัว
ขอนี้ นักเรียนจะไดแกโจทยปญหาโดยใชอัตราสวนที่เทากันดวยการใชหลักการคูณหรือหลักการหาร
ดังตัวอยางที่ 4 หนา 8 ในหนังสือเรียน
3. ครูควรสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบการเทากันของอัตราสวนโดยใชผลคูณไขว
เพื่อชี้ใหเห็นวาวิธีการตรวจสอบดังกลาว เปรียบไดกับการพิจารณาจํานวนแรกของแตละอัตราสวนที่กําหนด
เมื่อไดทําใหจํานวนหลังของอัตราสวนเทากันนั่นเอง
4. แบบฝกหัด 1.2 ขอ 6 มีไวเพื่อเชื่อมโยงความรูเรื่องอัตราสวนกับชีวิตจริงซึ่งเปนความ
สัมพันธของปริมาณตาง ๆ มากกวาสองปริมาณ สําหรับขอ 2) และขอ 3) ครูควรเนนใหนักเรียนใชความ
รูสึกเชิงจํานวนมาชวยในการหาคําตอบ ไมจําเปนตองหาคําตอบโดยใชอัตราสวนที่เทากันทีละคู
5. แบบฝกหัด 1.2 ขอ 8 มีไวเพื่อนําความรูเกี่ยวกับอัตราสวนไปแกปญหาเกี่ยวกับความนาจะเปน
ครูควรนําคําตอบของนักเรียนมารวมกันอภิปรายในชั้น และชี้นําใหนักเรียนเห็นวิธีคิดคําตอบที่เปนไปได
ดังแสดงไวเปนตัวอยางในคําตอบแบบฝกหัด
6. สําหรับกิจกรรม “นาคิด” เพื่อแสดงใหเห็นวาการที่พลอยนําราคาไข 2 ฟอง 5 บาทกับ 3 ฟอง
7 บาท มารวมกันเปนราคาไข 5 ฟอง 12 บาท จะไมไดเงินทั้งหมดเทากับแบบแยกกันขาย และถาตองการ
ขายใหไดเงินเทาเดิม จะตองขายไขในราคา 60 ฟอง 145 บาท หรือ 12 ฟอง ตอ 29 บาท ซึ่งไมเทากับ
5 ฟอง ตอ 12 บาท
1.3 อัตราสวนของจํานวนหลาย ๆ จํานวน (3 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. เขียนอัตราสวนของจํานวนหลาย ๆ จํานวน แทนการเปรียบเทียบปริมาณหลายปริมาณที่
กําหนดใหได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.3
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. เมื่อครูนําสนทนาเกี่ยวกับเรื่องสวนผสมของสังขยา ครูอาจแนะนําวาการเปรียบเทียบปริมาณ
ในที่นี้ตองเขียนหนวยกํากับไวดวย แทนที่จะเขียนอัตราสวนของจํานวนไขเปดเปนฟอง ตอปริมาณน้ําตาล
4
มะพราวเปนถวยตวง ตอปริมาณน้ํากะทิเปนถวยตวง เปน 3: 4
3 : 13 เราอาจเขียนวา “อัตราสวนของ
จํานวนไขเปด ตอปริมาณน้ําตาลมะพราว ตอปริมาณน้ํากะทิ เปน 3 ฟอง : 4
3 ถวยตวง : 1 ถวยตวง”
ครูควรเนนใหนักเรียนระมัดระวังตําแหนงของปริมาณในอัตราสวนวาตองเปนลําดับเดียวกับ
ลําดับของสิ่งที่เปรียบเทียบ เชน อัตราสวนขางตน ตองเปนดังแผนภาพตอไปนี้
อัตราสวนของจํานวนไขเปดเปนฟองตอปริมาณน้ําตาลมะพราวเปนถวยตอปริมาณน้ํากะทิเปนถวย เปน 3: 4
3 : 1
2. แบบฝกหัด 1.3 ขอ 8 ในหนังสือเรียน อาจนํามาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน เพื่อใหนักเรียน
ไดรวมกันแสดงความคิดเห็นที่ครูควรชี้นําใหเห็นถึงการพิจารณาเงื่อนไขของคําตอบ ซึ่งตองพิจารณาโอกาสที่
แพนอยที่สุดโดยไมพิจารณาเงื่อนไขอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากสิ่งที่กําหนดใหและคําถามในโจทย
หลังจากทําแบบฝกหัดแลว ครูอาจสนทนาใหความรูเพิ่มเติมอยางไมเปนทางการเกี่ยวกับ
ความนาจะเปน และการเขียนแสดงความนาจะเปนในรูปอัตราสวน โดยยกตัวอยางจากในชีวิตจริงที่นักเรียน
คุนเคยประกอบดวย
3. กิจกรรม “ชวยคิดหนอย” เสนอไวเพื่อใหนักเรียนเห็นประโยชนที่สามารถนําความรูเรื่องอัตรา
สวนของจํานวนหลาย ๆ จํานวนไปใชแกปญหาที่ซับซอนบางปญหาได
4. ถามีเวลาพอครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 1.3 ใหนักเรียนทําเพิ่มเติม ซึ่งครูอาจแนะนําใหนัก
เรียนนําสูตรขนมชั้นที่เสนอไว มาลองทําใหคนรอบขางไดรับประทานก็ได
1.4 สัดสวน (5 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. หาจํานวนที่แทนดวยตัวแปรในสัดสวนที่กําหนดให
2. แกโจทยปญหาสัดสวนได
3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูควรย้ําใหนักเรียนระวังวิธีอานสัดสวนโดยใหอานในรูปอัตราสวน ไมอานในรูปเศษสวน
ครูควรเนนวาสัดสวนประกอบดวยจํานวน 4 จํานวน ในกรณีที่เขียนสัดสวนในรูป a : b = c : d อาจเรียก
จํานวน a, b, c และ d วาจํานวนที่หนึ่ง จํานวนที่สอง จํานวนที่สามและจํานวนที่สี่ของสัดสวนตาม
ลําดับ
5
ครูควรเนนวา ในการเขียนสัดสวนจากโจทยปญหาที่กําหนดใหนั้น ลําดับของจํานวนในแตละ
อัตราสวนมีความสําคัญ จากตัวอยางปาทิพยชงกาแฟ ลําดับของจํานวนจะตองอยูในรูปปริมาณกาแฟบด
เปนชอนโตะ ตอ ปริมาณน้ําเปนถวย
2. ในการหาคาของตัวแปรในสัดสวนโดยใชหลักการผลคูณไขวเทากันนั้น ไดเขียนขั้นตอนแสดง
ผลคูณไขวที่เทากันไว เพื่อเปนการเขียนความสัมพันธของจํานวนในสัดสวนใหอยูในรูปของสมการ แลว
จึงหาคาของตัวแปร ในการเขียนแสดงวิธีทําถานักเรียนไมไดเขียนแสดงขั้นตอนนี้ ครูไมควรถือวาผิด
3. กรอบความรูเรื่อง “สัดสวนในชีวิตจริง” เสนอไวเพื่อใหเห็นการใชคําวาสัดสวนในชีวิตจริงที่
แตกตางไปจากสัดสวนในทางคณิตศาสตร ครูอาจใหนักเรียนยกตัวอยางเพิ่มเติม เชนการกลาววา นาง
แบบคนนี้มีรูปรางไดสัดสวน
4. กิจกรรม “อัตราสวนเดียวกันหรือไม” เปนกิจกรรมเพื่อแสดงใหเห็นวาอัตราสวนของพื้นที่และ
อัตราสวนของความยาวของรูปยอและรูปขยายของรูปที่กําหนดให ไมเปนอัตราสวนเดียวกัน
5. สําหรับกิจกรรม “รูไวใชวา” เจตนาเพื่อเปนการเชื่อมโยงความรูเรื่องสัดสวนกับสมุนไพรและ
ใหนักเรียนมีเจตคติที่ดีตอสมุนไพร ครูอาจใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ
1.5 รอยละ (6 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. เขียนอัตราสวนใหอยูในรูปรอยละได
2. เขียนรอยละใหอยูในรูปอัตราสวนได
3. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับรอยละได
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.5
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในระดับประถมศึกษา นักเรียนไดเรียนความหมายของรอยละหรือเปอรเซ็นต ในรูปเศษสวน
ที่มีตัวสวนเปน 100 เชน 42% หมายถึง 100
