SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 37
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Duct Design
     615431 Air Conditioning
                                                          หน าที่ ข องท อลม คื อ การส งลมจากเครื่ อ งส งลมไปยั ง
       Duct System Design                          บริเวณปรับสภาวะอากาศ การออกแบบทอลมในทางปฏิบัติตอง
                                                   คํานึงถึงบริเวณที่สามารถเดินทอลมได การสูญเสียเสียดทาน
                                                   ความเร็วลม ระดับเสียง และการไดรับความรอนหรือสูญเสีย
                                                   ความเย็นของทอลมดวย
     615431 Air Conditioning
     Department of Mechanical Engineering
     Faculty of Engineering and Industrial
     Technology
     Silpakorn University




            การออกแบบระบบโดยทั่วไป                 ในการปรับอากาศเพือการคาหรือที่พักอาศัย
                                                                     ่
                                                   ระบบความเร็วลมต่ํา ความเร็วลมจะไมเกิน 2,500 ฟุตตอนาที ปกติจะ
ทอลมสงและทอลมกลับจะแบงออกเปนชนิดตางๆ         อยูระหวาง 1,200 – 2,200 ฟุตตอนาที
ตามความเร็วลม และความดันลมภายในทอลม               ระบบความเร็วลมสูง ความเร็วลมจะเกิน 2,500 ฟุตตอนาที ขึนไป
                                                                                                          ้
สําหรับทอลมสงนั้น
การแบงชนิดตามความเร็วลมภายในทอ จะแบงออกเปน 2
                                                   ในการปรับอากาศในโรงงานอุตสาหกรรม
ชนิด คือ
• ระบบความเร็วต่า   ํ                              ระบบความเร็วลมต่ํา ความเร็วลมจะไมเกิน 2,500 ฟุตตอนาที ปกติจะ
• ระบบความเร็วสูง                                  อยูระหวาง 2,200 – 2,500 ฟุตตอนาที
                                                   ระบบความเร็วลมสูง ความเร็วลมจะเกิน 2,500 – 5,000 ฟุตตอนาที
สําหรับทอลมกลับของระบบลมสง ที่มีความเร็วต่ําและความเร็วสูง จะ
คิดวาเปนระบบความเร็วลมต่ําหมด ดังนี้                            สวนการแบงชนิดของทอลมตามความดันลมภายในทอ จะแบงออกเปน
                                                                  3 ชนิด คือ
ในการปรับอากาศเพื่อการคาหรือที่พักอาศัย ระบบความเร็วลมต่ํา       ระบบความดันลมต่ํา ความดันลมจะอยูระหวาง 0 - 3 ¾ in. wg
ความเร็วลมจะไมเกิน 2,000 ฟุตตอนาที ปกติจะอยูระหวาง 1,500      ระบบความดันลมกลาง ความดันลมจะอยูระหวาง 3 ¾ - 6 ¾ in. wg
– 1,800 ฟุตตอนาที                                                ระบบความดันลมสูง ความดันลมจะอยูระหวาง 6 ¾ - 12 ¼ in. wg


                                                                   ความดันลมทั้ง 3 ชนิด ที่กลาวมาขางตนนัน เปนความดันรวม
                                                                                                           ้
ในการปรั บ อากาศในโรงงานอุ ต สาหกรรม ระบบความเร็ ว ลมต่ํ า         (Total Pressure) โดยรวมการสูญเสียตางๆที่เกิดขึน      ้
ความเร็วลมจะไมเกิน 2,500 ฟุตตอนาที ปกติจะอยูระหวาง 1,800       เนืองจากลมไหลผานเครื่องสงลมเย็น ผานทอลม และผานหัวจายลม
                                                                      ่
– 2,200 ฟุตตอนาที




                  Fan (Blower)                                      กําลังของพัดลม
                                                                                 W = Q(ΔP)                        หนวย SI


                                                                                 W = Q( FTP ) / 6356               หนวยอังกฤษ
                                                                  Fan’s Law
                                                                       Q1 rpm1                         W1    rpm1 3
                                                                         =                                =(      )
               พัดลม                                                   Q2 rpm2                         W2    rpm2

                                                                                        P     rpm1 2
                                                                                         1
                                                                                           =(      )
                                                                                        P2    rpm2
พัดลมแบบ Centrifugal Fan แบง Class ตามการใชงานได 4 Class ดังนี้

Class I ใชไดกับ Total Static Pressure (TSP)
<= 3 ¾ in. wg

Class II ใชไดกับ Total Static Pressure (TSP)
<= 6 3/4in. wg.

Class III ใชไดกับ Total Static Pressure (TSP)
<= 12 ¼ in. wg.

