SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 7
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1

                                           บทที่ 1

                                            บทนา

ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา

           การศึกษานับว่าเป็นรากฐานที่สาคัญที่สุดประการหนึ่งในการสร้างสรรค์ความเจริญ
ก้าวหน้าและแก้ปัญหาต่าง ๆ ในสังคมได้ เนื่องจากการศึกษาเป็นกระบวนการที่ช่วยให้คนได้
พัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ตลอดช่วงชีวิต ตั้งแต่การวางรากฐานพัฒนาการของชีวิตตั้งแต่แรกเกิด
การพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่จะดารงชีพและประกอบอาชีพได้อย่าง
มีความสุข รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงรวมทั้งพลังสร้างสรรค์ประเทศอย่างยั่งยืนได้ เพื่อให้การจัด
การศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกับสภาพความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคม และความเจริญ
ทางด้านวิทยาการเป็นการสร้างกลยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้สามารถตอบสนอง
ความต้องการของบุคคล สังคมไทย ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและร่วมมือกันอย่าง
สร้างสรรค์ในสังคมโลก เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (กรมวิชาการ. 2544 ก : 3)
           หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี
มีปัญญา มีความสุข และมีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ
จึงกาหนดจุดมุ่งหมาย ซึ่งถือว่าเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คือ เห็นคุณค่าของตนเองมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความรู้อันเป็นสากลรู้เท่าทัน
การเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ มีทักษะและศักยภาพในการจัดการ มีทักษะ
กระบวนการ มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ไทย ภูมิปัญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รักประเทศชาติและท้องถิ่น เป็นต้น (กรมวิชาการ. 2544 ก : 4 ) โดยเฉพาะในมาตรา 24
การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการดังต่อไปนี้
(1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานึง
ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล (2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์
และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา (3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
(5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอานวย
ความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่ง
2

ของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและ
แหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ (6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสาน
ความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ายเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียน
ตามศักยภาพ (สานักงานปฏิรูปการศึกษา. 2542 : 13)
          กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2544 เป็นสาระการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานอาชีพ
และเทคโนโลยี มีทักษะการทางาน ทักษะการจัดการ สามารถนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ
เทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้ในการทางานอย่างถูกต้อง เหมาะสม คุ้มค่า และมีคุณธรรมจริยธรรม
และค่านิยมพื้นฐาน ได้แก่ ความขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด และอดทน อันจะนาไปสู่การให้ผู้เรียน
ช่วยเหลือตนเองและพึ่งตนเองได้ ตามพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง สามารถดารงชีวิตอยู่ใน
สังคมได้อย่างมีความสุข ร่วมมือและแข่งขันในระดับสากลในบริบทของสังคมไทย ซึ่งมี 5 สาระ
ได้แก่ สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2 การอาชีพ สาระที่ 3 การออกแบบและ
เทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทางานและอาชีพ
งานประดิษฐ์เป็นส่วนหนึ่งของสาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครัว ซึ่งเป็นงานที่เกี่ยวกับ
การทางานด้วยการประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้ที่เน้นความคิดสร้างสรรค์ โดยเน้นความประณีต
สวยงาม ตามกระบวนการทางานประดิษฐ์เทคโนโลยี และเน้นการอนุรักษ์และสืบสาน
ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยตามภูมิปัญญาท้องถิ่นและสากล (กรมวิชาการ.
2545 ข : 1-7)
          ดังนั้นจึงถือได้ว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็นกลุ่มสาระหนึ่ง
ที่มีความสาคัญและจาเป็นต่อผู้เรียนไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ในหลักสูตร
และจากประสบการณ์การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยีที่ผ่านมา พบว่า ครูผู้สอนมีปัญหาด้านการวางแผนการเรียนรู้ และการจัดเตรียมสื่อ
การเรียนการสอน รวมทั้งไม่ค่อยมีเวลา เนื่องจากมีภาระงานนอกเหนือจากงานที่สอนมาก และ
เวลาในการเรียนมีน้อย ทาให้งานไม่เสร็จตามความคาดหมาย และนักเรียนขาดคุณลักษณะที่
พึงประสงค์หลายด้าน ได้แก่ ความรับผิดชอบ คิดไม่เป็น จัดการไม่เป็น ไม่ชอบทางานกลุ่ม
ไม่ปรับปรุงงานและทางานไม่เสร็จตามเวลาที่กาหนด (ลาดวน นิรัติศยวานิช. 2546 : 44)
นอกจากนี้แล้ว ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพตาม
หลักสูตรเดิม พบว่า นักเรียนขาดวัสดุในการฝึกปฏิบัติ สื่อการสอนไม่เพียงพอ ผู้ปกครอง
ไม่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนกลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพ ครูไม่มีความรู้เฉพาะทาง
3

