SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 124
1
4 2
3
 สารอาหารชนิดต่างๆ ได้แก่ โปรตีน น้าตาล กรด
ไขมัน กรดอะมิโน แร่ธาตุและ
ไวตามินหลายชนิด เช่น ไวตามินบีหนึ่ง บีสอง และไว
ตามินซี เป็นต้น
 ใบสด ประกอบด้วยสาระสาคัญเป็นกรดอะมิโน
หลายชนิด เช่น ไลซีน (Lysine) ซีสทีน (cystine),วา
ลีน (valine) ฯลฯ และยังมีน้าตาลซูโครส กลูโคส
ไวตามินบีหนึ่ง และไวตามินซีอีกด้วย
• ในยาแผนโบราณใช้กระเทียม
เป็นยาบาบัดอาการไอ แก้ไข้หวัด
แก้หลอดลมอักเสบเรื้อรังแก้ความ
ดันสูง เส้นเลือดเปราะ แก้โรค
ท้องเสีย ขับลม ขับเหงื่อ ฯลฯ
ปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับฤทธิ์
ของกระเทียมในด้านการรักษา
มากมายฤทธิ์ที่น่าสนใจของ
กระเทียม และน้ามันกระเทียม
ได้แก่
1. ใช้ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ และ
ขับเสมหะ
โดยมักจะเตรียมในรูปของยา
น้าเชื่อม (Garlic Syrup)
ซึ่งเตรียมได้ง่าย ๆ ดังนี้ใช้หัว
กระเทียมสดประมาณ
ครึ่งกิโลกรัม ทุบพอแตกใส่ใน
ขวดโหล เติมน้าผึ้งหรือ
น้าหวานข้น ๆ 1 ถ้วยแก้ว แช่ไว้
ประมาณ 1 อาทิตย์
ใช้รับประทานวัยละ 3 ครั้ง
ครั้งละประมาณครึ่งช้อนโต๊ะ
• 2. ใช้ขับลม แก้จุกเสียดแน่น ท้องอืด – ท้องเฟ้ อ
ในประเทศอินเดียได้มีการทดลองให้คนไข้ที่มีอาการ
ท้องอืด ท้องเฟ้ อ รับประทานสารสกัดจากกระเทียม
พบว่าสามารถระงับอาการปวดท้อง ลดอาการจุกเสียด
ช่วยขับลมได้ผลดีใช้ได้ทั้งคนไข้ที่มีอาการจุกเสียด
ธรรมดาและอาการจุกเสียด ที่เนื่องจากอาการทาง
ประสาทสารที่ออกฤทธิ์ยังไม่ทราบแน่นอน ยาเตรียม
ง่ายๆ ที่ใช้รับประทานเพื่อขับลมเตรียมได้ ดังนี้ ใช้
กระเทียม 5-7 กลีบ บดให้ละเอียด เติมน้าส้มสายชู 2
ช้อนโต๊ะ เติมเกลือและน้าตาลเล็กน้อยผสมให้เข้ากัน
กรองเอาแต่น้า ใช้ดื่ม หรือใช้เนื้อในกระเทียม 5 กลีบ
หั่นให้ละเอียด รับประทานหลังอาหารทุกมื้อก็ได้
• 3. ช่วยลดปริมาณโคเลสเตอรอลในเลือดเมื่อ
ระดับโคเลสเตอรอลสูง โคเลสเตอรอลจะ
สะสมที่ผนังหลอดเลือดทาให้ผนังหนาขึ้น
เรื่อย ๆ ในที่สุดจะเกิดอักเสบเป็นแผลและ
แตกออกจึงมีก้อนเลือดหลุดไปตามกระแส
เลือดและอาจไปอุดที่ใดที่หนึ่งได้
4. ช่วยป้องกันโรคหลอดเลือดอุดตันและกล้ามเนื้อ
หัวใจหยุดทางานเฉียบพลัน
โรคหลอดเลือดอุดตันเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดโรค
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดการจับตัวของเกล็ดเลือดเป็น
สาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดการอุดตันของเส้นเลือดได้
สกัดกระเทียมด้วยคลอโรฟอร์มน้ามันกระเทียม และ
กระเทียมผง มีฤทธิ์ต้านการจับตัวของเกล็ดและมีฤทธิ์
สลายไฟบริน (fibriolytic)ได้(ไฟบรินเป็นสารที่ทา
ให้เลือดหยุดไหล โดยเป็นสารที่ทาให้เกล็ดที่จับตัว
กันแข็งแรงยิ่งขึ้น เลือดจึงหยุดไหลได้)
5. ช่วยลดความดันโลหิต
จากการวิจัยในสัตว์ทดลองและในคน พบว่ากระเทียม
สด กระเทียมผง และสารสกัดกระเทียมด้วยน้ามัน
หรือแอลกอฮอล์สามารถลดความดันโลหิตได้
6. ช่วยลดปริมาณน้าตาลในเลือด(รักษาและป้องกัน
โรคเบาหวาน)
จากผลการวิจัยในสัตว์ทดลอง พบว่ากระเทียมสด
สารสกัดกระเทียมด้วยแอลกอฮอล์หรือคลอโรฟอร์ม
และกระเทียมผง มีฤทธิ์ลดน้าตาลในเลือดได้
ออกฤทธิ์คืออัลลิซิน โดยสารนี้จะไปกระตุ้นให้มาร
หลั่งอินซูมากขึ้น หรือไปทาให้อินซูลินอยู่ในรูปอิสระ
(free insulin แทน bound insulin) จึงส่งเสริมให้มีการ
ใช้น้าตาลได้มากขึ้น
7. ช่วยรักษาโรคกลาก
จากการวิจัยพบว่ากระเทียมมีฤทธิ์ยับยั้งการ
เจริญเติบโตของเชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรค
ลิ้นเป็นฝ้าขาว และโรคกลากได้สารที่ออก
ฤทธิ์คือ อัลลิซิน
วิธีใช้ใช้หัวกระเทียมสดฝานทาบริเวณที่เป็น
บ่อย ๆ
• ลักษณะพฤกษศาสตร์ :
พืชล้มลุกอายุหลายปี มีลาต้นใต้ดิน
เรียกว่าเหง้าซึ่งเลื้อยขนานไป
กับผิวดิน ใบเดี่ยว ยาว ปลาย
ใบแหลม ก้านใบแผ่เป็นกาบหุ้ม
กันดูเหมือนลาต้น ดอกเป็นช่อดอก
ที่ยอด ดอกย่อยคล้ายดอกกล้วย
ไม้สีขาว ผลกลมหรือรี มีสีแดงอมส้ม
ภายในมี 2-3 เมล็ด
ช่วยขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้ อ
• วิธีใช้ ใช้เหง้าขนาดหัวแม่มือ (น้าหนักสด
ประมาณ 5 กรัม น้าหนักแห้ง ประมาณ 2
กรัม) ทุบแตก ต้มน้าให้เดือด เอาน้าดื่ม หรือ
ใช้เหง้าข่าแก่ตาละเอียด ผสมน้าปูนใส
ประมาณ 2 ถ้วยน้า กวนให้เข้ากันดี กรอง
ด้วยผ้าขาวบางใช้น้าดื่มครั้งละถ้วยแก้ว
ใช้แก้โรคผิวหนัง กลาก เกลื้อน
จากการวิจัยพบว่า สารสกัดข่าด้วยแอลกอฮอล์และ
คลอโรฟอร์มสามารถฆ่าเชื้อราและเชื้อที่เป็นสาเหตุ
ของโรคกลาก เกลื้อน ได้ดี
วิธีใช้ ใช้เหง้า ตาแหลก หรือฝานเป็นชิ้นบาง ๆแช่ใน
เหล้าโรงหรือแอลกอฮอล์ ทิ้งไว้1 คืน นาน้าเหล้าที่ได้
ทาบริเวณผิวหนังที่เป็นกลาก เกลื้อนบ่อย ๆ ปัจจุบัน
การทดลองเตรียมยาในรูปครีมของสารสกัดจากข่า
เพื่อใช้ทาแก้โรคผิวหนัง พบว่าผู้ใช้ส่วนมากไม่ชอบ
กลิ่นครีมข่าที่เตรียมขึ้น จึงควรมีการพัฒนารูปแบบยา
เตรียมที่เหมาะสมต่อไป
• ชุมเห็ดเทศ
• “ใบชุมเห็ด” ที่ใช้ในยามขนานที่ ๓๔ “รากชุมเห็ด” ที่