Class IV ใชไดกับ Total Static Pressure (TSP)
> 12 1/4in. wg. (นิ้วน้ํา)




                      ใบพัดลมแบบ Forward Curve Blade (FC)                                           ใบพัดลมแบบ Backward Curve Blade (BI)
                      เหมาะกับการใชงานที่ตองการปริมาณลมมาก Total                                  เหมาะกับการใชงานที่มีคา Total Static Pressure
                      Static Pressure (TSP) ต่ําขณะใชงาน รอบของ                                    (TSP) สูง
                      พัดลมจะมีคาต่ํากวาแบบอื่น
                                                                                                    ขอดี คือ พัดลมแบบนี้จะมีประสิทธิภาพการใชงาน
                      ขอดี คือ ราคาถูก ทนทาน เพราะความสึกหรอนอย เนื่องจาก                         (Efficiency) สูง
                      ใชงานที่รอบพัดลมต่ํา ทําใหสามารถใชเพลาและตลับลูกปน
                      (Bearing) เล็กลง                                                              มอเตอรจะไมเกิดการ Overload ถึงแมวาคา Total
                                                                                                    Static Pressure จะลดลง
                      สวนขอเสีย คือ หากเลือกใชพัดลมจากคา Operating         เหมาะกับระบบ
                      Point ใน Fan Curve ไมดี อาจทําใหเกิดอาการลม            กําจัดฝุน หรือระบบ
                                                                                                   สวนขอเสีย คือ ราคาแพงเนื่องจากตองมีโครงสรางที่แข็งแรง
                      พัดไมสม่ําเสมอ (Surge หรือ Paralleling)                                      เพลาและตลับลูกปน (Bearing) มีขนาดใหญขึ้น
เหมาะกับระบบ                                                                   ระบายอากาศเฉพาะ
                      ที่มอเตอรอาจเกิดการ Overload ได หากคา Total           จุด                  ทํางานที่ความเร็วในการหมุนสูง ทําใหมีเสียงดัง
HVAC                  Static Pressure (TSP) ลดลงมาก
                      ไมเหมาะกับระบบที่มีฝุน
                      มีประสิทธิภาพและ TSP ต่ํา
ใบพัดลมแบบ Air Foil (AF) จะมีลกษณะ         ั                  ลักษณะการใชงานพัดลม แบงเปน 2 แบบคือ SWSI และ DWDI
                              คลายกับแบบ Backward Curve (BC) แต
                                                                                            SWSI (Single Width - Single Inlet) คือ ลักษณะของ
                              ดัดแปลงใหใบเปน 2 ชั้น คลายปกเครื่องบิน สวน
                              ใหญจะใชกับงานที่ตองการปริมาณลมมาก และ                      พัดลมที่มีโกรงพัดลมเปนชั้นเดียว และทางเขาของลมจะเขาเพียงทางเดียว
                              Total Static Pressure (TSP) สูง
                              เนื่องจากมีประสิทธิภาพดีกวาแบบอื่นๆ แตก็มราคา
                                                                           ี
                              แพงขึ้นมากเชนกัน




                                                                                                                                                        โกรงพัดลมชั้นเดียว
                                                                                         Centrifugal Fan               โกรงพัดลมชั้นเดียว
                                                                                         ลักษณะ SWSI                   Forward curve                    Backward curve




                                                                                          In - Line Fan โดยทั่วไปจะแบงออกเปน 2 ประเภท คือ
DWDI (Double Width - Double Inlet) คือ ลักษณะของพัดลมเปน 2                               มอเตอรอยูดานนอก เหมาะสําหรับการระบายอากาศที่คอนขางสกปรกหรือมีอุณหภูมิสูง เชน
ชิ้นติดกัน และทางเขาของลมจะเขาทั้งสองขาง เหมาะกับงานที่มีปริมาณลมมาก และพัดลมอยูใน    การระบายอากาศจากหองครัว หรือใชในกรณีความเร็วของพัดลมไมเทากับความเร็วของมอเตอร
หองพัดลม (Fan Room) ที่ไมตองการตอกลอง Plenum เขาทางดานดูด (โดยใชหอง              สามารถปรับรอบได (เปนแบบ Belt Drive ) และจะตองติดตั้ง Belt Guard ดวย
พัดลมเปน Plenum)                                                                         มอเตอรอยูดานใน เหมาะสําหรับการระบายอากาศจากพื้นที่ทั่วไป หรือมีอุณหภูมิไมสูงมากเพื่อ
                                                                                          จะไดเปนการระบายความรอนของมอเตอรดวย โดยมีความเร็วของพัดลมเทากับความเร็วของ
                                                                                          มอเตอร (เปนแบบ Direct Drive)