ทาให้ไม่มั่นใจในการสอน การนิเทศติดตามยังมีน้อยและผู้บริหารไม่สนับสนุนและไม่เห็น
ความสาคัญเท่าที่ควร (ศิริวิทย์ อ้นคา. 2541 : บทคัดย่อ)
              การที่จะทาให้การเรียนรู้บรรลุเป้าหมายตามหลักสูตรที่กาหนดให้และมีประสิทธิภาพ
จาเป็นต้องมีสื่อหรือนวัตกรรมที่จะเป็นส่วนเพิ่มเติมหรือเสริมสาหรับนักเรียนฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิด
ความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะเพิ่มขึ้น ซึ่งบางครั้งครูผู้สอนไม่สามารถถ่ายทอดด้วยการบรรยาย
ให้เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น และช่วย เร้าความสนใจของผู้เรียนต่อสิ่งที่กาลังศึกษา การเปิดโอกาส
ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ การฝึกการแสดงออก การแสดงความคิดเห็น
การตัดสินใจ และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ช่วยให้ผู้เรียนเป็นอิสระจากอารมณ์ของผู้สอน
เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและช่วยยกระดับความสนใจของผู้เรียนได้ตลอดเวลา ช่วยให้
ผู้เรียนรู้จุดมุ่งหมายของการเรียนอย่างชัดเจน ทาให้ครูทราบความเข้าใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียน
เพิ่มแรงจูงใจในการเรียนของผู้เรียน การใช้หนังสืออ่านประกอบเป็นเทคนิคการจัดการเรียนรู้หนึ่ง
ที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ได้ฝึกการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ได้ด้วยตนเอง การใช้หนังสืออ่าน
ประกอบจึงเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนาความรู้ที่เรียนมาฝึกให้เกิดความเข้าใจและมีทักษะมากขึ้นตาม
ความสามารถของตนเอง ฝึกให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่น ฝึกให้มีความรับผิดชอบต่องาน ที่ได้รับ
มอบหมาย โดยไม่ต้องคานึงถึงเวลาหรือความกดดันอื่น ๆ และสามารถประเมินผลงานของตนเอง
สิ่งที่นามาฝึกทักษะต้องมีในเนื้อหาจากบทเรียนที่เหมาะสมกับวัย ระดับชั้นและความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล (กรมวิชาการ. 2534 : 9)
              สื่อการเรียนการสอนที่น่าสนใจที่มีความเหมาะสมจะนามาพัฒนาเพื่อให้นักเรียนเกิด
การเรียนรู้ประเภทหนึ่งก็คือ หนังสืออ่านประกอบ หรือหนังสืออ่านเพิ่มเติม เป็นหนังสือที่มีสาระ
อิงหลักสูตร นักเรียนสามารถอ่านได้ทั้งในและนอกเวลาเรียน เป็นการเสริมเนื้อหาความรู้ที่มีอยู่ใน
หนังสือเรียน อ่านแล้วได้รับความรู้ เรื่องใดเรื่องหนึ่งลึกซึ้งและกว้างขวางยิ่งขึ้น ดังเจตนารมณ์
ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ที่กาหนดแนวทางพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่มุ่งเน้น
ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง การที่นักเรียนได้อ่านหนังสืออ่านเพิ่มเติม
จะทาให้มีความรู้กว้างขวางมากกว่าการอ่านหนังสือเรียนแต่เพียงอย่างเดียว จะเห็นได้ว่า
สื่อการเรียนการสอนโดยเฉพาะหนังสืออ่านประกอบ หรือหนังสืออ่านเพิ่มเติม มีบทบาทสาคัญ
มากในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ซึ่งครูผู้สอนสามารถพิจารณาเลือกและสร้างสรรค์เพื่อ
นาไปประกอบการเรียนการสอนอันจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถบรรลุเป้าหมายในการเรียนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพซึ่งสอดคล้องกับ(บุญเลิศ บุษเนตร. 2540 : บทคัดย่อ) ที่ได้ทาการศึกษา การพัฒนา
ครูด้านการผลิตสื่อการเรียนรู้พบว่า “การพัฒนาความรู้ด้านการผลิตสื่อการเรียนรู้และการใช้
สื่อการเรียนรู้ทาให้ครูเกิดความมั่นใจในการผลิตและใช้สอการเรียน ได้อย่างมีคุณภาพ สามารถ
                                                           ื่
4