ใช้ในยาขนานที่ ๖๗ และ “ลุกชุมเห็ด” ที่ในยาขนานที่
๗๒ รวม ๓ ขนานนั้น ได้จากต้นชุมเห็ดไทย ซึ่งมีชื่อ
พฤกษศาสตร์ว่า Senna tora (L.) Roxb. จัดอยู่ในวงศ์
Leguminosae ลางถิ่นเรียก ชุมเห็ดเขาควาย ชุมเห็ดนา
ชุมเห็ดเล็ก (ภาคกลาง)พรมดาน (สุโขทัย) ลับมือน้อย
(พายัพ)หญ้าลึกลืน (ปราจีนบุรี) ก็มี มีชื่อสามัญว่า
Foetid Cassia (เพราะมีกลิ่นเหม็นเขียว) หรือ Tradahl
ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ : ทองพันชั่ง หญ้ามันไก่ (ภาคกลาง)
ชื่ออังกฤษ : -
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhinacanthus nasutus Kurz
ชื่อพ้อง : Rhinacanthus communis Nees
วงศ์ : Acanthaceae
• ลักษณะพฤกษศาสตร์ : พืชล้มลุกมีลักษณะเป็นไม้พุ่ม
ใบเดี่ยวรูปกระสวยผิวใบสาก ปลายและโคนใบแหลม
ใบออกตรงกันข้ามเป็นคู่ ดอกสีขาวออกเป็นช่อสั้น ๆ
ตรงง่ามใบกลีบดอกมีลักษณะคล้ายกระยางโคนกลีบ
ติดกัน ปลายแยกเป็น 2 กีบ ผลเป็นฝักยาว มีขน แตก
ได้ภายในมี 4 เมล็ด
• ส่วนที่นามาใช้ประโยชน์ : ใบ และรากสด
วิธีใช้ การใช้ทองพันชั่งรักษาโรคกลาก ให้ใช้ใบ
หรือรากสดตาละเอียดแช่ในเหล้าหรือ
แอลกอฮอล์ (30 – 50%) ทิ้งไว้รินน้าทา
บริเวณที่เป็นโรคผิวหนัง ในตาราบางเล่ม
กล่าว ใช้ใบชงน้าดื่มเพื่อเป็นยาระบายและ
ขับปัสสาวะ
ชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ : พลูจีน (ภาคกลาง), บู
(ภาคเหนือ), เปล้ายวน, ซีเก๊ะ
(มาเลย์– นราธิวาส)
ชื่ออังกฤษ : Betal vine, Betal Pepper
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Piper betle Linn.
วงศ์ : Piperaceae
• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถา เนื้อแข็ง เลื้อยพัน
ต้นไม้อื่น โดยอาศัยรากฝอยที่แตกตามข้อเป็นเครื่อง
ยึดเกาะ ใบเป็นใบเดี่ยวรูปหัวใจ เนื้อใบหน้าเป็นมัน มี
กลิ่นฉุนเฉพาะตัวรสเผ็ดร้อน ดอกสีขาว ออกเป็นช่อ
แน่นบนแกนยาวคล้ายพริกไทย ผลอักแน่นเป็นช่อ มี
เนื้อนุ่ม ใน 1 ผล มีเมล็ดเดียว ค่อนข้างกลม
พลู สุมนไพรแก้ลมพิษ
พลู เป็นสมุนไพรส่งออกที่สาคัญชนิดหนึ่งประเทศที่
นาเข้าใบพลูจากประเทศไทยคือประเทศตะวันออก
กลาง ปากีสถาน และแอฟริกานิสถานพลูมีหลายชนิด
เช่น พลูจีน พลูเหลือง
• พลูเขียว พลูทองหลางเป็นต้นเนื่องจากพลูเป็นไม้
เลื้อยเวลาปลูกพลูต้องหาไม้ค้างหรือต้นไม้ให้พืชชนิด
นี้เกาะ ส่วนมากมักปลูกให้ขึ้นไปกับต้นทองหลางใบ
พลูมื่อผสมกับปูนแดงและหมากใช้เป็นของเคี้ยว
สาหรับผู้ที่กินหมากพลูมีปลูกมากในภาคกลางและ
ภาคอีสาน
• สารยูจินนอลและชาววิคอล มีฤทธิ์เป็นยาชา และช่วย
กระตุ้นการไหลเวียนของ
• โลหิตใบพลูจึงใช้ประโยชน์ในการระงับอาการคันเนื่องจาก
ลมพิษและยังช่วยระงับอาการคันและเจ็บปวดเนื่องจาก
แมลงกัดต่อยได้
• วิธีใช้ใช้ใบสด3 – 4 ใบ ตาผสมกับเหล้าโรงเล็กน้อย คั้น
เอาน้าทา หรือใช้ทั้งน้าและ
กากใบพลูทาบริเวณที่เป็นลมพิษหรือบริเวณที่แมลงกัด
ต่อยบ่อย ๆ ไม่ควรให้โดนลมโดยต้องใส่เสื้อผ้าปิดไว้เมื่อ
ทาผิวหนังจะชา ทาให้หายคัน
• ช่วยฆ่าและยังยั้งการเจริญเติบโตของ
เชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของวัณโรคและเชื้อ
หนอง และยังมีฤทธิ์ต้านเชื้อราที่เป็นสาเหตุ
ของโรคผิวหนัง และกลากได้อีกด้วย จากการ
ทดลองเตรียมยาทาผิวหนังจากสารสกัดอีเทอร์
ของใบพลูในรูปยาขี้ผึ้งและครีม พบว่าสามรถ
ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราดังกล่าว
โดยเฉพาะเชื้อกลากได้ดีมาก
• วิธีใช้ ทาเช่นเดียวกันกับใช้ทาลมพิษ แต่ต้อง
ทาบ่อย ๆ วันละ 3 -4 ครั้ง และทาเป็น
เวลานานอย่างน้อย 3 -4 อาทิตย์
ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ : ประคาดีควาย (ภาคกลาง),
(ภาคใต้), มะชัก ส้มป่อยเทศ (ภาคเหนือ),
ซะแซ ซะเหล่เด (กะเหรี่ยง - แม่ฮ่องสอน)
ชื่ออังกฤษ : Soapberry, Soap Nut Tree
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Sapindus emrginatus Wall.
วงศ์ : Sapindaceae
• ลักษณะพฤกษศาสตร์ : ไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบเป็นใบ
ประกอบแบบขนนกเรียงสลับกัน ใบย่อยรูปไข่ ปลายใบ
สอบเรียวแหลมหลังใบสีเขียวเข้ม ท้องใบสีจาง ดอก
ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งดอกย่อยมีขนาดเล็ก สีขาว หรือสี
เหลืองอ่อน ๆ ดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่แยกกันแต่อยู่
บนต้นเดียวกัน ผลรูปกลมโต เป็นผลสด ภายในมีเมล็ด
กลมสีดาผลมะคาดีควายมีสารจาพวกโปนิน (Saponin)
ซึ่งเป็นสารที่ให้ฟองกับน้าเช่นเดียวกับสบู่
ใช้แก้รังแค แก้ชันนะตุ
ผลแห้งใช้ผสมน้าเพื่อสระ
แก้รังแค และรักษาโรคผิวหนัง
พุพองบนศีรษะเด็กซึ่งเรียกว่า
โรคชันนะตุ
• วิธีใช้ ใช้ผลแห้ง 5 ผล ทุบพอแตก
ต้มกับน้าประมาณ1 ถ้วย ใช้ทาที่หนัง
ศีรษะบริเวณที่เป็นวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น
จนกว่าจะหาย ระวังอย่าใช้เข้าตาเพราะ
จะทาให้แสบตา
• ชื่อวงศ์ APIACEAE(UMBELLIFERAE)
• ชื่อสกุล Centella
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Centella asiatica(L) Urb.