42 หรือเขียนในรูปทศนิยมไดเปน 0.42 สําหรับในบทนี้เราจะ
เรียนเปอรเซ็นตในรูปอัตราสวนที่มีจํานวนหลังเปน 100
2. ครูควรฝกใหนักเรียนเขียนอัตราสวนใหอยูในรูปรอยละ และเขียนรอยละใหอยูในรูปอัตราสวน
ไดอยางคลองแคลว เพื่อจะนําไปใชในการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับรอยละโดยใชสัดสวน
3. กิจกรรม “ยังทําไดหรือไม” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนไดทบทวนการทําโจทยเกี่ยวกับรอยละ
ตามความรูเดิม ที่อาจทําโดยเทียบบัญญัติไตรยางคหรือเขียนรอยละใหเปนรูปเศษสวนก็ได
6
4. สําหรับตัวอยางที่ 6 ครูควรชี้ใหนักเรียนสังเกตวาในการคิดดอกเบี้ยแตละเดือน จะคํานวณหา
ดอกเบี้ยสําหรับเงินตน 1 บาทตอ 1 เดือนมากอน เพื่อความสะดวกในการนําไปใชคิดหาดอกเบี้ยในแตละ
เดือนที่เงินตนลดลงเดือนละ 1,000 บาท ครูอาจชี้แนะใหนักเรียนสังเกตแบบรูปของดอกเบี้ยที่ลดลง
เดือนละ 5 บาท ซึ่งอาจเปนวิธีหนึ่งที่ชวยใหหาคําตอบโดยวิธีลัดได
5. สําหรับแบบฝกหัด 1.5 ข ขอ14 ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวายอดเงินผอนชําระรายเดือน คํานวณ
จากคาสินคาที่เหลือจากหักเงินดาวนแลว โดยไมไดคิดดอกเบี้ยจากยอดเงินคงคางจายในแตละเดือน จึงทํา
ใหดอกเบี้ยที่จายจริงสูงกวา 4% ที่ตั้งไว ซึ่งการคิดดอกเบี้ยเงินผอนแตกตางจากการคิดดอกเบี้ยผอนชําระ
เงินกูของธนาคาร
ครูควรใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ควรซื้อสินคาเงินผอนหรือไม อยางไร ทั้งนี้ครูอาจชี้แนะ
วาหากไมจําเปนก็ไมควรซื้อสินคาเงินผอนโดยเฉพาะสินคาฟุมเฟอย
6. กิจกรรม “ความคิดเห็นของฉัน” เปนกิจกรรมที่ตองการใหเห็นการนําความรูเกี่ยวกับรอยละ
ไปใชในชีวิตจริง ฝกใหนักเรียนมีความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับรอยละ สวนใหญของคําถามไมไดมุงใหนัก
เรียนตองคิดคํานวณจริง แตใหใชความรูสึกเชิงจํานวนประกอบเหตุผลที่สมเหตุสมผลชวยใน
การตัดสินใจและใหคําตอบ การใหเหตุผลของนักเรียนอาจแตกตางกัน ครูควรพิจารณาเหตุผลและยืดหยุน
คําตอบตามความเหมาะสม
สําหรับในบางขอ เชน ขอ 10 ขอ 11 และขอ 12 ครูอาจใหนักเรียนคํานวณจริงเพื่อชวยในการ
ตัดสินใจ สําหรับขอ 12 ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวา การคิดภาษีมูลคาเพิ่มจะคิดกอนลดราคา หรือคิดหลัง
ลดราคา จะไดผลขั้นสุดทายเทากัน
7. การคิดภาษีเงินไดในชั้นนี้ เนนการนํารอยละมาคํานวณภาษีเงินไดจากเงินไดสุทธิที่กําหนดให
โดยดูจากตารางสําหรับคํานวณภาษีเปนหลัก ครูอาจนําแบบยื่นเสียภาษีเงินได ภ.ง.ด. 91 พรอมคําชี้แจงมา
แสดงใหนักเรียนเห็นรายละเอียดตาง ๆ มากกวาที่อธิบายไวอยางยอในหนังสือเรียน โดยไมตองคํานวณราย
ละเอียดตามแบบ ภ.ง.ด. 91 ในทุกขั้นตอน
8. กรอบความรู “อัตราสวนทอง” เจตนาเพื่อใหความรูเรื่องอัตราสวนทองแกนักเรียนและใหเห็น
ถึงความงดงามของคณิตศาสตรที่แฝงอยูในธรรมชาติ ตลอดจนผลงานสรางสรรคตาง ๆ ซึ่งนอกจากที่ระบุ
ไวในหนังสือเรียนแลว ยังมีปรากฏในบัตรประชาชน บัตรเงินดวน (A.T.M.) ซองจดหมายและกรอบรูป
เปนตน ครูอาจมีกิจกรรมใหนักเรียนสํารวจตรวจสอบ หาอัตราสวนทองตามที่ปรากฏอยูรอบตัวนักเรียน
ก็ได
9. กิจกรรม “อยางไรจึงเรียกวาอวน” เปนกิจกรรมที่แสดงใหเห็นถึงประโยชนของการใชอัตรา
สวนในชีวิตจริง ครูอาจชี้แนะใหนักเรียนนําความรูที่ไดไปใชตรวจสอบและใหคําแนะนําแกสมาชิกใน
ครอบครัวของตนเองก็ได
7
10. ครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 1.5 เพื่อใหนักเรียนไดนําความรูเกี่ยวกับรอยละหรือเปอรเซ็นตไป
ใชในชีวิตจริง หลังจากนักเรียนทํากิจกรรมนี้แลว ครูอาจใหนักเรียนนําผลที่ไดมาอภิปรายรวมกัน เพื่อให
ไดขอคิดในการตัดสินใจซื้อสินคาบางชนิดที่กําหนดให
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบแบบฝกหัด 1.1
1.
1) อัตราสวนของจํานวนครูตอจํานวนนักเรียน เปน 2 : 55
2) อัตราสวนของจํานวนคอมพิวเตอรเปนเครื่องตอจํานวนนักเรียนเปนคน เปน 1 : 3
3) อัตราสวนจํานวนกรรไกรเปนอันตอจํานวนนักเรียนเปนคน เปน 3 : 10
4) อัตราสวนของน้ําหนักทองเปนบาทตอราคาเปนบาท เปน 1 : 7,150
5) อัตราสวนของระยะทางเปนกิโลเมตรตอเวลาเปนชั่วโมง เปน 180 : 3
6) อัตราสวนของจํานวนครั้งของการเตนของหัวใจตอเวลาเปนนาที เปน 72 : 1
7) มาตราสวนที่ใชเขียนแผนที่ เปน 1 เซนติเมตร : 50 กิโลเมตร หรือ 1 : 5,000,000
8) มาตราสวนที่ใชเขียนแผนผัง เปน 1 เซนติเมตร : 0.2 มิลลิเมตร
2. 1,000 : 9,000
3.
1) 9 : 16
2) 9 : 25
4. ไทยชนะ และอัตราสวนของจํานวนเซตที่ชนะตอจํานวนเซตที่แพ เปน 2 : 1
5. รสบวย เพราะ ในขวดโหลมีจํานวนลูกอมรสบวยถึง 4 สวนในจํานวนลูกอมทั้งหมด 7 สวน
ในขณะที่มีลูกอมรสมะนาวเพียง 3 สวนในจํานวนลูกอมทั้งหมด 7 สวน
คําตอบกิจกรรม “เรื่องของคนอยากรวย”
1. เพราะ ในจํานวนสลากทั้งหมด 1,000,000 ฉบับ มีจํานวนสลากที่ถูกรางวัลเลขทาย 2 ตัว
มากกวาจํานวนสลากที่ถูกรางวัลเลขทาย 3 ตัว
2. เพราะ ในจํานวนสลากทั้งหมด มีจํานวนสลากที่ไมถูกรางวัลมากกวาจํานวนสลากที่ถูกรางวัล
มากมายหลายเทา
8
คําตอบกิจกรรม “ลองหาดู”
3 : 2
แนวคิด
เนื่องจาก AD = BC
จะเห็นวามีการแบง AD เปน 3 สวนที่ยาวเทา ๆ กัน
และมีการแบง BC เปน 2 สวนที่ยาวเทา ๆ กัน
แสดงวา 3 เทาของความกวางของรูปสี่เหลี่ยมผืนผารูปเล็ก เทากับ
2 เทาของความยาวของรูปสี่เหลี่ยมผืนผารูปเล็ก
คําตอบแบบฝกหัด 1.2
1.
1) 350 : 4, 175 : 2 และ 1,400 : 16
2) 2 : 40, 3 : 60 และ 4 : 80
3) 0.1 : 3.969, 10 : 396.9 และ 100 : 3,969
2.
1)
8
6 ,
12
9 ,
16
12 2)
10
4 ,
15
6 ,
20
8
3)
22
16 ,
33
24 ,
44
32 4)
36
18 ,
24
12 ,
18
9
5)
8
12 ,
4
6 ,
2
3 6)
84
96 ,
42
48 ,
28
32
3.
1)
6
3 ,
8
4
2)
3
2 ,
9
6
3) 4 : 15
4.