นาไปใช้ในการพัฒนาครู ด้านการผลิตสื่อการเรียนรู้ในกลุ่มสาระอื่นๆได้อันจะส่งผลให้คุณภาพ
ของการศึกษาได้รับการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น”
           จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว ผู้รายงานในฐานะที่รับผิดชอบสอนกลุ่มสาระ
การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ่อแก้วญาณเวทีพัฒนา
อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ จึงมีความสนใจที่จะพัฒนาหนังสืออ่านประกอบ เรื่อง การประดิษฐ์
ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ
นโยบายปฏิรูปการเรียนรู้ ตามความต้องการและความเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น และสามารถนา
ความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ และตระหนักถึงความสาคัญ ประโยชน์
คุณค่า ตลอดจนอนุรักษ์สืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่ต่อไป

วัตถุประสงค์ของการศึกษา

          1. เพื่อพัฒนาหนังสืออ่านประกอบ เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และ
การประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
          2. เพื่อหาดัชนีประสิทธิผลของหนังสืออ่านประกอบ เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จาก
กาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
          3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนด้วย
หนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ความสาคัญของการศึกษา

           1. ได้หนังสืออ่านประกอบ เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์
ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
           2. เพื่อเป็นข้อมูลสารสนเทศสาหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในเนื้อหาและระดับชั้นอื่น ๆ
5

ขอบเขตของการศึกษา

          การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ผศึกษาค้นคว้าได้กาหนดขอบเขตในการดาเนินการศึกษา
                                    ู้
ค้นคว้า ดังนี้
           1. ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ่อแก้วญาณเวทีพัฒนา”
อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2550 จานวน 45 คน
           2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1 โรงเรียนบ่อแก้วญาณเวที
พัฒนา อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 ภาคเรียนที่
1 ปีการศึกษา 2550 จานวน 20 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
           3. ระยะเวลาในการศึกษา ผู้รายงานได้ดาเนินการศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2550 ตั้งแต่วันที่ 5 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 ถึงวันที่ 4 เดือนกันยายน 2550 จานวน 28 ชั่วโมง
ไม่รวมเวลาที่ใช้ในการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
           4. เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา คือ เนื้อหาหนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์
ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้รายงานสร้างขึ้น
           5. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ ได้แก่
             5.1 ตัวแปรต้น คือ การสอนโดยใช้หนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์
ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
             5.2 ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิภาพของหนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์
ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อ
การเรียนด้วย หนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของ
ใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
6

นิยามศัพท์เฉพาะ

            1. หนังสืออ่านประกอบ หมายถึง เอกสารที่ผู้รายงานสร้างขึ้น และใช้เป็นสื่อในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง
การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย จานวน 2 เล่ม ดังนี้
               1.1 การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่
               1.2 การประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย
            2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หมายถึง แบบทดสอบที่ผู้รายงานสร้างขึ้น
เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้
จากกล้วย เป็นแบบทดสอบชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ
            3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนสอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จากการเรียนรู้ โดยใช้หนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และ
การประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ที่วัดได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
             4. ประสิทธิภาพของหนังสืออ่านประกอบ หมายถึง เกณฑ์การยอมรับประสิทธิภาพ
ของหนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จาก
กล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ซึ่งเป็นอัตราส่วน
ระหว่างประสิทธิภาพของกระบวนการต่อประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E1/E2) โดยถือเกณฑ์ 80/80
                4.1 เกณฑ์ 80 ตัวแรก หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยรวมของนักเรียนทุกคน
ที่ได้จากการทดสอบย่อยจากหนังสืออ่านประกอบและคะแนนชิ้นงาน ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ร้อย
ละ 80 ขึ้นไป
                4.2 เกณฑ์ 80 ตัวหลัง หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยรวมของนักเรียนทุกคน
ที่ได้จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยหนังสืออ่านประกอบ เรื่อง
การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
            5. ค่าดัชนีประสิทธิผลของหนังสืออ่านประกอบ หมายถึง ค่าที่คานวณได้จากการ
เปรียบเทียบอัตราความก้าวหน้าในการเรียนของผู้เรียน ซึ่งหาได้จากสูตร