                             โกรงพัดลมเปน 2 ชัน
                                                ้
                             (แบบ Forward Curve)

Centrifugal Fan
ลักษณะ DWDI                                               โกรงพัดลมเปน 2 ชั้น                                                      มอเตอรอยูดานใน
                                                                                                                                               
                                                          (แบบ Backward Curve)                 มอเตอรอยูดานนอก
                                                                                                         
เว็บไซตแนะนําเกียวกับพัดลมและการติดตั้งพัดลม
                 ่                                                         Fan Performance and Selection
http://www.iecm.co.th/iso_knowledge_ac.htm                                 สิ่งที่ตองทราบคือ
                                                                           1. CFM
                                                                           2. Total Pressure
                                                                           เลือกจาก Fan Characteristic Curve




 Backward-Curved Blade Fans                                                Forward-Curved Blade Fan
 พัดลมชนิดนี้ใชมากในระบบ HVAC โดยเฉพาะเมื่อตองการประหยัดแรงมาของพัดลม   ปกติใชในระบบที่มีความดันต่ํา เชน เตาเผา การใชงาน สวนใหญใชความเร็วต่ํา
 โดยมากใชในระบบในระบบต่ํา กลาง และสูง                                     ซึงทําใหประสิทธิภาพต่ําลงไปดวย
                                                                             ่
Vaneaxial Fan                                                               Fan
  ใชในระบบ HVAC ที่ตองการแนวเสนตรง
                                                                             Installation                                                    D=
                                                                                                                                                       4 HW
                                                                                                                                                         π




ความดันสถิตยของพัดลม FSP (Fan Static Pressure) คือความ
                                                                           SPinlet = -8.83 in.wg.            SPoutlet = +0.68 in.wg.
ดันที่พัดลมตองสรางขึ้นเพือใหอากาศไหลผานระบบในปริมาณที่ตองการ ภายใต
                           ่                                               VPinlet = +1.25 in.wg.
ความดันสถิตยของระบบที่ออกแบบไว สามารถหาไดจาก ผลตางของความดัน
รวมของพัดลม (FTP, Fan Total Pressure) และความดันจลนของ
อากาศที่ทางออก (VPoutlet)                                                                                        จงหาความดันสถิตยของระบบดังรูป
                                                                           Q=300cfm
          FSP = FTP − VPoutlet
          FTP = (SPoutlet + VPoutlet ) − (SPinlet + VPinlet )                 FSP = SPoutlet − SPinlet − VPinlet
                                                                              FSP = (+0.68) − (−8.83) − (1.25) = 8.26in.wg .
ดังนั้น

                                                                              พัดลมทีจะนํามาใชกับระบบนี้ ตองสรางความดันสถิตยไดไมนอยกวา 8.26 in.wg. ที่
             FSP = SPoutlet − SPinlet − VPinlet                                      ่
                                                                              อัตราการไหล 300 cfm
พัดลมทํางานที่ความเร็วรอบ 1180 rpm ที่ 13 hp ลําเลียงอากาศ 10,000 cfm ที่
Fan’s Law แสดงใหทราบถึงผลกระทบของขนาดเสนผาน
                                                                    ความดันสถิตย 12 in.wg จงหาสมรรถนะของพัดลมตัวนี้ ถาความเร็วรอบในการทํางาน
ศูนยกลางของพัดลม (size) และความเร็วรอบที่มีตอสมรรถนะการ           เพิ่มเปน 1400 rpm
ทํางานของพัดลม
                                                                     จงหาสมรรถนะคือหา Q, SP และ Power
                         3
 Q1 rpm1 ⎛ size1 ⎞
   =     ⎜       ⎟                                                                              3