1) เทากัน 2) ไมเทากัน
3) เทากัน 4) ไมเทากัน
5) ไมเทากัน 6) เทากัน
9
7) เทากัน 8) ไมเทากัน
9) เทากัน 10) ไมเทากัน
5. ไมเทากัน เพราะ อัตราสวนของจํานวนเปนแผนตอราคาเปนบาท ของทั้งสองรานไมเทากัน
(ราคาตอหนวยไมเทากัน)
6.
1)
(1) 4 : 8 (2) 8 : 10
(3) 4 :
4
1 (4)
4
1 : 10
2) น้ํามะนาว 2 ชอนโตะ
น้ําตาล 4 ชอนโตะ
เกลือปน
8
1 ชอนโตะ
น้ําสุก 5 ชอนโตะ
3) น้ํามะนาว 8 ชอนโตะ
น้ําตาล 16 ชอนโตะ
เกลือปน
2
1 ชอนโตะ
น้ําสุก 20 ชอนโตะ
7. ประมาณ 3,250 กิโลเมตร
8. โรงเรียนนิมิตศึกษา พิจารณาจากเหตุผลไดหลายแบบ
ตัวอยางการใหเหตุผล
ทําอัตราสวนของจํานวนนักเรียนที่รับไดตอจํานวนที่มาสมัครของโรงเรียนทั้งสอง ใหมี
จํานวนหลังของอัตราสวนเทากันดังนี้
อัตราสวนจํานวนนักเรียนที่รับไดตอจํานวนนักเรียนที่มาสมัครของโรงเรียนนิมิตศึกษาเปน
320
120 = 8
3 = 298
293
×
× = 232
87
อัตราสวนจํานวนนักเรียนที่รับไดตอจํานวนนักเรียนที่มาสมัครของโรงเรียนกาวหนาวิทยา
เปน
145
45 = 29
9 = 829
89
×
× = 232
72
10
ดังนั้นโรงเรียนนิมิตศึกษารับนักเรียนไดมากกวาโรงเรียนกาวหนาวิทยา เมื่อเทียบกับ
นักเรียนที่มาสมัคร 232 คน เทากัน
นั่นคือ ถานักเรียนเลือกมาสมัครที่โรงเรียนนิมิตศึกษา นักเรียนจะมีโอกาสเขาเรียนได
มากกวา
คําตอบกิจกรรม “นาคิด”
1) ไมเทากัน เพราะ แบบแยกกันขายไดเงิน 145 บาท และแบบรวมกันขายไดเงิน 144 บาท
2) พลอยควรขายไข 60 ฟอง ตอ 145 บาท หรือ 12 ฟอง ตอ 29 บาท
คําตอบแบบฝกหัด 1.3
1.
1) 3 : 4 2) 5 : 4
3) 3 : 5 4) 4 : 3 : 5
5) 3 : 12
2.
1) 4 : 2 : 3 2) 2 : 3 : 1
3) 4 : 2 : 3 : 1 4) 2 : 10
3.
1)
(1) 8 : 6 : 7
(2) 8 : 7
(3) 7 : 8 : 6
2) นารีอายุ 24 ป บุปผาอายุ 21 ป
4.
1) จะตองใชพิมเสน 50 กรัม และการบูร 50 กรัม
2) เมนทอล 1,000 กรัม
พิมเสน 250 กรัม
การบูร 250 กรัม
5. 40o
11
6.
1)
(1) 8 : 24
(2) 8 : 56
(3) 8 : 24
2) มีฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม อยางละ 9 กิโลกรัม
3) มีสวนผสมทั้งหมด 21 กิโลกรัม
7. ไดขนมสีเหลืองมากที่สุด ขนมสีมวงนอยที่สุด เพราะขนมบัวลอยสีเหลืองมีจํานวนมากที่สุดถึง
5 สวน ในขนมทั้งหมด 10 สวน ในขณะที่ขนมบัวลอยสีมวงมีจํานวนนอยที่สุดเพียง 2 สวน
ในขนมทั้งหมด 10 สวน
8. ควรเลือกทีม B ไปแขง เพราะ ตามสถิติทีม B แพ 4 ครั้ง ในการแขงขันทั้งหมด 9 ครั้ง
ในขณะที่ทีม A แพ 5 ครั้ง ในการแขงขันทั้งหมด 10 ครั้ง
คําตอบกิจกรรม “ชวยคิดหนอย”
เนื่องจาก อัตราสวนของสวนแบงของลูกชายตอสวนแบงของภรรยา เปน 2 : 1 หรือ 4 : 2
อัตราสวนของสวนแบงของภรรยาตอสวนแบงของลูกสาว เปน 2 : 1
ดังนั้น อัตราสวนของสวนแบงของลูกชายตอสวนแบงของภรรยาตอสวนแบงของลูกสาวเปน
4 : 2 : 1
นั่นคือ สมบัติทั้งหมดควรแบงเปน 7 สวน โดยใหลูกชาย 4 สวน ภรรยา 2 สวน และ
ลูกสาว 1 สวน
คําตอบแบบฝกหัด 1.4
1.
1) 16 2) 6
3) 9.6 4) 30
5) 84 6) 6
7) 7 8)
5
16
9) 6.4 10) 3
11) 5 12)
9
1
12
2. 30o
และ 45o
3. 33 เซนติเมตร
4. 553 ชิ้นไดรับของแถม 158 ชิ้น
5. 900 กิโลเมตร
6. 695 กิโลเมตร
7. 117,000 กิโลเมตร
8. 6 ชั่วโมง 30 นาที
9. มีไนโตรเจนหนัก 100 กิโลกรัม ฟอสฟอรัสหนัก 200 กิโลกรัม โพแทสเซียมหนัก 100 กิโลกรัม
สวนผสมอื่น ๆ หนัก 600 กิโลกรัม
10. ไขมันประมาณ 38 กรัม โปรตีนประมาณ 21 กรัม
11. 300 คน
12. 82 เมตร 403.44 ตารางเมตร
คําตอบกิจกรรม “อัตราสวนเดียวกันหรือไม”
1.
1) 3 เซนติเมตร
2) 8 เซนติเมตร
3) 4 : 1
4) ไมเปน
5) 2 ตารางเซนติเมตร
2.
1) r2 ยาว 6 เซนติเมตร
2) 1 : 9
3) ไมเปน
4) 45π ตารางเซนติเมตร
คําตอบกิจกรรม “รูไวใชวา”
เนื้อมะขามปอม 20 กรัม คารโบไฮเดรต 8.22 กรัม และโปรตีน 0.1 กรัม
13
คําตอบกิจกรรม “ยังทําไดหรือไม”
1. 80 คน
2. 12 กิโลกรัม
3. 75%
4. รอยละ 90
5. 12,000 บาท
6. 1,120 ขวด
คําตอบแบบฝกหัด 1.5 ก
1.
1) รอยละ 62.5
2) 175%
3) 6.3%
4) รอยละ 187.5
5) 45%
6) รอยละ 120
2.
1) 18 : 100
2) 95 : 100
3) 250 : 100
4)
3
133 : 100
5) 0.14 : 100 หรือ 14 : 10,000
3.