• ชื่อสามัญ Asiaticpennywort, Gotu kola
• ชื่อพื้นเมืองอื่น ผักหนอก (ภาคเหนือ) ;
ปะนะเอขาเด๊าะ (กะเหรี่ยง - แม่ฮ่องสอน); บัวบก (ภาคกลาง)
; ผักแว่น (ภาคใต้)
• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
• ไม้ล้มลุก(ExH) ประเภทเลื้อย มีลาต้นเลื้อยไปตามดิน
เรียกว่าไหล มีรากงอกออกตามข้อของลาต้น
• ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ใบงอกเป็นกระจุกออก
จากข้อลักษณะใบรูปไต รูปร่างกลมฐานใบโค้งเว้าเข้า
หากัน ขอบเป็นคลื่นหยักเล็กน้อย แผ่นใบสีเขียวมีขน
เล็กน้อย ก้านใยสีเขียวยาว
• ดอก ออกดอกเป็นช่อแบบช่อซี่ตามซอกใบช่อหนึ่งมี
ดอกย่อยประมาณ๔-๕ ดอก ดอกมีขนาด กลีบดอกมี
๕ กลีบ สีม่วงเข้มอมแดงสลับกัน
• ผล เป็นผลแห้งแตกลักษณะแบนเมล็ดสีดา
รสและสรรพคุณในตารายาทั่วไป
ใบ รสขมเย็น เป็นยาดับร้อน ลดอาการอักเสบ
บวม แก้ปวดท้อง แก้ดีซ่าน แก้บิด ใบสดต้มกับ
น้าซาวข้าวดื่มแก้นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
ทั้งต้น รสหอมเย็น บารุงหัวใจ
บารุงกาลัง แก้ซ้าใน แก้อ่อนเพลีย
ขับปัสสาวะ รักษาบาดแผล แก้ร้อนใน
กระหายน้า แก้โรคปวดศีรษะข้างเดียว (ไมเกรน)
แก้โรคเรื้อน แก้กามโรค แก้ตับอักเสบ
เมล็ด รสขมเย็น แก้บิด แก้ไข แก้ปวดศีรษะ
รักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก
โดยใช้บัวบกต้นสด 1 กามือ
หรือหนักประมาณ 20 กรัม
ล้างน้าให้สะอาดและ
โขลกให้ละเอียดคั้น
เอาน้าทาบริเวณที่เป็นแผลบ่อย ๆ
หรืออาจจะใช้กากพอด้วยก็ได้
ลดอาการอักเสบ ยับยั้ง
เซลล์มะเร็ง
โดยใช้น้าคั้นสด ๆ ของใบ
บัวบกดื่มแทนน้า
วันละ 3 เวลาเป็นประจา
• ลักษณะ : มะพร้าว เป็นไม้ตระกูลปาล์ม และเมื่อพอ
เราพูดถึงคาว่ามะพร้าวกันแล้วเป็นรู้จักกันดี มะพร้าว
เป็นไม้ลาต้นสูง มีใบอยู่ที่ยอดต้น ใบเล็กยาวเป็นทาง
เช่นเดียวกันกับต้นตาลมีดอกสีขาวนวลเป็นพวงเป็น
ฝอยเล็ก ๆ เหมือนจั่นหมาก จั่นนี้เรียกว่าจั่นมะพร้าว
เราเอามัดรวมกัน เอามีดคม ๆ ตัดปาดจนมีน้าตาลไหล
ออกมา เอามาทาเป็นน้าตาลเราเรียกว่าน้าตาล
มะพร้าว พอลูกขณะที่ยังอ่อนอยู่มีสีขาว พบผลโตขึ้น
ก็เริ่มมีสีเขียว พอขนาดมะพร้าวอ่อนก็เป็นสีเขียวอ่อน
พอแก่เปลือกนอกสีเทาหรือสีน้าตาล
• ประโยชน์ : ผลอ่อนรับประทานน้า เนื้อในผลอ่อน
รับประทานเป็นอาหาร หรือจะทาเป็นอาหารหวานก็ได้
หลายชนิด
ผลแก่เรียกว่ามะพร้าวห้าวเอาเนื้อในมาทาเป็น
อาหารคาวหวาน โดยคั้นทาเป็นน้ากะทิ ทาเป็นอาหาร
ทาเป็นน้ามันจุดตะเกียงได้ทาเป็นน้ามันทอดปรุง
อาหารได้
น้ามันมะพร้าวแก่ ทาเป็น
น้าดองผักก็ได้สาหรับท่านที่
เป็นนักดื่ม ถ้าใช้โซดาแล้วก็
สิ้นเปลืองมากถ้าที่บ้านท่ามี
มะพร้าว จะลองใช้น้ามะพร้าว
แทนโซดาได้ก็จะรู้สึกชุ่ม
ชื่นใจดีมากแต่ถ้าหาน้ามะพร้าว
อ่อนไม่ได้น้ามะพร้าวแก่ถ้า
จะทิ้งก็เสียของ ลองใช้น้ามะพร้าว
แก่แทนโซดา
จั่นมะพร้าวนามาทา
เป็นน้าตาลมะพร้าว
ชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ : ว่านไฟไหม้(ภาคเหนือ),
หางตะเข้(ภาคกลาง)
ชื่ออังกฤษ : Aloe
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aloe berbadensisMill.
ชื่อพ้อง : A. vera Linn.
วงศ์ : Liliaceae
วุ้นในใบ ยางสี
เหลืองจากใบ
ว่านหางจระเข้เป็นพืชที่นิยมปลูกตามบ้านเรือน
เพื่อใช้เป็นไม้ประดับและเป็นยาเดิมเป็นพืชเมืองของ
ทวีปแอฟริกา แต่ได้มีการนาเข้ามาปลูกในประเทศที่มี
อากาศร้อนทั่ว ๆ ไป ในตารายาไทยใช้น้ายางสีเหลือง
จากใบเดี่ยวให้แห้งจะได้ยาดาใช้เป็นยาระบาย แต่
พันธุ์มีปลูกในประเทศไทยมีปริมาณน้ายางน้อยว่าน
หางจระเข้ชอบแดดราไร
• มีผลิตภัณฑ์ที่ทาจากว่านหางจระเข้ขายในตลาด
มากมายโดยเฉพาะประเภทเครื่องสาอางเช่น ครีม
บารุงผิวหนัง แชมพูครีมนวดผม ครีมกันแดด ครีมกัน
ฝ้า นอกจากนี้ยังมีจาหน่ายในรูปอาหารเสริมโดยทา
เป็นเครื่องดื่มและวุ้นแช่อิ่ม
1. วุ้นสดหรือเมือกจากใบ ใช้รักษาแผลไฟไหม้น้าร้อน
ลวก แผลไหม้เกรียมจากแสงแดดและแผลไฟไหม้ที่เกิด
จากการฉายรังสี จากการวิจัยทั้งในสัตว์ทดลองและใน
คนไข้พบว่าวุ้นสดและเมือกจากใบว่าหางจระเข้สามารถ
รักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก และแผลที่เกิดจากการฉาย
รังสีได้ผลดีมาก โดยทาให้หายปวดแสบปวดร้อน ผิวหนัง
จะไม่พอง แผลจะค่อยๆ แห้งและตกสะเก็ดหลุดออกไม่มี
ลอยแผลเป็น นอกจากนี้ยังพบว่ามีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่
เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิด ฝี หนอง ฤทธิ์ช่วยบดอาการอักเสบ
และเร่งการเจริญเติบโตของเซลล์ที่บาดแผลทาให้แผลหาย
เร็วยิ่งขึ้นอีกด้วย
วิธีใช้ เลือกใช้ใบล่างสุดของต้นก่อนนามาล้างให้สะอาด
ปอกเปลือกสีเขียวออก ล้างน้ายางเหลืองออกให้หมดเพราะ
อาจจะทาให้ระคายเคืองผิวหนังและทาให้มี
อาการแพได้ขูดเอาวุ้นใสปิดพอพบริเวณแผลหรือฝาน
เป็นแผ่นบางๆ ปิดที่แผล พันด้วยผ้าพันแผลที่สะอาดจะทา
ให้รู้สึกเย็น หายปวดแสบปวดร้อน เปลี่ยน วันละ 2 ครั้ง