ดัชนีประสิทธิผล = (ผลรวมของคะแนนทดสอบหลังเรียน – ผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน)
                     (จานวนนักเรียน × คะแนนเต็ม) - ผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน
7

          6. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่ดีของนักเรียนที่มีต่อการด้วย หนังสืออ่านประกอบ
เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งวัดได้จากการใช้แบบประเมินความพึงพอใจที่
ผู้รายงานสร้างขึ้น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)kroofon fon
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพokTophit Sampootong
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553Kobwit Piriyawat
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 

Was ist angesagt? (10)

กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

Andere mochten auch (20)

Access Easy
Access EasyAccess Easy
Access Easy
 
Raiw powerpoint præsentation
Raiw powerpoint præsentationRaiw powerpoint præsentation
Raiw powerpoint præsentation
 
El esguince de tobillo
El esguince de tobilloEl esguince de tobillo
El esguince de tobillo
 
Daddy yankee
Daddy yankeeDaddy yankee
Daddy yankee
 
Competencias 2010
Competencias 2010Competencias 2010
Competencias 2010
 
Energia interna de la tierra.
Energia interna de la tierra.Energia interna de la tierra.
Energia interna de la tierra.
 
Desing.Net
Desing.NetDesing.Net
Desing.Net
 
Secretos de la alimentación saludable
Secretos de la alimentación saludableSecretos de la alimentación saludable
Secretos de la alimentación saludable
 
Mara salvatrucha
Mara salvatruchaMara salvatrucha
Mara salvatrucha
 
Rio Vivo
Rio VivoRio Vivo
Rio Vivo
 
3[1][1]. Larana
3[1][1]. Larana3[1][1]. Larana
3[1][1]. Larana
 
Brasília star sport bar & grill manual identidade
Brasília star sport bar & grill   manual identidadeBrasília star sport bar & grill   manual identidade
Brasília star sport bar & grill manual identidade
 
UFV Terra da Luz
UFV Terra da LuzUFV Terra da Luz
UFV Terra da Luz
 
Industrial
IndustrialIndustrial
Industrial
 
Manualnmapesp
ManualnmapespManualnmapesp
Manualnmapesp
 
Acta deorganizacion 1 2010.2011
Acta   deorganizacion 1  2010.2011Acta   deorganizacion 1  2010.2011
Acta deorganizacion 1 2010.2011
 
File
FileFile
File
 
Actividad 4: Portafolio de Presentación
Actividad 4: Portafolio de PresentaciónActividad 4: Portafolio de Presentación
Actividad 4: Portafolio de Presentación
 
Sao jose dos_campos_gp22_pmo_easy_bank
Sao jose dos_campos_gp22_pmo_easy_bankSao jose dos_campos_gp22_pmo_easy_bank
Sao jose dos_campos_gp22_pmo_easy_bank
 
Capasiniciodoano
CapasiniciodoanoCapasiniciodoano
Capasiniciodoano
 

Ähnlich wie R บทที่ 1

รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าaon04937
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 

Ähnlich wie R บทที่ 1 (20)

รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่า
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 