1) 0.048
2) 0.082
3) 0.20
4) 4%
5) 2.8%
6) 30%
7) 2
14
8) 50
9) 20
10) 6
คําตอบแบบฝกหัด 1.5 ข
1. 8,000 บาท
2. ประมาณ 14.4 กิโลกรัม
3. 400 คน
4. ประมาณ 712 หมูบาน
5. วีระชัยควรซื้อโทรทัศนจากรานยิ่งเจริญ
6. กําไรรอยละ 43.38
7. 370,000 บาท
8. 36 ขอ
9. 72%
10. 24 คะแนน
11. ประมาณ 10 ชั่วโมง 24 นาที
12. ประมาณ 120.01 บาท
13. ประมาณ 8,153.98 บาท
14. 1,620 บาท
คําตอบกิจกรรม “ความคิดเห็นของฉัน”
ตัวอยางคําตอบ
1. เปนไปได ถาคะแนนที่กลาวหมายถึงคะแนนที่คิดเปนรอยละ หรือเมื่อคะแนนเต็มของ
ทั้งสองวิชา เทากัน
2. เปนไปได ถาคะแนนเต็มของวิชาภาษาไทยเปน 70 คะแนน และคะแนนเต็มของวิชา
คณิตศาสตรเปน 80 คะแนน
3. เปนไปไมได เพราะ กําไร 12% คิดจากราคาทุน ในขณะที่ขาดทุน 12% คิดจากราคาขาย
ซึ่งในที่นี้ราคาทุนไมเทากับราคาขาย
4. เปนไปได ถาทั้งสองคนมีเงินเดือนเทากัน
15
5. เปนไปไมได เพราะ 5% ของการขึ้นเงินเดือนครั้งแรก ไมเทากับ 5% ของการขึ้นเงินเดือน
ครั้งที่สอง
6. เปนไปไมได เพราะ กําไร 20% คิดจากราคาทุน ในขณะที่ลดราคา 20% คิดจากราคาขาย
ซึ่งในที่นี้ราคาทุนไมเทากับราคาขาย
7. เปนไปไมได เพราะ กําไร 30% คิดจากราคาทุน ในขณะที่ลดราคา 20% คิดจากราคาขาย
ดังนั้น เงินกําไร 30% ลบดวยเงินลดราคา 20% จึงไมใชกําไร 10%
8. เปนไปได ถานารีรับเสื้อมาเย็บมากกวาที่รัตนารับมาเปนจํานวนมากพอ
9. เปนไปได เมื่อกําไรรวม 20% คิดจากตนทุนรวม และกําไร 20% ของแตละคนคิดจาก
ตนทุนของแตละคน
10. เปนไปไมได เพราะ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเดิมมีพื้นที่ 400 ตารางเซนติเมตร เมื่อเพิ่มความยาว
ของดาน ดานละ 10% รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสใหมมีพื้นที่ 484 ตารางเซนติเมตร ดังนั้นมีพื้นที่
เพิ่มขึ้น 84 ตารางเซนติเมตร ซึ่งไมเทากับ 20% ของ 400 ตารางเซนติเมตร
11. เปนไปไมได ดวยเหตุผลทํานองเดียวกับขอ 10 ขางตน
12. เปนไปไมได เพราะ ทั้งราน ก และราน ข ขายสินคาในราคาเดียวกันตามแนวคิดดังนี้
ราคาของสินคาราน ก เปน 





×× 200100
107
100
90
ในขณะที่ราคาของสินคาราน ข เปน 





×× 200100
90
100
107
คําตอบแบบฝกหัด 1.5 ค
1. 406 บาท
2. 5,425 บาท
3. รับเงินที่ชําระภาษีไวเกินคืน 2,772 บาท
4. จะตองชําระภาษีเพิ่มอีก 237 บาท
5. กฤษดาไมตองชําระภาษีเพิ่มเติม และไมไดรับคืนเงินภาษีที่ชําระไวเกิน
16
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ
17
กิจกรรมเสนอแนะ 1.3
กิจกรรมนี้เสนอไวเพื่อใหนักเรียนฝกการเขียนอัตราสวน และสามารถนําความรูเรื่องอัตราสวน
ไปใชในชีวิตจริงได
ขนมชั้น ถือวาเปนขนมสิริมงคลอีกชนิดหนึ่งของไทย คําวา “ชั้น” เชื่อกันวา หมายถึง การเลื่อน
ชั้น เลื่อนตําแหนง และนิยมทําเปนชั้น ๆ 9 ชั้น
สวนผสมของขนมชั้นมีดังนี้
แปงทาวยายมอม 1 ถวยตวง
แปงขาวเจา
2
1 ถวยตวง
แปงมัน 1 ถวยตวง
น้ําลอยดอกมะลิ 1 ถวยตวง
น้ําตาลทราย 2 ถวยตวง
น้ํากะทิ 3 ถวยตวง
สีใสขนม หรือสีธรรมชาติ เชน น้ําใบเตย
มีขั้นตอนการทํางาย ๆ โดยใชสวนผสมที่เปนแปงนวดกับกะทิใหเขากัน ใสน้ําเชื่อมผสมสีให
แตกตางกัน แลวตักสวนผสมหยอดทีละชั้น นึ่งชั้นละประมาณ 7 – 8 นาที ก็จะไดขนมออกมามีสีสวยงาม
นารับประทาน
ใหนักเรียนใชสูตรการทําขนมชั้นขางตน ตอบคําถามตอไปนี้
1. เขียนอัตราสวนของสวนผสมตาง ๆ โดยปริมาตรตอไปนี้
1) อัตราสวนของแปงทาวยายมอม ตอแปงขาวเจา ตอแปงมัน [1 :
2
1 : 1]
2) อัตราสวนของน้ําลอยดอกมะลิ ตอน้ําตาลทราย ตอน้ํากะทิ [1 : 2 : 3]
3) อัตราสวนของแปงทั้งสามชนิด ตอน้ําตาลทราย ตอน้ํากะทิ [
2
12 : 2 : 3]
4) อัตราสวนของแปงทาวยายมอม ตอแปงขาวเจา ตอแปงมัน ตอน้ําลอยดอกมะลิ
ตอน้ําตาลทราย ตอน้ํากะทิ [1 :
2
1 : 1 : 1 : 2 : 3]
2. ถาใชแปงทาวยายมอม
3
11 ถวยตวง ตองใชสวนผสมอื่น ๆ อยางละเทาไร
[แปงขาวเจา
3
2 ถวย แปงมัน
3
11 ถวย น้ําลอยดอกมะลิ
3
11 ถวย น้ําตาลทราย
3
22 ถวย
น้ํากะทิ 4 ถวย]
18
กิจกรรมเสนอแนะ 1.5
กิจกรรมนี้มีไวเพื่อฝกทักษะและนําความรูในเรื่องรอยละไปใชในชีวิตประจําวัน
ใหนักเรียนสํารวจราคาสินคาของรานคาตาง ๆ จากใบโฆษณาสินคาหรือหนังสือพิมพ แลวนํา
ขอมูลมาเขียนลงในตารางดังนี้
ชื่อรานคา รายการสินคา ราคาปกติ ราคาลด เปอรเซ็นตที่ลดราคา
1. 1.
2.
3.
4
2. 1.
2.
3.
4

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดKroo R WaraSri
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำAunop Nop
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4Chutima Muangmueng
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
บทเรียน Cai
บทเรียน Caiบทเรียน Cai
บทเรียน Caiunit24
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้bn k
 

Was ist angesagt? (13)

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
บทเรียน Cai
บทเรียน Caiบทเรียน Cai
บทเรียน Cai
 
k kuep 2
k kuep 2k kuep 2
k kuep 2
 
k kuop 1
k kuop 1k kuop 1
k kuop 1
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
 

Ähnlich wie Basic m2-1-chapter1 (6)

Add m2-1-chapter3
Add m2-1-chapter3Add m2-1-chapter3
Add m2-1-chapter3
 
อัตราส่วน
อัตราส่วนอัตราส่วน
อัตราส่วน
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละบทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 

Mehr von กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Mehr von กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

Basic m2-1-chapter1