เช้า – เย็น จนกว่าแผลจะหาย
2. ใช้รักษาแผลในกระเพาะอาหาร
จากการวิจัยในสัตว์ทดลองและในคนไข้พบว่าเมือก
และวุ้นจากใบว่าหางจระเข้เมื่อให้โดยรับประทาน
สามารถป้องกันและรักษาแผลในกระเพาะอาหารได้
3. ฤทธิ์ต่อต้านการอักเสบ
จากการวิจัยในคนไข้โรคเหงือกอักเสบ พบว่าสารสกัด
จากใบว่านหางจระเข้สามารถลดอาการอักเสบได้
4. ใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องสาอางหลายชนิด
• เมือกและวุ้นจากใบว่านหางจระเข้นิยมผสมลงในเครื่อง
องสาอางหลายชนิดเช่น ครีมบารุงผิว แชมพูครีมนวด
ผม เพื่อบารุงให้ผิวหนังนุ่มไม่หยาบกร้าน ผมนิ่มดกดา
• สารอะโลอิน (aloin) ซึ่งเป็นสารสาคัญจากใบว่าหาง
จระเข้สามารถดูดแสงอัลตราไวโลเลตซึ่งมีในแสงแดดได้
แสงอัลตราไวโลเลตเป็นตัวการที่ทาให้ผิวหนังไหม้
เกรียมเมื่อถูกแดดนาน ๆ จึงใช้น้ายางผสมในครีมกันแดด
เพื่อป้องกันไม่ให้ผิวหนังไหม้นอกจากนี้ยังมีรายงานว่า
สารอะโลอินและสารอื่นๆน้ายางมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์โท
โรซิเนส (Tyosinase enzyme) ที่มีอยู่ใต้ผิวหนังได้ถ้ามี
เอนไซม์ชนิดนี้มากเกินไปจะมีผลทาให้ผิวหนังเกิดจุดด่าง
ดาได้จึงใช้ว่าหางจระเข้ผสมในครีมกาจัดฝ้าและรอยด่าง
ดาบนผิวหนัง
5. ใช้เตรียมยาดาซึ่งใช้เป็นยาระบาย – ยาถ่าย
ยางสีเหลืองจากบริเวณเปลือกใบมีฤทธิ์เป็นยาถ่าย
นามาเตรียมเป็นยาดาโดยตัดใบตรงโคนติดกับลาต้น
แล้วนามาผูกห้อยลงให้ยางไหลลงในภาชนะที่รองรับ
แล้วนาไปเคี่ยวให้ข้น ตั้งทิ้งไว้ให้เย็นจะเกาะเป็นก้อน
แข็งสีดาเรียกว่า ยาดาใช้เป็นส่วนประกอบในยาไทย
หลายตารับจนมีคาพังเพยว่า “แทรกเหมือนยาดา” ซึ่ง
หมายถึงเข้าไปมีส่วนร่วมอยู่ในเกือบทุกเรื่อง แต่ว่าน
หางจระเข้ที่ปลูกกันทั่วไปในประเทศไทยจะมีปริมาณ
น้ายางน้อยมากจนไม่สามารถนามาทาเป็นยาดาได้แต่ถ้า
ปลูกบริเวณชายทะเลจะพบว่ามีน้ายามากขึ้น ยาดาจึง
ต้องนาเข้าจากต่างประเทศ
• การใช้ว่านหางจระเข้เป็นเวลานาน ๆติดต่อกัน ทั้งโดย
การรับประทานหรือใช้ทาภายนอก อาจเกิดอาการแพ้
เป็นผื่นคันได้จึงไม่ควรใช้ติดต่อกันนาน ๆ
การนาน้าเมือกหรือวุ้นจากใบมาใช้ต้องระมัดระวัง
ไม่ให้ยางซึ่งอยู่บริเวณเปลือกปนมา เพราะอาจทาให้
เกิดการระคายเคืองได้และในการนาเมือกและวุ้นมา
ใช้ต้องระวังเรื่องความสะอาดเพราะอาจนาเชื้อไปติด
แผลได้(แม้เมือกจะมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียอยู่บ้างก็
ต้องใช้ในความเข้มข้นสูง)
วุ้นจากว่านหางจระเข้เป็นสารที่ไม่คงตัว สลายได้ง่าย
และรวดเร็วจึงควรใช้สด ๆ หรือเก็บไว้ในตู้เย็น และ
ควรจะเก็บในใบมากกว่าขูดเก็บไว้และแม้ว่าวุ้นจากว่า
หางจระเข้จะมีสรรพคุณหลายอย่างตามที่โฆษณากัน
แต่ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่มีจาหน่ายในท้องตลาดก็มิได้มี
การวิเคราะห์ตรวจสอบว่า วุ้นว่านหางจระเข้ที่ออก
ฤทธิ์เหลืออยู่หรือไม่ หรือเสื่อมสลายไปหมดแล้ว
เพราะถ้าสลายไปหมดแล้วก็ไม่มีประโยชน์ที่ต้องการ
• ชื่อวงศ์ ZINGIBERACEAE
• ชื่อสกุล Curcuma
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Curcuma longa L.
• ชื่อพ้อง Curcuma domestica Valeton.
• ชื่อสามัญ Turmeric
• ชื่อพื้นเมืองอื่น ขมิ้นแกง, ขมิ้นหยอก, ขมิ้นหัว
(เชียงใหม่) ; ตายอ (กะเหรี่ยง-กาแพงเพชร); สะยอ
(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); ขมิ้นชัน (ภาคกลาง,
พิษณุโลก) ;
• ขี้มิ้น, หมิ้น (ภาคใต้) ; ขมิ้น (ทั่วไป)
เหง้าหัวหรือลาต้นใต้ดิน รสฝาดหวานเอียน แก้ไข้เรื้อรัง
แก้โรคผิวหนัง แก้เสมหะและโลหิตแก้ท้องร่วงสมานแผล
แก้ธาตุพิการขับผายลม แก้ผื่นคัน, น้าคั้นจากเหง้าสกแก้
แผลถลอกแก้โรคผิวหนังผื่นคัน ลดการอักเสบทาให้
ผิวพรรณผุดผ่อง
ขมิ้นสด โขลกกับดินประสิวเล็กน้อย
ผสมน้าปูนใส พอกบาดแผลและแก้เคล็ด ขัด ยอก,
เผาไฟแล้วโขลกรวมกับน้าปูนใส
รับประทานแก้ท้องร่วง แก้บิด
ผงขมิ้น เคี่ยวกับน้ามันพืช
ทาน้ามันใส่แผลสด
ผสมน้าทาผิว แก้เม็ดผดผื่นคัน
รักษาฝี แผลพุพอง โดยใช้เหง้าขมิ้นสดยาวประมาณ
๒ นิ้ว หรือหนักประมาณ ๑๕ กรัม ล้างให้สะอาด
นามาฝนกับน้าต้มสุกปริมาณเล็กน้อยให้มีความข้น
ใช้ทาและพอบริเวณที่เป็นวันละ ๓ ครั้ง หรือใช้ผง
ขมิ้นโรยทาบริเวณที่เป็นฝี หรือแผลพุพองก็ได้
รักษาเม็ดผด ผื่นคัน ในเด็ก โดยใช้เหง้าขมิ้นแก่สด
ประมาณ ๑๕ กรัม ล้างให้สะอาดหั่นบาง ๆ ตาก
แดดให้แห้ง นามาบดให้เป็นผงละเอียดใช้ทาบริเวณ
ที่เป็นผื่นคันตามร่างกาย ๒ เวลา เช้า-เย็น หรือ
จนกว่าจะหาย
รักษาแผลพุพอง ที่หนังศีรษะ
โดยใช้เหง้าขมิ้นแก่สดประมาณ ๑๕ กรัม ล้างให้
สะอาด หั่นบาง ๆ แล้วนามาบดให้ละเอียดผสมกับ
สารส้มเล็กน้อยและน้ามันมะพร้าวพอให้แะะ
ใช้ทาและพอกบริเวณที่เป็น ๒ เวลา เช้า-เย็น หรือ
จนกว่าจะหาย
• ชื่อวงศ์ FABACEAE(LEGUMINOSAE-
CAESALPINIOIDEAE)
• ชื่อสกุล Senna
• ชื่อวิทยาศาสตร์ Senna alata (L.) Roxb.
• ชื่อพ้อง Cassiaalata L.
• ชื่อสามัญ Candelabrabush, Ringworn bush.