R บทที่ 1

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา การศึกษานับว่าเป็นรากฐานที่สาคัญที่สุดประการหนึ่งในการสร้างสรรค์ความเจริญ ก้าวหน้าและแก้ปัญหาต่าง ๆ ในสังคมได้ เนื่องจากการศึกษาเป็นกระบวนการที่ช่วยให้คนได้ พัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ตลอดช่วงชีวิต ตั้งแต่การวางรากฐานพัฒนาการของชีวิตตั้งแต่แรกเกิด การพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่จะดารงชีพและประกอบอาชีพได้อย่าง มีความสุข รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงรวมทั้งพลังสร้างสรรค์ประเทศอย่างยั่งยืนได้ เพื่อให้การจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกับสภาพความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคม และความเจริญ ทางด้านวิทยาการเป็นการสร้างกลยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้สามารถตอบสนอง ความต้องการของบุคคล สังคมไทย ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและร่วมมือกันอย่าง สร้างสรรค์ในสังคมโลก เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (กรมวิชาการ. 2544 ก : 3) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข และมีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดจุดมุ่งหมาย ซึ่งถือว่าเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คือ เห็นคุณค่าของตนเองมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความรู้อันเป็นสากลรู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ มีทักษะและศักยภาพในการจัดการ มีทักษะ กระบวนการ มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ไทย ภูมิปัญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รักประเทศชาติและท้องถิ่น เป็นต้น (กรมวิชาการ. 2544 ก : 4 ) โดยเฉพาะในมาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานึง ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล (2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา (3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง (5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอานวย ความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่ง
  • 2. 2 ของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและ แหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ (6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสาน ความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ายเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียน ตามศักยภาพ (สานักงานปฏิรูปการศึกษา. 2542 : 13) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เป็นสาระการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานอาชีพ และเทคโนโลยี มีทักษะการทางาน ทักษะการจัดการ สามารถนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ เทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้ในการทางานอย่างถูกต้อง เหมาะสม คุ้มค่า และมีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมพื้นฐาน ได้แก่ ความขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด และอดทน อันจะนาไปสู่การให้ผู้เรียน ช่วยเหลือตนเองและพึ่งตนเองได้ ตามพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง สามารถดารงชีวิตอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข ร่วมมือและแข่งขันในระดับสากลในบริบทของสังคมไทย ซึ่งมี 5 สาระ ได้แก่ สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2 การอาชีพ สาระที่ 3 การออกแบบและ เทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทางานและอาชีพ งานประดิษฐ์เป็นส่วนหนึ่งของสาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครัว ซึ่งเป็นงานที่เกี่ยวกับ การทางานด้วยการประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้ที่เน้นความคิดสร้างสรรค์ โดยเน้นความประณีต สวยงาม ตามกระบวนการทางานประดิษฐ์เทคโนโลยี และเน้นการอนุรักษ์และสืบสาน ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยตามภูมิปัญญาท้องถิ่นและสากล (กรมวิชาการ. 2545 ข : 1-7) ดังนั้นจึงถือได้ว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็นกลุ่มสาระหนึ่ง ที่มีความสาคัญและจาเป็นต่อผู้เรียนไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ในหลักสูตร และจากประสบการณ์การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยีที่ผ่านมา พบว่า ครูผู้สอนมีปัญหาด้านการวางแผนการเรียนรู้ และการจัดเตรียมสื่อ การเรียนการสอน รวมทั้งไม่ค่อยมีเวลา เนื่องจากมีภาระงานนอกเหนือจากงานที่สอนมาก และ เวลาในการเรียนมีน้อย ทาให้งานไม่เสร็จตามความคาดหมาย และนักเรียนขาดคุณลักษณะที่ พึงประสงค์หลายด้าน ได้แก่ ความรับผิดชอบ คิดไม่เป็น จัดการไม่เป็น ไม่ชอบทางานกลุ่ม ไม่ปรับปรุงงานและทางานไม่เสร็จตามเวลาที่กาหนด (ลาดวน นิรัติศยวานิช. 2546 : 44) นอกจากนี้แล้ว ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพตาม หลักสูตรเดิม พบว่า นักเรียนขาดวัสดุในการฝึกปฏิบัติ สื่อการสอนไม่เพียงพอ ผู้ปกครอง ไม่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนกลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพ ครูไม่มีความรู้เฉพาะทาง