  • 1. บทที่ 1 อัตราสวน และรอยละ (18 ชั่วโมง) 1.1 อัตราสวน (2 ชั่วโมง) 1.2 อัตราสวนที่เทากัน (2 ชั่วโมง) 1.3 อัตราสวนของจํานวนหลาย ๆ จํานวน (3 ชั่วโมง) 1.4 สัดสวน (5 ชั่วโมง) 1.5 รอยละ (6 ชั่วโมง) อัตราสวนเปนเรื่องที่นักเรียนเริ่มเรียนเปนครั้งแรก ในบทนี้จะกลาวถึงอัตราสวนของจํานวนสอง จํานวนและอัตราสวนของจํานวนหลาย ๆ จํานวน ซึ่งแตละจํานวนในอัตราสวนเปนจํานวนบวก เราอาจ เขียนอัตราสวน a : b ในรูป b a เพื่อชวยในการคํานวณเกี่ยวกับอัตราสวนที่เทากันไดสะดวกขึ้น แตเราไม สามารถใชอัตราสวนไดเชนเดียวกับเศษสวนในทุกเรื่อง กลาวคืออาจนําจํานวนที่เปนบวกมาคูณหรือมาหาร a และ b แลวไดอัตราสวนที่เทากับ b a เชน b a = cb ca × × = cb ca ÷ ÷ แตไมสามารถนําอัตราสวนสอง อัตราสวนมาบวก ลบ คูณและหาร หรือเปรียบเทียบกัน เชนเดียวกับในเรื่องของเศษสวน ทั้งนี้เพราะอัตราสวนไมใชจํานวน สําหรับเรื่องสัดสวนเสนอไวเพื่อใหเห็นประโยชนของอัตราสวนในการแกปญหาทางคณิตศาสตร อีกวิธีหนึ่ง แทนการใชบัญญัติไตรยางคที่นักเรียนคุยเคยมากอน นักเรียนเคยเรียนรอยละในรูปของเศษสวนมาแลว ในชั้นนี้จะนํารอยละมาเขียนในรูปอัตราสวนที่มี จํานวนหลังเปน 100 โดยมุงฝกใหนักเรียนแกโจทยปญหาเกี่ยวกับรอยละในรูปสัดสวน ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. ใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน และรอยละในสถานการณตาง ๆ รวมทั้งแกปญหา เกี่ยวกับความนาจะเปนได 2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
  • 2. 2 แนวทางในการจัดการเรียนรู 1.1 อัตราสวน (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถเขียนอัตราสวนแทนการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณที่กําหนดใหได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณในสถานการณตาง ๆ ตาม หนังสือเรียน และอาจใหนักเรียนยกตัวอยางในชีวิตประจําวันเพิ่มเติมทั้งในหนวยเดียวกันและตางหนวยกัน 2. สําหรับการเขียนสัญลักษณแทนอัตราสวนของปริมาณ a ตอปริมาณ b ในรูป b a นั้น ครูควร ชี้ใหนักเรียนเห็นวาในที่นี้เปนการอาศัยรูปของเศษสวน มาใชเพื่อความสะดวกในการคํานวณตอไป 3. ครูอาจใหนักเรียนตัดขอความที่เกี่ยวกับอัตราสวนในหนังสือพิมพ วารสารอื่น ๆ หรือตาม ประกาศโฆษณาสินคา เพื่อนําขอความเหลานั้นมาติดบนปายนิเทศดวยการนําเสนอในรูปแบบตาง ๆ 4. สําหรับกิจกรรม “เรื่องของคนอยากรวย” นําเสนอไวเพื่อใหนักเรียนเห็นวาจํานวนสลากที่ถูก รางวัลแตละรางวัลเทียบกับจํานวนสลากทั้งหมดในแตละชุด สามารถเขียนในรูปอัตราสวนได และเมื่อ เปรียบเทียบจํานวนสลากที่ถูกรางวัลกับจํานวนสลากที่ไมถูกรางวัลในแตละชุด จะเห็นวาจํานวนสลากที่ไม ถูกรางวัลมีจํานวนมากกวาจํานวนสลากที่ถูกรางวัลมากมายหลายเทา ซึ่งทําใหเกิดความรูสึกเกี่ยวกับความ นาจะเปนที่จะถูกรางวัลโดยใชอัตราสวนเปนสื่อ การสอดแทรกเรื่องนี้เพื่อใหนักเรียนนําไปถายทอดใหผู อื่นทราบวาไมควรมัวเมาในการซื้อสลากรางวัล เพราะอัตราสวนที่แสดงความนาจะเปนในการถูกรางวัลชี้ ใหเห็นถึงโอกาสในการถูกรางวัลที่มีนอยมาก ครูควรใหนักเรียนรวมกันอภิปราย เพื่อชี้ใหเห็นวาการที่คนเราจะร่ํารวยไดนั้น ปกติแลวจะตอง ทํามาหากินโดยสุจริต ดวยความขยันหมั่นเพียร อดออมและมีศีลธรรม 1.2 อัตราสวนที่เทากัน (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. หาอัตราสวนที่เทากับอัตราสวนที่กําหนดใหได 2. ตรวจสอบวาอัตราสวนที่กําหนดให เปนอัตราสวนที่เทากันหรือไม 3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรเนนใหนักเรียนเขาใจวาการเขียนแทนอัตราสวน a : b ในรูปเศษสวนคือ b a นั้นเปนการ
  • 3. 3 อาศัยรูปของเศษสวน ทั้งนี้เพื่อสะดวกในการคิดคํานวณในเรื่องอัตราสวน ควรอาน b a วา a ตอ b อัตราสวน b a ที่จะไดพบตอไปจะไมมีอัตราสวนที่ a = 0 หรือ b = 0 หรือทั้ง a และ b เทากับ 0 2. นักเรียนเคยแกโจทยปญหาโดยวิธีการใชบัญญัติไตรยางคในระดับประถมศึกษามาแลว ในหัว ขอนี้ นักเรียนจะไดแกโจทยปญหาโดยใชอัตราสวนที่เทากันดวยการใชหลักการคูณหรือหลักการหาร ดังตัวอยางที่ 4 หนา 8 ในหนังสือเรียน 3. ครูควรสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบการเทากันของอัตราสวนโดยใชผลคูณไขว เพื่อชี้ใหเห็นวาวิธีการตรวจสอบดังกลาว เปรียบไดกับการพิจารณาจํานวนแรกของแตละอัตราสวนที่กําหนด เมื่อไดทําใหจํานวนหลังของอัตราสวนเทากันนั่นเอง 4. แบบฝกหัด 1.2 ขอ 6 มีไวเพื่อเชื่อมโยงความรูเรื่องอัตราสวนกับชีวิตจริงซึ่งเปนความ สัมพันธของปริมาณตาง ๆ มากกวาสองปริมาณ สําหรับขอ 2) และขอ 3) ครูควรเนนใหนักเรียนใชความ รูสึกเชิงจํานวนมาชวยในการหาคําตอบ ไมจําเปนตองหาคําตอบโดยใชอัตราสวนที่เทากันทีละคู 5. แบบฝกหัด 1.2 ขอ 8 มีไวเพื่อนําความรูเกี่ยวกับอัตราสวนไปแกปญหาเกี่ยวกับความนาจะเปน ครูควรนําคําตอบของนักเรียนมารวมกันอภิปรายในชั้น และชี้นําใหนักเรียนเห็นวิธีคิดคําตอบที่เปนไปได ดังแสดงไวเปนตัวอยางในคําตอบแบบฝกหัด 6. สําหรับกิจกรรม “นาคิด” เพื่อแสดงใหเห็นวาการที่พลอยนําราคาไข 2 ฟอง 5 บาทกับ 3 ฟอง 7 บาท มารวมกันเปนราคาไข 5 ฟอง 12 บาท จะไมไดเงินทั้งหมดเทากับแบบแยกกันขาย และถาตองการ ขายใหไดเงินเทาเดิม จะตองขายไขในราคา 60 ฟอง 145 บาท หรือ 12 ฟอง ตอ 29 บาท ซึ่งไมเทากับ 5 ฟอง ตอ 12 บาท 1.3 อัตราสวนของจํานวนหลาย ๆ จํานวน (3 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. เขียนอัตราสวนของจํานวนหลาย ๆ จํานวน แทนการเปรียบเทียบปริมาณหลายปริมาณที่ กําหนดใหได 2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.3 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. เมื่อครูนําสนทนาเกี่ยวกับเรื่องสวนผสมของสังขยา ครูอาจแนะนําวาการเปรียบเทียบปริมาณ ในที่นี้ตองเขียนหนวยกํากับไวดวย แทนที่จะเขียนอัตราสวนของจํานวนไขเปดเปนฟอง ตอปริมาณน้ําตาล