• ชื่อพื้นเมืองอื่น ชุมเห็ดใหญ่, ตะสีพอ (กะเหรี่ยง-
แม่ฮ่องสอน)ขี้คาก, ลับมืนหลวง, หมากกะลิงเทศ
(ภาคเหนือ) ; ชุมเห็ดเทศ (ภาคกลาง,ภาคใต้)
รสและสรรพคุณในตำรำยำ
ทั่วไป
• ใบ รสเบื่อเอียด บดผสมกระเทียมหรือน้าปูนใสทาแก้
กลาก เกลื้อน โรคผิวหนัง ฝี และพุพอง
ดอก รสเอียน ใช้เป็นยาระบาย ยาถ่าย ถ่ายพยาธิลาไส้
ฝัก และเมล็ด รสเอียดเบื่อ แก้พยาธิ เป็นยาระบาย ขับ
พยาธิตัวตืด พยาธิไส้เดือน
ต้น รสเบื่อเอียน ใช้ขับพยาธิในท้อง
ต้น รำก ใบ รสเบื่อเอียน แก้กระษัยเส้น ทาให้หัวใจปกติ
แก้ท้องผูก ขับปัสสาวะ
รสเบื่อเอียน แก้กลากเกลื้อน โรคผิวหนัง แก้ท้องผูก
ดอกสดใบสดหรือใบแห้ง
รสและสรรพคุณ
ในตาราเภสัชกรรมแพทย์แผนไทย
• รักษาฝี และแผลพุพอง โดนใช้ใบและก้านสด๑ กา
มือ หรือประมาณ ๒๐ กรัม ล้างให้สะอาดต้มในน้า
สะอาด / ลิตร แล้วนามาเคี่ยวให้เหลือ ๑ ใน ๓ นามา
ชะล้างแผลบริเวณที่เป็นวันละ ๒ ครั้ง เช้า-เย็น กรณีที่
เป็นมากใช้ใบและก้าน ๑๐ กามือ ต้มอาบ
• ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ : เทียนดอก เทียนไทย เทียนสวน
(ภาคกลาง)
• ชื่ออังกฤษ : Garden Balsam
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Impatiensbalsamina Linn.
• วงศ์ : Balsaminaceae
• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : พืชล้มลุกสูง 20-70 ซม.
ลาต้นอวบน้า สีเขียวอ่อน เนื้อใสและโปร่งแสงใบ
เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับเวียนรอบลาต้น ใบรูปยาวเรียว
ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย ดอกเป็นดอกเดี่ยวหรือ
ออกเป็นช่อ 2-3 ดอก ออกที่ซอกใบ ดอกมีหลายสี
เช่น ขาว ชมพูแดง หรือมีหลายสีผสมกัน ผลเป็นผล
แห้งรูปรี เมื่อแก่จัดจะแตกเป็นริ้วตามยาวของผลและ
ม้วนขมวด เมล็ดกลม
• ส่วนที่นามาใช้ประโยชน์ : ใบสด
• ใช้รักษากลาก และฮ่องกงฟูต
• จากการวิจัยพบว่า สารสกัดแอกอฮอล์ของใบ
เทียนบ้านมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคผิวหนัง
กลาก และฮ่องกงฟูตได้ทั้งนี้เนื่องจากฤทธิ์ของสาร
ลอโซนที่มีอยู่ในใบ มีผู้ทอลองเตรียมครีมของสาร
บริสุทธิ์ที่สกัดจากใบเทียนบ้านความเข้มข้น 0.5%
พบว่าให้ผลในการห่าเชื้อกลากและฮ่องกงฟูตได้ดี
• ใช้พอกแก้เล็บขบ รักษาฝี และแผลพุพอง
• ในตารายาไทยใช้ใบสดตาให้ละเอียดพอกแก้เล็บขบ
และใช้ทาบริเวณที่เป็นฝี และแผลพุพอง
• วิธีใช้ ใช้ใบสดประมาณ 1 กามือ ล้างสะอาดตาให้
ละเอียด พอกบริเวณที่เล็บขม น้าคั้นใช้ทาบริเวณที่
เป็นฝี และแผลพุพองวันละ 3 ครั้ง
ชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ : น้าลายพังพอน ฟ้าทะลาย(กรุงเทพฯ),
หญ้ากันงู (สงขลา), ฟ้าสาง (พนัสนิคม),เขตตายยายคลุม (โพ
ธาราม), สามสิบดี (ร้อยเอ็ด), เมฆทะลาย (ยะลา),ฟ้าสะท้าน
(พัทลุง)
ชื่ออังกฤษ : -
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Andrograhispaniculata (Burm.F.) Nees
วงศ์ : Acanthaceae
• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุกสูง 1-2 สอก
ลาต้นเป็นสี่เหลี่ยม แตกกิ่งก้านสาขามากใบเป็นใบ
เดี่ยว ออกตรงข้าม ตัวใบยาวรี ปลายใบแหลม ดอก
ออกที่ยอดและตามง่ามใบดอกเป็นช่อเล็กๆ กลีบ
ดอกสีขาว โคนกลีบดอกติดกันปลายแยกออกเป็น 2
ปาก ปากบนมี 3 กลีบ มีเส้นสีแดงตามยาวปากล่างมี 2
กลีบ ผลเป็นฝักสีเขียวอมน้าตาล ปลายแหลม เมื่อผล
แก่จะแตกเป็น 2 ซีก ดีดเมล็ดออกมาทั้งต้นมีรสขม
• ใช้รักษาโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันและบิดไม่มีตัว
ได้มีการทดลองด้านคลินิกโดยให้คนไข้อุจจาระร่วง
เฉียบพลัน 200 รายรับประทานผงกิ่งและใบฟ้าทะลาย
โจรที่บรรจุแคปซูล ปรากฏว่าสามารถรักษาโรค
อุจจาระร่วงเฉียบพลันดีมากดีกว่าการใช้เตรตรา
ไซคลิน ทั้งนี้เพราะฟ้าทะลายโจรสามารถยับยั้ง
การเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียในลาไส้ที่ทาให้เกิด
โรคท้องเสียได้
• ใช้แก้เจ็บคอ
• กระทรวงสาธารณสุขได้แนะนาให้ประชาชนปลูกฟ้า
ทะลายโจรไว้ใช้เพื่อช่วยตัวเอง เพื่อใช้แก้อาการเจ็บ
คอ ในต้นและใบฟ้าทะลายโจรสามารถยับยั้งการ
เจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของการติด
เชื้อและอาการอักเสบได้ได้มีการทดลองกับคนไข้ที่
เป็นโรคเจ็บคอแล้วได้ผลน่าพอใจ
• วิธีใช้ การใช้ฟ้าทะลายโจรเพื่อรักษาอาการท้องร่วง
บิด และอาการเจ็บคอมีวิธีใช้ได้ดังนี้
• 1. ใช้ในรูปยาต้ม ใช้ใบและลาต้นฟ้าทะลายโจรสด
สับเป็นท่อนสั้น ๆ 1-3 กามือ (แก้อาการเจ็บคอใช้เพียง
1 กามือ) ต้มกับน้านาน 10-15 นาที ใช้น้าดื่มก่อน
อาหารวันละ 3 ครั้ง หรือดื่มเมื่อเวลามีอาการท้องร่วง
ยาต้มฟ้าทะลายโจรจะมีรสขมมาก
• 2. ยาลูกกลอน นาใบและกิ่งฟ้าทะลายโจรมาล้างให้
สะอาด ผึ่งลมให้แห้งบดเป็นผงปั้นกับน้าผึ้งเป็นยา
ลูกกลอนขนาดเท่าปลายนิ้วก้อย ใช้รับประทานครั้ง
ละ 3-6 เม็ด วันละ 3-4 ครั้ง ก่อนอาหารและก่อนนอน
3. ยาแคปซูล ผงฟ้าทะลายโจรมาบรรจุแคปซูล ๆ ละ
500 มิลลิกรัม รับประทานครั้งละ2 แคปซูล วันละ 2
ครั้งก่อนอาหารเช้า-เย็น
4. ยาดองเหล้า นาใบและลาต้นฟ้าทะลายโจรที่แห้ง
แล้ว ทาให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ในขวดแก้ว แช่ด้วยเหล้า
โรง 40 ดีกรี พอให้ท่วมยาเล็กน้อย ปิดฝาให้แน่น เขย่า
ขวดหรือคนยาวันละครั้ง พอครบ 7 วัน กรองเอาแต่
น้าเก็บไว้ในขวดสะอาดและปิดมิดชิดใช้รับประทาน
ครั้งละ 1-2 ช้อนโต๊ะ วันละ 3-4 ครั้งก่อนนอนอาหาร
• ลักษณะพฤกษศาสตร์
• ไม้ล้มลุก(H) ลาต้นเลื้อยทดไปตามดิน มีหัว
ใต้ดิน เนื้อในหัวสีขาว
• ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับเวียนรอบลาต้น
ลักษณะใบรูปใบหอกกลับขอบใบหยักลักษณะต่างๆ
โดยรอบคล้ายกับใบเหงือกปลาหมอ หลังใบสีม่วงเข้ม
มีขน เส้นใบเขียว ท้องใบสีเขียวแกมเทา
• ดอก ออกดอกเป็นช่อที่ปลายยอดลักษณะ
เป็นกระจุกสีเหลืองเล็กๆ เป็นฝอยคล้ายดอกดาวเรือง
ชูก้านสูงขึ้นจากพื้นดิน
• ผล เป็นผลแห้งไม่แตก
ใบ รสเย็น โขลกผสมกับสุรา
พอกดับพิษฝี หรือพอกหัว
ลามะลอกทาให้ถอนพิษแก้ปวด
แสบปวดร้อน
หัวใต้ดิน รสเย็น
รับประทานดับพิษกาฬ
พิษร้อน แก้ไข้พิษ
เซื่องซึม ระส่าระสาย
แก้พิษอักเสบ
รสเย็น ใบสดใช้พอกฝี หัวลามะลอก
ถอนพิษ บรรเทาอาการปวดแสบ
ปวดร้อนกระสับกระส่าย
รักษาพิษอักเสบ
ส่วนที่ใช้เป็นยา
หัวใต้ดิน
• รักษาฝี และแผลพุพอง
โดยเอาหัวว่านมหากาฬ 1-3 หัว
หรือหนักประมาณ 1-10 กรม
ล้างให้สะอาดโขลกหรือ
ฝนกับน้าปูนใสให้ข้น
ใช้ทาและพอกบริเวณที่เป็น
บ่อยๆ จนกว่าจะหาย
ชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ : ว่านไฟไหม้(ภาคเหนือ),
หางตะเข้(ภาคกลาง)
ชื่ออังกฤษ : Aloe
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aloe berbadensisMill.