  • 3. 3 ทาให้ไม่มั่นใจในการสอน การนิเทศติดตามยังมีน้อยและผู้บริหารไม่สนับสนุนและไม่เห็น ความสาคัญเท่าที่ควร (ศิริวิทย์ อ้นคา. 2541 : บทคัดย่อ) การที่จะทาให้การเรียนรู้บรรลุเป้าหมายตามหลักสูตรที่กาหนดให้และมีประสิทธิภาพ จาเป็นต้องมีสื่อหรือนวัตกรรมที่จะเป็นส่วนเพิ่มเติมหรือเสริมสาหรับนักเรียนฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะเพิ่มขึ้น ซึ่งบางครั้งครูผู้สอนไม่สามารถถ่ายทอดด้วยการบรรยาย ให้เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น และช่วย เร้าความสนใจของผู้เรียนต่อสิ่งที่กาลังศึกษา การเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ การฝึกการแสดงออก การแสดงความคิดเห็น การตัดสินใจ และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ช่วยให้ผู้เรียนเป็นอิสระจากอารมณ์ของผู้สอน เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและช่วยยกระดับความสนใจของผู้เรียนได้ตลอดเวลา ช่วยให้ ผู้เรียนรู้จุดมุ่งหมายของการเรียนอย่างชัดเจน ทาให้ครูทราบความเข้าใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียน เพิ่มแรงจูงใจในการเรียนของผู้เรียน การใช้หนังสืออ่านประกอบเป็นเทคนิคการจัดการเรียนรู้หนึ่ง ที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ได้ฝึกการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ได้ด้วยตนเอง การใช้หนังสืออ่าน ประกอบจึงเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนาความรู้ที่เรียนมาฝึกให้เกิดความเข้าใจและมีทักษะมากขึ้นตาม ความสามารถของตนเอง ฝึกให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่น ฝึกให้มีความรับผิดชอบต่องาน ที่ได้รับ มอบหมาย โดยไม่ต้องคานึงถึงเวลาหรือความกดดันอื่น ๆ และสามารถประเมินผลงานของตนเอง สิ่งที่นามาฝึกทักษะต้องมีในเนื้อหาจากบทเรียนที่เหมาะสมกับวัย ระดับชั้นและความแตกต่าง ระหว่างบุคคล (กรมวิชาการ. 2534 : 9) สื่อการเรียนการสอนที่น่าสนใจที่มีความเหมาะสมจะนามาพัฒนาเพื่อให้นักเรียนเกิด การเรียนรู้ประเภทหนึ่งก็คือ หนังสืออ่านประกอบ หรือหนังสืออ่านเพิ่มเติม เป็นหนังสือที่มีสาระ อิงหลักสูตร นักเรียนสามารถอ่านได้ทั้งในและนอกเวลาเรียน เป็นการเสริมเนื้อหาความรู้ที่มีอยู่ใน หนังสือเรียน อ่านแล้วได้รับความรู้ เรื่องใดเรื่องหนึ่งลึกซึ้งและกว้างขวางยิ่งขึ้น ดังเจตนารมณ์ ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ที่กาหนดแนวทางพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่มุ่งเน้น ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง การที่นักเรียนได้อ่านหนังสืออ่านเพิ่มเติม จะทาให้มีความรู้กว้างขวางมากกว่าการอ่านหนังสือเรียนแต่เพียงอย่างเดียว จะเห็นได้ว่า สื่อการเรียนการสอนโดยเฉพาะหนังสืออ่านประกอบ หรือหนังสืออ่านเพิ่มเติม มีบทบาทสาคัญ มากในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ซึ่งครูผู้สอนสามารถพิจารณาเลือกและสร้างสรรค์เพื่อ นาไปประกอบการเรียนการสอนอันจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถบรรลุเป้าหมายในการเรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพซึ่งสอดคล้องกับ(บุญเลิศ บุษเนตร. 2540 : บทคัดย่อ) ที่ได้ทาการศึกษา การพัฒนา ครูด้านการผลิตสื่อการเรียนรู้พบว่า “การพัฒนาความรู้ด้านการผลิตสื่อการเรียนรู้และการใช้ สื่อการเรียนรู้ทาให้ครูเกิดความมั่นใจในการผลิตและใช้สอการเรียน ได้อย่างมีคุณภาพ สามารถ ื่
  • 4. 4 นาไปใช้ในการพัฒนาครู ด้านการผลิตสื่อการเรียนรู้ในกลุ่มสาระอื่นๆได้อันจะส่งผลให้คุณภาพ ของการศึกษาได้รับการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น” จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว ผู้รายงานในฐานะที่รับผิดชอบสอนกลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ่อแก้วญาณเวทีพัฒนา อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ จึงมีความสนใจที่จะพัฒนาหนังสืออ่านประกอบ เรื่อง การประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ นโยบายปฏิรูปการเรียนรู้ ตามความต้องการและความเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น และสามารถนา ความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ และตระหนักถึงความสาคัญ ประโยชน์ คุณค่า ตลอดจนอนุรักษ์สืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่ต่อไป วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อพัฒนาหนังสืออ่านประกอบ เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และ การประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อหาดัชนีประสิทธิผลของหนังสืออ่านประกอบ เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จาก กาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนด้วย หนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความสาคัญของการศึกษา 1. ได้หนังสืออ่านประกอบ เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. เพื่อเป็นข้อมูลสารสนเทศสาหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในเนื้อหาและระดับชั้นอื่น ๆ
  • 5. 5 ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ผศึกษาค้นคว้าได้กาหนดขอบเขตในการดาเนินการศึกษา ู้ ค้นคว้า ดังนี้ 1. ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ่อแก้วญาณเวทีพัฒนา” อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 จานวน 45 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1 โรงเรียนบ่อแก้วญาณเวที พัฒนา อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 จานวน 20 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 3. ระยะเวลาในการศึกษา ผู้รายงานได้ดาเนินการศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 ตั้งแต่วันที่ 5 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 ถึงวันที่ 4 เดือนกันยายน 2550 จานวน 28 ชั่วโมง ไม่รวมเวลาที่ใช้ในการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 4. เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา คือ เนื้อหาหนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้รายงานสร้างขึ้น 5. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ ได้แก่ 5.1 ตัวแปรต้น คือ การสอนโดยใช้หนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 5.2 ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิภาพของหนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อ การเรียนด้วย หนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของ ใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
  • 6. 6 นิยามศัพท์เฉพาะ 1. หนังสืออ่านประกอบ หมายถึง เอกสารที่ผู้รายงานสร้างขึ้น และใช้เป็นสื่อในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย จานวน 2 เล่ม ดังนี้ 1.1 การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ 1.2 การประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หมายถึง แบบทดสอบที่ผู้รายงานสร้างขึ้น เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้ จากกล้วย เป็นแบบทดสอบชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนสอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากการเรียนรู้ โดยใช้หนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และ การประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ที่วัดได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. ประสิทธิภาพของหนังสืออ่านประกอบ หมายถึง เกณฑ์การยอมรับประสิทธิภาพ ของหนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จาก กล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ซึ่งเป็นอัตราส่วน ระหว่างประสิทธิภาพของกระบวนการต่อประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E1/E2) โดยถือเกณฑ์ 80/80 4.1 เกณฑ์ 80 ตัวแรก หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยรวมของนักเรียนทุกคน ที่ได้จากการทดสอบย่อยจากหนังสืออ่านประกอบและคะแนนชิ้นงาน ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ร้อย ละ 80 ขึ้นไป 4.2 เกณฑ์ 80 ตัวหลัง หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยรวมของนักเรียนทุกคน ที่ได้จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยหนังสืออ่านประกอบ เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ ร้อยละ 80 ขึ้นไป 5. ค่าดัชนีประสิทธิผลของหนังสืออ่านประกอบ หมายถึง ค่าที่คานวณได้จากการ เปรียบเทียบอัตราความก้าวหน้าในการเรียนของผู้เรียน ซึ่งหาได้จากสูตร ดัชนีประสิทธิผล = (ผลรวมของคะแนนทดสอบหลังเรียน – ผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน) (จานวนนักเรียน × คะแนนเต็ม) - ผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน
  • 7. 7 6. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่ดีของนักเรียนที่มีต่อการด้วย หนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งวัดได้จากการใช้แบบประเมินความพึงพอใจที่ ผู้รายงานสร้างขึ้น