 Q2 rpm2 ⎜ size2 ⎟
         ⎝       ⎠
                                                                           Q1 rpm1 ⎛ size1 ⎞
                                                                             =     ⎜       ⎟ ⇒
                                                                                               10000 1180
                                                                                                    =      ⇒ Q2 = 11864cfm
                                                2               2
                                                                           Q2 rpm2 ⎜ size2 ⎟
                               SP ⎛ rpm1 ⎞          ⎛ size1 ⎞                      ⎝       ⎠    Q2    1400
                                 1
                                   =⎜
                                    ⎜ rpm ⎟⎟        ⎜
                                                    ⎜ size ⎟⎟                         2          2                     2
                               SP2 ⎝     2 ⎠        ⎝     2 ⎠
                                                                     SP ⎛ rpm1 ⎞          ⎛ size1 ⎞  12 ⎛ 1180 ⎞
                                                                       1
                                                                         =⎜     ⎟         ⎜
                                                                                          ⎜ size ⎟ ⇒ SP = ⎜ 1400 ⎟ ⇒ SP2 = 16.89in.wg .
                                                                     SP2 ⎜ rpm2 ⎟
                                                                          ⎝     ⎠         ⎝
                                                                                                  ⎟
                                                                                                2 ⎠    2  ⎝      ⎠
                   3               5
  W1 ⎛ rpm1 ⎞          ⎛ size1 ⎞                                                      3             5                  3
    =⎜      ⎟          ⎜
                       ⎜ size ⎟
                                                                     W1 ⎛ rpm1 ⎞          ⎛ size1 ⎞   13 ⎛ 1180 ⎞
  W2 ⎜ rpm2 ⎟                  ⎟                                       =⎜      ⎟          ⎜       ⎟ ⇒   =⎜      ⎟ ⇒ W2 = 21.71hp
     ⎝      ⎠          ⎝     2 ⎠                                     W2 ⎜ rpm2 ⎟
                                                                        ⎝      ⎠
                                                                                          ⎜ size ⎟
                                                                                          ⎝     2 ⎠   W2 ⎝ 1400 ⎠




การพิจารณาบริเวณที่จะเดินทอลม                                        1. การสูญเสียความเย็นในทอลม
การพิจารณาบริเวณที่จะเดินทอลมทั้งทอลมสงและทอลมกลับ เปนสิ่ง       กรณีที่มีทอลมที่ยาวมาก อาจมีความรอนที่เล็ดรอดเขาสูทอ ทําให
   สําคัญอยางหนึ่งในการออกแบบทอลม เพราะจะทําใหทราบแนว                 สูญเสียความเย็นในทอ ในการประมาณคาความรอน ตองคิดถึง
   ทางการเดินทอลม อีกทั้งยังอาจทําใหทราบระบบของทอลมทีจะใช
                                                        ่                ความรอนในสวนนี้ดวย ทําใหเครื่องทําลมเย็นมีขนาดใหญขน โดย
                                                                                                                                    ึ้
                                                                         ที่
การเปรียบเทียบ First Cost และ Operating Cost ใน                       • ทอที่มี Aspect Ratio สูง จะไดรับความรอนมากกวาทอที่มี
    การเดินระบบทอลม                                                    Aspect Ratio ต่ํา
การสูญเสียความเย็นในทอลม                                             • ลมความเร็วต่ํา จะไดรับความรอนมากกวาลมความเร็วสูง
Aspect Ratio
Duct friction Rate                                                    • ฉนวน ยิ่งหนามาก ความรอนที่ทอไดรับจะนอยลง
Type of fittings                                                      แนะนําทอที่มี aspect ratio ต่ํา ความเร็วลมสูงแตไมเกิดเสียงดัง
2. Aspect Ratio
                   1
                                 2
                                                                          (ab) 0.625
                                                               d e = 1.3
                       3                                                 (a + b) 0.25
                                        4
                                                                 ตารางที่ 12.1 เปนทอที่มอัตรา
                                                                                          ี
                                                                 แรงเสียดทานขนาดเดียวและ
                                                   5
                                                                 พื้นที่กับทอกลม
                                                                 ขอแนะนํา ควรใชทอกลมหรือ
                                               6                 ทอเหลี่ยมทีมีขนาด aspect
                                                                             ่
                                                                 ratio ใกลเคียง 1 เพื่อให
                                                                 อัตราแรงเสียดทานนอยที่สุด




                                         แนวการเดินทอลม
                         แนวการเดินทอลมก็มีตัวแปรตางๆ ที่เขามาเกี่ยวของ
                  อยูหลายอยางดวยกัน คือ
                            1. ชวงเปลี่ยนขนาดทอลมใชชวงเปลี่ยนขนาดทอลม เพื่อลดหรือเพิ่ม
                   ขนาด แตขนาดพื้นที่หนาตัดคงเดิม แตในการลด ไมควรลดขนาดมากกวา 20% ของขนาด
                   เดิม