ชื่อพ้อง : A. vera Linn.
วงศ์ : Liliaceae
• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : พืชล้มลุกอายุ
หลายปี ลาต้นสั้น ใบเป็นใบเดี่ยวออกเป็นหระ
จุกที่ปลายลาต้น สรูปร่างยาว ปลายใบแหลม
ขอบใบมีหนามแหลม ผิวใบมีจุดด่างขาว ใบ
หนาอวบน้า ภายในมีวุ้นใส มีน้าเมือกเหนียว
ๆใต้ผิวสีเขียวมีน้ายางสีเหลือง ออกดอกเป็น
ช่อ ออกจากกลางต้น ดอกย่อยเป็นหลอดห้อย
ลงสีส้มหรือแดงอมส้ม บานจากส่วนล่างขึ้น
ส่วนบน ผลเป็นผลแห้งแตกได้
วุ้นในใบ ยางสี
เหลืองจากใบ
ว่านหางจระเข้เป็นพืชที่นิยมปลูกตามบ้านเรือน
เพื่อใช้เป็นไม้ประดับและเป็นยาเดิมเป็นพืชเมืองของ
ทวีปแอฟริกา แต่ได้มีการนาเข้ามาปลูกในประเทศที่มี
อากาศร้อนทั่ว ๆ ไป ในตารายาไทยใช้น้ายางสีเหลือง
จากใบเดี่ยวให้แห้งจะได้ยาดาใช้เป็นยาระบาย แต่
พันธุ์มีปลูกในประเทศไทยมีปริมาณน้ายางน้อยว่าน
หางจระเข้ชอบแดดราไร
• มีผลิตภัณฑ์ที่ทาจากว่านหางจระเข้ขายในตลาด
มากมายโดยเฉพาะประเภทเครื่องสาอางเช่น ครีม
บารุงผิวหนัง แชมพูครีมนวดผม ครีมกันแดด ครีมกัน
ฝ้า นอกจากนี้ยังมีจาหน่ายในรูปอาหารเสริมโดยทา
เป็นเครื่องดื่มและวุ้นแช่อิ่ม
1. วุ้นสดหรือเมือกจากใบ ใช้รักษาแผลไฟไหม้น้าร้อน
ลวก แผลไหม้เกรียมจากแสงแดดและแผลไฟไหม้ที่เกิด
จากการฉายรังสี จากการวิจัยทั้งในสัตว์ทดลองและใน
คนไข้พบว่าวุ้นสดและเมือกจากใบว่าหางจระเข้สามารถ
รักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก และแผลที่เกิดจากการฉาย
รังสีได้ผลดีมาก โดยทาให้หายปวดแสบปวดร้อน ผิวหนัง
จะไม่พอง แผลจะค่อยๆ แห้งและตกสะเก็ดหลุดออกไม่มี
ลอยแผลเป็น นอกจากนี้ยังพบว่ามีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่
เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิด ฝี หนอง ฤทธิ์ช่วยบดอาการอักเสบ
และเร่งการเจริญเติบโตของเซลล์ที่บาดแผลทาให้แผลหาย
เร็วยิ่งขึ้นอีกด้วย
วิธีใช้ เลือกใช้ใบล่างสุดของต้นก่อนนามาล้างให้สะอาด
ปอกเปลือกสีเขียวออก ล้างน้ายางเหลืองออกให้หมดเพราะ
อาจจะทาให้ระคายเคืองผิวหนังและทาให้มี
อาการแพได้ขูดเอาวุ้นใสปิดพอพบริเวณแผลหรือฝาน
เป็นแผ่นบางๆ ปิดที่แผล พันด้วยผ้าพันแผลที่สะอาดจะทา
ให้รู้สึกเย็น หายปวดแสบปวดร้อน เปลี่ยน วันละ 2 ครั้ง
เช้า – เย็น จนกว่าแผลจะหาย
2. ใช้รักษาแผลในกระเพาะอาหาร
จากการวิจัยในสัตว์ทดลองและในคนไข้พบว่าเมือก
และวุ้นจากใบว่าหางจระเข้เมื่อให้โดยรับประทาน
สามารถป้องกันและรักษาแผลในกระเพาะอาหารได้
3. ฤทธิ์ต่อต้านการอักเสบ
จากการวิจัยในคนไข้โรคเหงือกอักเสบ พบว่าสารสกัด
จากใบว่านหางจระเข้สามารถลดอาการอักเสบได้
4. ใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องสาอางหลายชนิด
• เมือกและวุ้นจากใบว่านหางจระเข้นิยมผสมลงในเครื่อง
องสาอางหลายชนิดเช่น ครีมบารุงผิว แชมพูครีมนวด
ผม เพื่อบารุงให้ผิวหนังนุ่มไม่หยาบกร้าน ผมนิ่มดกดา
• สารอะโลอิน (aloin) ซึ่งเป็นสารสาคัญจากใบว่าหาง
จระเข้สามารถดูดแสงอัลตราไวโลเลตซึ่งมีในแสงแดดได้
แสงอัลตราไวโลเลตเป็นตัวการที่ทาให้ผิวหนังไหม้
เกรียมเมื่อถูกแดดนาน ๆ จึงใช้น้ายางผสมในครีมกันแดด
เพื่อป้องกันไม่ให้ผิวหนังไหม้นอกจากนี้ยังมีรายงานว่า
สารอะโลอินและสารอื่นๆน้ายางมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์โท
โรซิเนส (Tyosinase enzyme) ที่มีอยู่ใต้ผิวหนังได้ถ้ามี
เอนไซม์ชนิดนี้มากเกินไปจะมีผลทาให้ผิวหนังเกิดจุดด่าง
ดาได้จึงใช้ว่าหางจระเข้ผสมในครีมกาจัดฝ้าและรอยด่าง
ดาบนผิวหนัง
5. ใช้เตรียมยาดาซึ่งใช้เป็นยาระบาย – ยาถ่าย
ยางสีเหลืองจากบริเวณเปลือกใบมีฤทธิ์เป็นยาถ่าย
นามาเตรียมเป็นยาดาโดยตัดใบตรงโคนติดกับลาต้น
แล้วนามาผูกห้อยลงให้ยางไหลลงในภาชนะที่รองรับ
แล้วนาไปเคี่ยวให้ข้น ตั้งทิ้งไว้ให้เย็นจะเกาะเป็นก้อน