  • 4. 4 มะพราวเปนถวยตวง ตอปริมาณน้ํากะทิเปนถวยตวง เปน 3: 4 3 : 13 เราอาจเขียนวา “อัตราสวนของ จํานวนไขเปด ตอปริมาณน้ําตาลมะพราว ตอปริมาณน้ํากะทิ เปน 3 ฟอง : 4 3 ถวยตวง : 1 ถวยตวง” ครูควรเนนใหนักเรียนระมัดระวังตําแหนงของปริมาณในอัตราสวนวาตองเปนลําดับเดียวกับ ลําดับของสิ่งที่เปรียบเทียบ เชน อัตราสวนขางตน ตองเปนดังแผนภาพตอไปนี้ อัตราสวนของจํานวนไขเปดเปนฟองตอปริมาณน้ําตาลมะพราวเปนถวยตอปริมาณน้ํากะทิเปนถวย เปน 3: 4 3 : 1 2. แบบฝกหัด 1.3 ขอ 8 ในหนังสือเรียน อาจนํามาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน เพื่อใหนักเรียน ไดรวมกันแสดงความคิดเห็นที่ครูควรชี้นําใหเห็นถึงการพิจารณาเงื่อนไขของคําตอบ ซึ่งตองพิจารณาโอกาสที่ แพนอยที่สุดโดยไมพิจารณาเงื่อนไขอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากสิ่งที่กําหนดใหและคําถามในโจทย หลังจากทําแบบฝกหัดแลว ครูอาจสนทนาใหความรูเพิ่มเติมอยางไมเปนทางการเกี่ยวกับ ความนาจะเปน และการเขียนแสดงความนาจะเปนในรูปอัตราสวน โดยยกตัวอยางจากในชีวิตจริงที่นักเรียน คุนเคยประกอบดวย 3. กิจกรรม “ชวยคิดหนอย” เสนอไวเพื่อใหนักเรียนเห็นประโยชนที่สามารถนําความรูเรื่องอัตรา สวนของจํานวนหลาย ๆ จํานวนไปใชแกปญหาที่ซับซอนบางปญหาได 4. ถามีเวลาพอครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 1.3 ใหนักเรียนทําเพิ่มเติม ซึ่งครูอาจแนะนําใหนัก เรียนนําสูตรขนมชั้นที่เสนอไว มาลองทําใหคนรอบขางไดรับประทานก็ได 1.4 สัดสวน (5 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. หาจํานวนที่แทนดวยตัวแปรในสัดสวนที่กําหนดให 2. แกโจทยปญหาสัดสวนได 3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรย้ําใหนักเรียนระวังวิธีอานสัดสวนโดยใหอานในรูปอัตราสวน ไมอานในรูปเศษสวน ครูควรเนนวาสัดสวนประกอบดวยจํานวน 4 จํานวน ในกรณีที่เขียนสัดสวนในรูป a : b = c : d อาจเรียก จํานวน a, b, c และ d วาจํานวนที่หนึ่ง จํานวนที่สอง จํานวนที่สามและจํานวนที่สี่ของสัดสวนตาม ลําดับ
  • 5. 5 ครูควรเนนวา ในการเขียนสัดสวนจากโจทยปญหาที่กําหนดใหนั้น ลําดับของจํานวนในแตละ อัตราสวนมีความสําคัญ จากตัวอยางปาทิพยชงกาแฟ ลําดับของจํานวนจะตองอยูในรูปปริมาณกาแฟบด เปนชอนโตะ ตอ ปริมาณน้ําเปนถวย 2. ในการหาคาของตัวแปรในสัดสวนโดยใชหลักการผลคูณไขวเทากันนั้น ไดเขียนขั้นตอนแสดง ผลคูณไขวที่เทากันไว เพื่อเปนการเขียนความสัมพันธของจํานวนในสัดสวนใหอยูในรูปของสมการ แลว จึงหาคาของตัวแปร ในการเขียนแสดงวิธีทําถานักเรียนไมไดเขียนแสดงขั้นตอนนี้ ครูไมควรถือวาผิด 3. กรอบความรูเรื่อง “สัดสวนในชีวิตจริง” เสนอไวเพื่อใหเห็นการใชคําวาสัดสวนในชีวิตจริงที่ แตกตางไปจากสัดสวนในทางคณิตศาสตร ครูอาจใหนักเรียนยกตัวอยางเพิ่มเติม เชนการกลาววา นาง แบบคนนี้มีรูปรางไดสัดสวน 4. กิจกรรม “อัตราสวนเดียวกันหรือไม” เปนกิจกรรมเพื่อแสดงใหเห็นวาอัตราสวนของพื้นที่และ อัตราสวนของความยาวของรูปยอและรูปขยายของรูปที่กําหนดให ไมเปนอัตราสวนเดียวกัน 5. สําหรับกิจกรรม “รูไวใชวา” เจตนาเพื่อเปนการเชื่อมโยงความรูเรื่องสัดสวนกับสมุนไพรและ ใหนักเรียนมีเจตคติที่ดีตอสมุนไพร ครูอาจใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ 1.5 รอยละ (6 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. เขียนอัตราสวนใหอยูในรูปรอยละได 2. เขียนรอยละใหอยูในรูปอัตราสวนได 3. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับรอยละได 4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.5 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในระดับประถมศึกษา นักเรียนไดเรียนความหมายของรอยละหรือเปอรเซ็นต ในรูปเศษสวน ที่มีตัวสวนเปน 100 เชน 42% หมายถึง 100 42 หรือเขียนในรูปทศนิยมไดเปน 0.42 สําหรับในบทนี้เราจะ เรียนเปอรเซ็นตในรูปอัตราสวนที่มีจํานวนหลังเปน 100 2. ครูควรฝกใหนักเรียนเขียนอัตราสวนใหอยูในรูปรอยละ และเขียนรอยละใหอยูในรูปอัตราสวน ไดอยางคลองแคลว เพื่อจะนําไปใชในการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับรอยละโดยใชสัดสวน 3. กิจกรรม “ยังทําไดหรือไม” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนไดทบทวนการทําโจทยเกี่ยวกับรอยละ ตามความรูเดิม ที่อาจทําโดยเทียบบัญญัติไตรยางคหรือเขียนรอยละใหเปนรูปเศษสวนก็ได
  • 6. 6 4. สําหรับตัวอยางที่ 6 ครูควรชี้ใหนักเรียนสังเกตวาในการคิดดอกเบี้ยแตละเดือน จะคํานวณหา ดอกเบี้ยสําหรับเงินตน 1 บาทตอ 1 เดือนมากอน เพื่อความสะดวกในการนําไปใชคิดหาดอกเบี้ยในแตละ เดือนที่เงินตนลดลงเดือนละ 1,000 บาท ครูอาจชี้แนะใหนักเรียนสังเกตแบบรูปของดอกเบี้ยที่ลดลง เดือนละ 5 บาท ซึ่งอาจเปนวิธีหนึ่งที่ชวยใหหาคําตอบโดยวิธีลัดได 5. สําหรับแบบฝกหัด 1.5 ข ขอ14 ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวายอดเงินผอนชําระรายเดือน คํานวณ จากคาสินคาที่เหลือจากหักเงินดาวนแลว โดยไมไดคิดดอกเบี้ยจากยอดเงินคงคางจายในแตละเดือน จึงทํา ใหดอกเบี้ยที่จายจริงสูงกวา 4% ที่ตั้งไว ซึ่งการคิดดอกเบี้ยเงินผอนแตกตางจากการคิดดอกเบี้ยผอนชําระ เงินกูของธนาคาร ครูควรใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ควรซื้อสินคาเงินผอนหรือไม อยางไร ทั้งนี้ครูอาจชี้แนะ วาหากไมจําเปนก็ไมควรซื้อสินคาเงินผอนโดยเฉพาะสินคาฟุมเฟอย 6. กิจกรรม “ความคิดเห็นของฉัน” เปนกิจกรรมที่ตองการใหเห็นการนําความรูเกี่ยวกับรอยละ ไปใชในชีวิตจริง ฝกใหนักเรียนมีความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับรอยละ สวนใหญของคําถามไมไดมุงใหนัก เรียนตองคิดคํานวณจริง แตใหใชความรูสึกเชิงจํานวนประกอบเหตุผลที่สมเหตุสมผลชวยใน การตัดสินใจและใหคําตอบ การใหเหตุผลของนักเรียนอาจแตกตางกัน ครูควรพิจารณาเหตุผลและยืดหยุน คําตอบตามความเหมาะสม สําหรับในบางขอ เชน ขอ 10 ขอ 11 และขอ 12 ครูอาจใหนักเรียนคํานวณจริงเพื่อชวยในการ ตัดสินใจ สําหรับขอ 12 ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวา การคิดภาษีมูลคาเพิ่มจะคิดกอนลดราคา หรือคิดหลัง ลดราคา จะไดผลขั้นสุดทายเทากัน 7. การคิดภาษีเงินไดในชั้นนี้ เนนการนํารอยละมาคํานวณภาษีเงินไดจากเงินไดสุทธิที่กําหนดให โดยดูจากตารางสําหรับคํานวณภาษีเปนหลัก ครูอาจนําแบบยื่นเสียภาษีเงินได ภ.