แข็งสีดาเรียกว่า ยาดาใช้เป็นส่วนประกอบในยาไทย
หลายตารับจนมีคาพังเพยว่า “แทรกเหมือนยาดา” ซึ่ง
หมายถึงเข้าไปมีส่วนร่วมอยู่ในเกือบทุกเรื่อง แต่ว่าน
หางจระเข้ที่ปลูกกันทั่วไปในประเทศไทยจะมีปริมาณ
น้ายางน้อยมากจนไม่สามารถนามาทาเป็นยาดาได้แต่ถ้า
ปลูกบริเวณชายทะเลจะพบว่ามีน้ายามากขึ้น ยาดาจึง
ต้องนาเข้าจากต่างประเทศ
• การใช้ว่านหางจระเข้เป็นเวลานาน ๆติดต่อกัน ทั้งโดย
การรับประทานหรือใช้ทาภายนอก อาจเกิดอาการแพ้
เป็นผื่นคันได้จึงไม่ควรใช้ติดต่อกันนาน ๆ
การนาน้าเมือกหรือวุ้นจากใบมาใช้ต้องระมัดระวัง
ไม่ให้ยางซึ่งอยู่บริเวณเปลือกปนมา เพราะอาจทาให้
เกิดการระคายเคืองได้และในการนาเมือกและวุ้นมา
ใช้ต้องระวังเรื่องความสะอาดเพราะอาจนาเชื้อไปติด
แผลได้(แม้เมือกจะมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียอยู่บ้างก็
ต้องใช้ในความเข้มข้นสูง)
วุ้นจากว่านหางจระเข้เป็นสารที่ไม่คงตัว สลายได้ง่าย
และรวดเร็วจึงควรใช้สด ๆ หรือเก็บไว้ในตู้เย็น และ
ควรจะเก็บในใบมากกว่าขูดเก็บไว้และแม้ว่าวุ้นจากว่า
หางจระเข้จะมีสรรพคุณหลายอย่างตามที่โฆษณากัน
แต่ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่มีจาหน่ายในท้องตลาดก็มิได้มี
การวิเคราะห์ตรวจสอบว่า วุ้นว่านหางจระเข้ที่ออก
ฤทธิ์เหลืออยู่หรือไม่ หรือเสื่อมสลายไปหมดแล้ว
เพราะถ้าสลายไปหมดแล้วก็ไม่มีประโยชน์ที่ต้องการ
Text
Text
Text
Text
Text
ตาลึง
• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
• ไม้เถาล้มลุก (HC)ลาต้นเล็ก เกลี้ยง เลื้อยพาด
พันไม้อื่นโดยมีมือเกาะ มือเกาะไม่แยกแขนงแตก
กิ่งก้านสาขากว้างขวาง เถามีสีเขียวอมขาว พอเถาแก่มี
สีเทา ขรุขระเล็กน้อย
• ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกัน ลักษณะใบ
ค่อนข้างกลมมี 3-5 แฉก ผิวเรียบเป็นมัน ก้านใบสั้น
โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบจักแบบฟันเลื่อยเล็กๆ
หักเป็นมุม 5 มุม หรือเว้าลึกแฉก 5 แฉก ปลายใบเป็น
ติ่งแหลมมีเส้นใบออกจากจุดเดียวกันที่โคนใบ 5-7
เส้น
• ดอก ออกดอกเดี่ยวหรือออกเป็นคู่ที่ซอกใบ ดอกใหญ่
สีขาวทรงกระบอกหัวแฉกดอกเพศผู้และดอกเพศเมีย
อยู่คนละต้นกัน แต่ลักษณะคล้ายคลึงกันก้านดอกสั้น
ดอกสีขาว กลีบดอกโคนเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย
• ผล มีรูปร่างคล้ายแตงกว่า ลักษณะรูปไข่กลับหรือ
ขอบขนานมีจะงอยแหลม เมื่ออ่อนมีสีเขียว เมื่อแก่จัก
ผิวเนื้อมีสีแดงสด
• เมล็ด มีจานวนมาก รูปไข่กลับแกมขอบขนาน แบน
เปลือกแข็ง
ใบ รสเย็น ใบของต้นเพศผู้ใช้
ผสมเป็นยาเขียว ช่วยลดไข้
ทาถอนพิษ ขับเสมหะ แก้คัน
และปวดแสบปวดร้อน
ดอก รสเย็น โขลกเป็นยา
ทาแก้คัน แก้ไข้ทั้งปวง
หยอดตาแก้ริดสีดวงตา
ผล รสเย็น แก้ไข้หอบ
ไข้อีเสา และแก้ฝีดาษ
ต้นหรือเถาน้ายาจากต้น
เป็นยาเย็น ช่วยดับพิษ
ใช้หยอดตา แก้อับเสบ
ผสมน้าคั้นจากว่านน้าใช้
ดื่มแก้อาการวิงเวียน
มึนงงศีรษะและลดไข้
ทั้งต้น (เถา ราก ใบ)
รสเย็น นามาใช้เป็น
ยารักษาโรคผิวหนัง
โรคเบาหวาน แก้หลอดลม
อักเสบ และลดระดับ
น้าตาลในเลือด
ราก รสเย็น น้าต้นราก
เป็นยาเย็น ลดไข้
ถอนพิษและแก้อาเจียน
เผาเป็นเถ้าใช้ทาแผล
ผงของเปลือกราก
รับประทานเป็นยาระบาย
• รสและสรรพคุณในตาราเภสัชกรรมแพทย์แผนไทย
ใบสด รสเย็น โขลกคั้นเอาน้า แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย
ที่ทาให้ปวดแสบปวดร้อน และคัน
• อาการและวิธีการนาไปใช้
รักษาอาการแพ้อักเสบแมลงสัตว์กัดต่อยเช่น ยุงกัด
ถูกตัวบุ้ง ใบตาแย แพ้ละอองข้าว โดยใช้ใบสด 1 กา
มือหรือประมาณ 15 กรัม ล้างน้าให้สะอาดโขลกให้
ละเอียดผสมน้าเล็กน้อยแล้วคั้นน้าจากใบเอามาทา
บริเวณที่มีอาการ พอน้าแห้งแล้วทาช้าบ่อยๆจนกว่า
จะหาย
• ชื่อวงศ์ CONVOLVULACEAE
• ชื่อสกุล lpomoea
• ชื่อวิทยาศาสตร์ lpomoea pes-caprae (L.) R.Br.
• ชื่อสามัญ -
• ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ ผักบุ้งทะเล (ภาคกลาง); ละบู
เลาห์ (มลายู-นราธิวาส)
• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ล้มลุก(CrH) มีลาต้นทอดคลานไปตามพื้นดินได้
ยาวมาก มีรากที่ข้อ รากนั้นเป็นรากแก้วใหญ่ ลาต้น
เป็นสันเกลี้ยงสีเขียวปนแดง และมียางขาว
• ใบ เป็นใบเดี่ยว มักแตกออกจากลาต้นด้านเดียวออก
เรียงสลับลักษณะใบรูปไข่หรือรูปไข่กลับหรือรูปไต
ปลายใบจักเป็นแฉกลึกถึงกึ่งกลางใบปลายแฉกกลม
โคนใบสอบแคบเป็นรูปหัวใจหรือสอบเรียวไปยังก้าน
ใบ เนื้อใบหนา ผิวเป็นมัน และกรอบน้า แผ่นใบเรียว
สีเขียว ก้านใบยาวสีแดง
• ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบ4-6 ดอก ก้านช่อยาวแข็ง
เป็นเหลี่ยมหรือแบน ใบประดับรูปหอกแกมรูปไข่
หลุดร่วงง่าย กลีบรองกลีบดอกชั้นนอกรูปไข่หรือวงรี
กลีบรองกลีบดอกชั้นในรูปวงกลมกลีบดอกเชื่อม
ติดกันเป็นรูปปากแตร เกลี้ยง สีชมพูหรือสีม่วงอมแดง
หรือสีม่วง ที่โคนด้านในสีเข้มกว่า
ผล ลักษณะรูปทรงกลมหรือรูปวงรี เล็ก ผิวเรียบ ผล
แห้งแตกออกได้
เมล็ด มี 4 เมล็ด สีดา และมีขนสีดาหนาแน่นปกคุม
อยู่รอบ ๆ เมล็ด
• ใบ รสขื่นเย็น ใชทาภายนอกแก้โรคไขข้ออักเสบ แก้
อาการจุกเสียด น้าต้นใช้ล้างแผลน้าคั้นต้มกับมะพร้าว
ทาเป็นขี้ผึ้งทาแผลทุกชนิดและแผลเรื้อรังต้มอาบ
รักษาโรคผิวหนัง
• ทั้งต้น รสขื่นเย็น ถอนพิษลมเพลมพัด เป็นยาสมาน
เจริญอาหาร ต้มอาบแก้อาการผื่นคันตาม ผิวหนัง น้า
คั้นแก้พิษแมงกะพรุน
• เมล็ด รสขื่น แก้ตะคริว แก้ปวดท้อง เป็นยาระบาย
• ราก รสขื่นเย็น ขับปัสสาวะในกระเพาะปัสสาวะ
อักเสบ แก้โรคเท้าช้าง ปวดฟัน ผด ผื่นคันที่มี
น้าเหลือง
• รสขื่นเย็น ถอนพิษลมเพลมพัด (อาการบวมเปลี่ยนที่
ไปตามอวัยวะทั่วๆไป) ต้มอาบแก้คันตามผิวหนัง ยาง
มีพิษรับประทานแล้วเมาคลื่นไส้ วิงเวียน
• รักษาอาการแพ้อักเสบ แมลงกัดต่อย(โดยเฉพาะพิษ
ของแมงกะพรุน)โดยใช้ใบและเถาสด 1 กามือ ล้างน้า
ให้สะอาดโขลกให้ละเอียด คั้นน้าทาบริเวณที่บวม
แดงบ่อย ๆ
ชื่อวงศ์ ACANTHACEAE
ชื่อสกุล Clinacanthus
ชื่อวิทยาศาสตร์ Clinacanthusnutans (Burm.f.) Lindau
ชื่อสามัญ -
ชื่อพื้นเมืองอื่นผักมันไก่, ผักลิ้นเขียด (เชียงใหม่) ;
พญาปล้องคา (ลาปาง) ; โพะโซ่จาง (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
; เสลดพังพอนตัวเมีย (พิษณุโลก) ; พญาปล้องดา
,พญาปล้องทอง (ภาคกลาง) ; พญายอ (ทั่วไป)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้เถาล้มลุก (HC) มีลักษณะเป็นพุ่มแกมเลื้อยเถา
มักจะเลื้อยพาดไปตามต้นไม้อื่นๆ ลาต้นกิ่งก้าน
เกลี้ยง เป็นปล้องอ่อน ต้นอ่อน จะเป็นสีเขียว แตกกิ่งก้านดกทึบ
ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ลักษณะ
ใบรูปใบหอกยาวแคบๆ ปลายใบยาวแหลม ไม่มีหนาม
โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบสีเขียว
ดอก ออกดอกเป็นกระจุกตรงปลายกิ่งกลีบรองกลีบดอก
สีเขียวยาวเท่าๆ กัน มีขนเป็นต่อมเหนียวๆ อยู่โดยรอบ
กลีบดอกเป็นหลอดปลายแยกป็น 2 กลีบ คือ กลีบบน
และกลีบล่าง สีแดงอมส้ม
ผล เป็นผลแห้ง ลักษณะรูปวงรี แตกออกได้เมล็ดแบน
รสและสรรพคุณในตารายาทั่วไป
ใบ รสจืดเย็น ใช้ดับพิษไฟลวก น้าร้อนลวก
ทั้งต้น รสจืดเย็น แก้พิษงู พิษแมลงสัตว์กัดต่อย
แก้เริม แก้บิด ถอนพิษไข้ไฟลามทุ่ง
โขลกกับดินประสิวเล็กน้อย
ผสมเหล้าขาวคั้นเอาน้าดื่มและเอากากฟอก
ราก รสจืดเย็น ฝนทาแก้พิษงู ตะขาบ แมงป่อง
รสและสรรพคุณในตาราเภสัชกรรมแพทย์แผนไทย
ใบ รสจืด รักษาอาการอักเสบเะพาะที่
ส่วนที่ใช้เป็นยา
ใบ
ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา
เก็บขนาดกลางที่สมบูรณ์ไม่แก่หรืออ่อนจนเกินไป
ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ : เสลดพังพอนตัวผู้ชองระอา
พิมเสนต้น (ภาคกลาง)
ชื่ออังกฤษ : -
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Barleria lupulina Lindl.
วงศ์ : Acanthaceae
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 1 เมตร
แตก กิ่งก้านสาขามากมีหนามแหลมยาวตามข้อ กิ่งก้าน
สีน้าตาลแดงใบเป็นใบเดี่ยวรูปยาวเรียว ปลายแหลม
มีเส้นกลางใบสีแดงผิวใบเรียบมันสีเขียวเข้ม
ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งช่อดอกยาวประมาณ 8 ซม.
เมื่อดอกยังอ่อนมีใบประดับหุ้มมิดเมื่อดอกบานจะโผล่พ้น
ใบประดับขึ้นมา ใบประดับค่อนข้างกลมขนาดใหญ่สีน้าตาลแดง
กลีบดอกสีเหลืองส้มโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด
ปลายแยกเป็น 2 ปาก ปากบนมีกลีบขนาดใหญ่ 4 กลีบ
ปากล่างเล็กกว่ามี 1 กลีบ ผลเป็นฝัก รูปไข่
ฤทธิ์และประโยชน์ทางยา :
ใบสด ใช้รักษาอาการแพ้อักเสบ
ถอนพิษแมลงกัดต่อย แก้ลมพิษรักษา
เม็ดผื่นคันตามผิวหนังแก้แผลอักเสบ
และแก้ฝี
วิธีใช้ ใช้ใบสด 1 กามือ ล้างให้สะอาด
ตาให้ละเอียดผสมเหล้าเล็กน้อยใช้
ฟอกหรือทาฝี ทาแผลอักเสบที่เกิดจาก
แมลงกัดต่อยและเริม
รสและสรรพคุณในตารายาทั่วไป
ราก ใช้รักษาโรคเอดส์
ใบ รสเผ็ดเมา แก้ปวดฟัน แก้รามะนาด
แก้ปากเหม็น ขับลมในลาไส้ แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ
แก้ปวดท้อง ท้องเสีย กระตุ้นให้กระปรี้กระเปร่า,
ใช้ภายนอกแก้ปวดบวมฟกซ้า ฆ่าเชื้อโรค
แก้การอักเสบของเยื่อจมูกและคอ แก้กลาก
แก้น้ากัดเท้า แก้คัน แก้ลมพิษ
น้าคั้นจากใบสด รสเผ็ด เป็นยาขับลม
และทาแก้ลมพิษ โดยโขลกให้ละเอียดผสมสุรากลั่นทาบริเวณที่เป็น
น้าคั้นจากใบสด รสเผ็ด เป็นยาขับลม
และทาแก้ลมพิษโดยโขลก
ให้ละเอียดผสมสุรากลั่น
ทาบริเวณที่เป็น
รสและสรรพคุณในตาราเภสัชกรรม
แพทย์แผนไทย
รสเผ็ด เป็นยาฆ่าเชื้อโรค ขับลม
แก้ลมพิษ คนสูงอายุใช้ทาปูนแดง
รับประทานกับหมาก

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie โรคผิวหนังแนวตั้ง

ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
KM117
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
Wichai Likitponrak
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01
toonkp_shadow
 
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
khuwawa
 

Ähnlich wie โรคผิวหนังแนวตั้ง (20)

ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพร
 
โครงงานผลไม เพ _อส_ขภาพpdf
โครงงานผลไม เพ _อส_ขภาพpdfโครงงานผลไม เพ _อส_ขภาพpdf
โครงงานผลไม เพ _อส_ขภาพpdf
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
 
โครงงานสะเดา
โครงงานสะเดาโครงงานสะเดา
โครงงานสะเดา
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุสำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจ
 
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
สมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
สมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสนสมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
สมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
 
HERB
HERBHERB
HERB
 

โรคผิวหนังแนวตั้ง