ง.ด. 91 พรอมคําชี้แจงมา แสดงใหนักเรียนเห็นรายละเอียดตาง ๆ มากกวาที่อธิบายไวอยางยอในหนังสือเรียน โดยไมตองคํานวณราย ละเอียดตามแบบ ภ.ง.ด. 91 ในทุกขั้นตอน 8. กรอบความรู “อัตราสวนทอง” เจตนาเพื่อใหความรูเรื่องอัตราสวนทองแกนักเรียนและใหเห็น ถึงความงดงามของคณิตศาสตรที่แฝงอยูในธรรมชาติ ตลอดจนผลงานสรางสรรคตาง ๆ ซึ่งนอกจากที่ระบุ ไวในหนังสือเรียนแลว ยังมีปรากฏในบัตรประชาชน บัตรเงินดวน (A.T.M.) ซองจดหมายและกรอบรูป เปนตน ครูอาจมีกิจกรรมใหนักเรียนสํารวจตรวจสอบ หาอัตราสวนทองตามที่ปรากฏอยูรอบตัวนักเรียน ก็ได 9. กิจกรรม “อยางไรจึงเรียกวาอวน” เปนกิจกรรมที่แสดงใหเห็นถึงประโยชนของการใชอัตรา สวนในชีวิตจริง ครูอาจชี้แนะใหนักเรียนนําความรูที่ไดไปใชตรวจสอบและใหคําแนะนําแกสมาชิกใน ครอบครัวของตนเองก็ได
  • 7. 7 10. ครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 1.5 เพื่อใหนักเรียนไดนําความรูเกี่ยวกับรอยละหรือเปอรเซ็นตไป ใชในชีวิตจริง หลังจากนักเรียนทํากิจกรรมนี้แลว ครูอาจใหนักเรียนนําผลที่ไดมาอภิปรายรวมกัน เพื่อให ไดขอคิดในการตัดสินใจซื้อสินคาบางชนิดที่กําหนดให คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบแบบฝกหัด 1.1 1. 1) อัตราสวนของจํานวนครูตอจํานวนนักเรียน เปน 2 : 55 2) อัตราสวนของจํานวนคอมพิวเตอรเปนเครื่องตอจํานวนนักเรียนเปนคน เปน 1 : 3 3) อัตราสวนจํานวนกรรไกรเปนอันตอจํานวนนักเรียนเปนคน เปน 3 : 10 4) อัตราสวนของน้ําหนักทองเปนบาทตอราคาเปนบาท เปน 1 : 7,150 5) อัตราสวนของระยะทางเปนกิโลเมตรตอเวลาเปนชั่วโมง เปน 180 : 3 6) อัตราสวนของจํานวนครั้งของการเตนของหัวใจตอเวลาเปนนาที เปน 72 : 1 7) มาตราสวนที่ใชเขียนแผนที่ เปน 1 เซนติเมตร : 50 กิโลเมตร หรือ 1 : 5,000,000 8) มาตราสวนที่ใชเขียนแผนผัง เปน 1 เซนติเมตร : 0.2 มิลลิเมตร 2. 1,000 : 9,000 3. 1) 9 : 16 2) 9 : 25 4. ไทยชนะ และอัตราสวนของจํานวนเซตที่ชนะตอจํานวนเซตที่แพ เปน 2 : 1 5. รสบวย เพราะ ในขวดโหลมีจํานวนลูกอมรสบวยถึง 4 สวนในจํานวนลูกอมทั้งหมด 7 สวน ในขณะที่มีลูกอมรสมะนาวเพียง 3 สวนในจํานวนลูกอมทั้งหมด 7 สวน คําตอบกิจกรรม “เรื่องของคนอยากรวย” 1. เพราะ ในจํานวนสลากทั้งหมด 1,000,000 ฉบับ มีจํานวนสลากที่ถูกรางวัลเลขทาย 2 ตัว มากกวาจํานวนสลากที่ถูกรางวัลเลขทาย 3 ตัว 2. เพราะ ในจํานวนสลากทั้งหมด มีจํานวนสลากที่ไมถูกรางวัลมากกวาจํานวนสลากที่ถูกรางวัล มากมายหลายเทา
  • 8. 8 คําตอบกิจกรรม “ลองหาดู” 3 : 2 แนวคิด เนื่องจาก AD = BC จะเห็นวามีการแบง AD เปน 3 สวนที่ยาวเทา ๆ กัน และมีการแบง BC เปน 2 สวนที่ยาวเทา ๆ กัน แสดงวา 3 เทาของความกวางของรูปสี่เหลี่ยมผืนผารูปเล็ก เทากับ 2 เทาของความยาวของรูปสี่เหลี่ยมผืนผารูปเล็ก คําตอบแบบฝกหัด 1.2 1. 1) 350 : 4, 175 : 2 และ 1,400 : 16 2) 2 : 40, 3 : 60 และ 4 : 80 3) 0.1 : 3.969, 10 : 396.9 และ 100 : 3,969 2. 1) 8 6 , 12 9 , 16 12 2) 10 4 , 15 6 , 20 8 3) 22 16 , 33 24 , 44 32 4) 36 18 , 24 12 , 18 9 5) 8 12 , 4 6 , 2 3 6) 84 96 , 42 48 , 28 32 3. 1) 6 3 , 8 4 2) 3 2 , 9 6 3) 4 : 15 4. 1) เทากัน 2) ไมเทากัน 3) เทากัน 4) ไมเทากัน 5) ไมเทากัน 6) เทากัน
  • 9. 9 7) เทากัน 8) ไมเทากัน 9) เทากัน 10) ไมเทากัน 5. ไมเทากัน เพราะ อัตราสวนของจํานวนเปนแผนตอราคาเปนบาท ของทั้งสองรานไมเทากัน (ราคาตอหนวยไมเทากัน) 6. 1) (1) 4 : 8 (2) 8 : 10 (3) 4 : 4 1 (4) 4 1 : 10 2) น้ํามะนาว 2 ชอนโตะ น้ําตาล 4 ชอนโตะ เกลือปน 8 1 ชอนโตะ น้ําสุก 5 ชอนโตะ 3) น้ํามะนาว 8 ชอนโตะ น้ําตาล 16 ชอนโตะ เกลือปน 2 1 ชอนโตะ น้ําสุก 20 ชอนโตะ 7. ประมาณ 3,250 กิโลเมตร 8. โรงเรียนนิมิตศึกษา พิจารณาจากเหตุผลไดหลายแบบ ตัวอยางการใหเหตุผล ทําอัตราสวนของจํานวนนักเรียนที่รับไดตอจํานวนที่มาสมัครของโรงเรียนทั้งสอง ใหมี จํานวนหลังของอัตราสวนเทากันดังนี้ อัตราสวนจํานวนนักเรียนที่รับไดตอจํานวนนักเรียนที่มาสมัครของโรงเรียนนิมิตศึกษาเปน 320 120 = 8 3 = 298 293 × × = 232 87 อัตราสวนจํานวนนักเรียนที่รับไดตอจํานวนนักเรียนที่มาสมัครของโรงเรียนกาวหนาวิทยา เปน 145 45 = 29 9 = 829 89 × × = 232 72
  • 10. 10 ดังนั้นโรงเรียนนิมิตศึกษารับนักเรียนไดมากกวาโรงเรียนกาวหนาวิทยา เมื่อเทียบกับ นักเรียนที่มาสมัคร 232 คน เทากัน นั่นคือ ถานักเรียนเลือกมาสมัครที่โรงเรียนนิมิตศึกษา นักเรียนจะมีโอกาสเขาเรียนได มากกวา คําตอบกิจกรรม “นาคิด” 1) ไมเทากัน เพราะ แบบแยกกันขายไดเงิน 145 บาท และแบบรวมกันขายไดเงิน 144 บาท 2) พลอยควรขายไข 60 ฟอง ตอ 145 บาท หรือ 12 ฟอง ตอ 29 บาท คําตอบแบบฝกหัด 1.3 1. 1) 3 : 4 2) 5 : 4 3) 3 : 5 4) 4 : 3 : 5 5) 3 : 12 2. 1) 4 : 2 : 3 2) 2 : 3 : 1 3) 4 : 2 : 3 : 1 4) 2 : 10 3. 1) (1) 8 : 6 : 7 (2) 8 : 7 (3) 7 : 8 : 6 2) นารีอายุ 24 ป บุปผาอายุ 21 ป 4. 1) จะตองใชพิมเสน 50 กรัม และการบูร 50 กรัม 2) เมนทอล 1,000 กรัม พิมเสน 250 กรัม การบูร 250 กรัม 5. 40o
  • 11. 11 6. 1) (1) 8 : 24 (2) 8 : 56 (3) 8 : 24 2) มีฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม อยางละ 9 กิโลกรัม 3) มีสวนผสมทั้งหมด 21 กิโลกรัม 7. ไดขนมสีเหลืองมากที่สุด ขนมสีมวงนอยที่สุด เพราะขนมบัวลอยสีเหลืองมีจํานวนมากที่สุดถึง 5 สวน ในขนมทั้งหมด 10 สวน ในขณะที่ขนมบัวลอยสีมวงมีจํานวนนอยที่สุดเพียง 2 สวน ในขนมทั้งหมด 10 สวน 8. ควรเลือกทีม B ไปแขง เพราะ ตามสถิติทีม B แพ 4 ครั้ง ในการแขงขันทั้งหมด 9 ครั้ง ในขณะที่ทีม A แพ 5 ครั้ง ในการแขงขันทั้งหมด 10 ครั้ง คําตอบกิจกรรม “ชวยคิดหนอย” เนื่องจาก อัตราสวนของสวนแบงของลูกชายตอสวนแบงของภรรยา เปน 2 : 1 หรือ 4 : 2 อัตราสวนของสวนแบงของภรรยาตอสวนแบงของลูกสาว เปน 2 : 1 ดังนั้น อัตราสวนของสวนแบงของลูกชายตอสวนแบงของภรรยาตอสวนแบงของลูกสาวเปน 4 : 2 : 1 นั่นคือ สมบัติทั้งหมดควรแบงเปน 7 สวน โดยใหลูกชาย 4 สวน ภรรยา 2 สวน และ ลูกสาว 1 สวน คําตอบแบบฝกหัด 1.4 1. 1) 16 2) 6 3) 9.6 4) 30 5) 84 6) 6 7) 7 8) 5 16 9) 6.4 10) 3 11) 5 12) 9 1
  • 12. 12 2. 30o และ 45o 3. 33 เซนติเมตร 4. 553 ชิ้นไดรับของแถม 158 ชิ้น 5. 900 กิโลเมตร 6. 695 กิโลเมตร 7. 117,000 กิโลเมตร 8. 6 ชั่วโมง 30 นาที 9. มีไนโตรเจนหนัก 100 กิโลกรัม ฟอสฟอรัสหนัก 200 กิโลกรัม โพแทสเซียมหนัก 100 กิโลกรัม สวนผสมอื่น ๆ หนัก 600 กิโลกรัม 10. ไขมันประมาณ 38 กรัม โปรตีนประมาณ 21 กรัม 11. 300 คน 12. 82 เมตร 403.44 ตารางเมตร คําตอบกิจกรรม “อัตราสวนเดียวกันหรือไม” 1. 1) 3 เซนติเมตร 2) 8 เซนติเมตร 3) 4 : 1 4) ไมเปน 5) 2 ตารางเซนติเมตร 2. 1) r2 ยาว 6 เซนติเมตร 2) 1 : 9 3) ไมเปน 4) 45π ตารางเซนติเมตร คําตอบกิจกรรม “รูไวใชวา” เนื้อมะขามปอม 20 กรัม คารโบไฮเดรต 8.22 กรัม และโปรตีน 0.1 กรัม
  • 13. 13 คําตอบกิจกรรม “ยังทําไดหรือไม” 1. 80 คน 2. 12 กิโลกรัม 3. 75% 4. รอยละ 90 5. 12,000 บาท 6. 1,120 ขวด คําตอบแบบฝกหัด 1.5 ก 1. 1) รอยละ 62.5 2) 175% 3) 6.3% 4) รอยละ 187.5 5) 45% 6) รอยละ 120 2. 1) 18 : 100 2) 95 : 100 3) 250 : 100 4) 3 133 : 100 5) 0.14 : 100 หรือ 14 : 10,000 3. 1) 0.048 2) 0.082 3) 0.20 4) 4% 5) 2.8% 6) 30% 7) 2
  • 14. 14 8) 50 9) 20 10) 6 คําตอบแบบฝกหัด 1.5 ข 1. 8,000 บาท 2. ประมาณ 14.4 กิโลกรัม 3. 400 คน 4. ประมาณ 712 หมูบาน 5. วีระชัยควรซื้อโทรทัศนจากรานยิ่งเจริญ 6. กําไรรอยละ 43.38 7. 370,000 บาท 8. 36 ขอ 9. 72% 10. 24 คะแนน 11. ประมาณ 10 ชั่วโมง 24 นาที 12. ประมาณ 120.01 บาท 13. ประมาณ 8,153.98 บาท 14. 1,620 บาท คําตอบกิจกรรม “ความคิดเห็นของฉัน” ตัวอยางคําตอบ 1. เปนไปได ถาคะแนนที่กลาวหมายถึงคะแนนที่คิดเปนรอยละ หรือเมื่อคะแนนเต็มของ ทั้งสองวิชา เทากัน 2. เปนไปได ถาคะแนนเต็มของวิชาภาษาไทยเปน 70 คะแนน และคะแนนเต็มของวิชา คณิตศาสตรเปน 80 คะแนน 3. เปนไปไมได เพราะ กําไร 12% คิดจากราคาทุน ในขณะที่ขาดทุน 12% คิดจากราคาขาย ซึ่งในที่นี้ราคาทุนไมเทากับราคาขาย 4. เปนไปได ถาทั้งสองคนมีเงินเดือนเทากัน
  • 15. 15 5. เปนไปไมได เพราะ 5% ของการขึ้นเงินเดือนครั้งแรก ไมเทากับ 5% ของการขึ้นเงินเดือน ครั้งที่สอง 6. เปนไปไมได เพราะ กําไร 20% คิดจากราคาทุน ในขณะที่ลดราคา 20% คิดจากราคาขาย ซึ่งในที่นี้ราคาทุนไมเทากับราคาขาย 7. เปนไปไมได เพราะ กําไร 30% คิดจากราคาทุน ในขณะที่ลดราคา 20% คิดจากราคาขาย ดังนั้น เงินกําไร 30% ลบดวยเงินลดราคา 20% จึงไมใชกําไร 10% 8. เปนไปได ถานารีรับเสื้อมาเย็บมากกวาที่รัตนารับมาเปนจํานวนมากพอ 9. เปนไปได เมื่อกําไรรวม 20% คิดจากตนทุนรวม และกําไร 20% ของแตละคนคิดจาก ตนทุนของแตละคน 10. เปนไปไมได เพราะ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเดิมมีพื้นที่ 400 ตารางเซนติเมตร เมื่อเพิ่มความยาว ของดาน ดานละ 10% รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสใหมมีพื้นที่ 484 ตารางเซนติเมตร ดังนั้นมีพื้นที่ เพิ่มขึ้น 84 ตารางเซนติเมตร ซึ่งไมเทากับ 20% ของ 400 ตารางเซนติเมตร 11. เปนไปไมได ดวยเหตุผลทํานองเดียวกับขอ 10 ขางตน 12. เปนไปไมได เพราะ ทั้งราน ก และราน ข ขายสินคาในราคาเดียวกันตามแนวคิดดังนี้ ราคาของสินคาราน ก เปน       ×× 200100 107 100 90 ในขณะที่ราคาของสินคาราน ข เปน       ×× 200100 90 100 107 คําตอบแบบฝกหัด 1.5 ค 1. 406 บาท 2. 5,425 บาท 3. รับเงินที่ชําระภาษีไวเกินคืน 2,772 บาท 4. จะตองชําระภาษีเพิ่มอีก 237 บาท 5. กฤษดาไมตองชําระภาษีเพิ่มเติม และไมไดรับคืนเงินภาษีที่ชําระไวเกิน
  • 17. 17 กิจกรรมเสนอแนะ 1.3 กิจกรรมนี้เสนอไวเพื่อใหนักเรียนฝกการเขียนอัตราสวน และสามารถนําความรูเรื่องอัตราสวน ไปใชในชีวิตจริงได ขนมชั้น ถือวาเปนขนมสิริมงคลอีกชนิดหนึ่งของไทย คําวา “ชั้น” เชื่อกันวา หมายถึง การเลื่อน ชั้น เลื่อนตําแหนง และนิยมทําเปนชั้น ๆ 9 ชั้น สวนผสมของขนมชั้นมีดังนี้ แปงทาวยายมอม 1 ถวยตวง แปงขาวเจา 2 1 ถวยตวง แปงมัน 1 ถวยตวง น้ําลอยดอกมะลิ 1 ถวยตวง น้ําตาลทราย 2 ถวยตวง น้ํากะทิ 3 ถวยตวง สีใสขนม หรือสีธรรมชาติ เชน น้ําใบเตย มีขั้นตอนการทํางาย ๆ โดยใชสวนผสมที่เปนแปงนวดกับกะทิใหเขากัน ใสน้ําเชื่อมผสมสีให แตกตางกัน แลวตักสวนผสมหยอดทีละชั้น นึ่งชั้นละประมาณ 7 – 8 นาที ก็จะไดขนมออกมามีสีสวยงาม นารับประทาน ใหนักเรียนใชสูตรการทําขนมชั้นขางตน ตอบคําถามตอไปนี้ 1. เขียนอัตราสวนของสวนผสมตาง ๆ โดยปริมาตรตอไปนี้ 1) อัตราสวนของแปงทาวยายมอม ตอแปงขาวเจา ตอแปงมัน [1 : 2 1 : 1] 2) อัตราสวนของน้ําลอยดอกมะลิ ตอน้ําตาลทราย ตอน้ํากะทิ [1 : 2 : 3] 3) อัตราสวนของแปงทั้งสามชนิด ตอน้ําตาลทราย ตอน้ํากะทิ [ 2 12 : 2 : 3] 4) อัตราสวนของแปงทาวยายมอม ตอแปงขาวเจา ตอแปงมัน ตอน้ําลอยดอกมะลิ ตอน้ําตาลทราย ตอน้ํากะทิ [1 : 2 1 : 1 : 1 : 2 : 3] 2. ถาใชแปงทาวยายมอม 3 11 ถวยตวง ตองใชสวนผสมอื่น ๆ อยางละเทาไร [แปงขาวเจา 3 2 ถวย แปงมัน 3 11 ถวย น้ําลอยดอกมะลิ 3 11 ถวย น้ําตาลทราย 3 22 ถวย น้ํากะทิ 4 ถวย]
  • 18. 18 กิจกรรมเสนอแนะ 1.5 กิจกรรมนี้มีไวเพื่อฝกทักษะและนําความรูในเรื่องรอยละไปใชในชีวิตประจําวัน ใหนักเรียนสํารวจราคาสินคาของรานคาตาง ๆ จากใบโฆษณาสินคาหรือหนังสือพิมพ แลวนํา ขอมูลมาเขียนลงในตารางดังนี้ ชื่อรานคา รายการสินคา ราคาปกติ ราคาลด เปอรเซ็นตที่ลดราคา 1. 1. 2. 3. 4 2. 1. 2. 3. 4