                           2. ของอ ขอตอ
                           3. ทอแยก
                           4. การกลั่นตัวเปนหยดน้ําบนผิวทอลม
                           5. การควบคุมปริมาณลม
2. ของอ ขอตอ
 1. ชวงเปลี่ยนขนาดทอลม
                                                                                      ข อ งอสํ า หรั บ ท อ ลมเหลี่ ย ม จะมี แ บบต า งๆ เช น full
         การเปลี่ยนขนาดทอลมจะใชเพื่อเปลี่ยนรูปทรงทอลม                        radius elbow, shot radius vane elbow และ
 หรื อ ใช เ พื่ อ เพิ่ ม หรื อ ลดพื้ น ที่ ท อ ลม เมื่ อ รู ป ทรงของท อ ลม   vaned square elbow สวนของอสําหรับทอกลมจะมีแบบ
 เหลี่ยมเปลี่ยนไป แตพื้นที่หนาตัดยังคงเดิม ควรใชความชัน                      ตางๆ เชน smooth elbow, 3-piece elbow เปนตน
 1 นิ้ว ใน 7 นิ้ว สําหรับดานตางๆ ที่มีการเปลี่ยนรูปทรง ถา
 ไมสามารถใชความชันนี้ได อยางมากที่สุดไมเกิน 1 นิ้ว ใน 4                      3. ทอแยก
 นิ้ ว ปกติ แ ล ว ท อ ลมจะต อ งถู ก ลดขนาดลงเพื่ อ เลี่ ย งสิ่ ง กี ด            ทอแยกมีอยูหลายชนิดดวยกัน เชน ทอแยกแบบ full
 ขวาง แตก็ไมควรลดขนาดลงเกินกวา 20 % ของพื้นที่ทอ                            radius       elbow นิยมใชกันมาก แบบ square
 ล ม ก อ น ล ด ข น า ด ใ น ส ว น ข อ ง พื้ น ที่ ท อ ล ม เ พิ่ ม ขึ้ น ก็    elbow take-off ไมนิยมใชเพราะราคาแพง และ
 เชนเดียวกัน                                                                   pressure drop สูง เปนตน


 4. การกลั่นตัวเปนหยดน้ําบนผิวทอลม
        เปนสิ่งที่ตองคํานึงถึง เพราะผิวทอลมอาจจะเปยกหรือมีหยด
น้ําเกาะ ในกรณีที่ผิวทอลมมีอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิจุดน้ําคางของ
อากาศที่ลอมรอบทอลม

 5. การควบคุมปริมาณลม                                                                 โครงสรางและการติดตังทอลม
                                                                                                          ้
       ในระบบทอลมความเร็วต่ํา การควบคุมลมใหผานหรือแยกเขา
ในแตละทอตางๆ ตองใช splitter damper ในทอลมระบบ
ความเร็วลมสูง จะใช volume damper หรือ pivot
type damper ในระบบความเร็วลมสูงควรติด volume
damper ไวที่ปลายหัวจายลมทุกหัวดวย เพื่อควบคุมปริมาณลม
ที่สงออกจากหัวจายลม
    
คุณสมบัติของทอสงลมทัวไป
                                       ่                                ชนิดและหนาที่ของทอสงลมในระบบปรับอากาศ

รูปรางที่มีความแข็งแรง ไมยบตัว
                              ุ                                        ทอสงลมเย็น เชน ทอสงลมเย็น (Supply air duct) ทอลมกลับ
ใชในการสงลม(ควบคุมการรัวได)
                            ่                                          (Return air duct)
การสั่นสะเทือนนอย
เสียง
การปรากฏแกสายตา ไมวาจะเปน ความเสียหาย การทนตอสภาพอากาศ อุณหภูมิ
                                                                       ทอระบายอากาศ เชน ทอดูดอากาศ (Exhaust air duct) ทอลม
การ                                                                    บริสุทธิ์(Fresh air duct) ทอดูดควัน(Smoke exhaust
                                                                                (Fresh
เปลี่ยนแปลง ลม การกัดกรอน ทอฝงดิน                                   duct)
Supporting
seismic restrain                                                       ทอดูดอากาศเสีย เชน ทอดูดควันอาหาร (Kitchen exhaust
thermal conductivity การสูญเสียความรอน การกลั่นตัวของหยดน้ํา          duct) ทอดูดอากาศเสีย(Exhaust duct) ทอดูดสารเคมี
                                                                       (Chemical exhaust duct) เปนตน




              ชนิดของวัสดุที่ใชทําทอลมทั่วไป                             ขอมูลของอุปกรณในงานทอลมของระบบปรับอากาศ

แผนเหล็กอาบสังกะสี                                                    ตัวทอลม Galvanized steel sheet, insulation,
                                                                       addhesive, tape, hing, rivet, screw, bushing,
แผนเหล็ก                                                              sealant, angle, fasten belt, escutchen, fire
แผน Stainless steel                                                   seal,
แผน PVC                                                               การหิวแขวน Block out
                                                                             ้
                                                                       Main Equipment
ไฟเบอรกลาส
                                                                       Filter
อลูมิเนียม                                                             Heater
อื่นๆ                                                                  หัวจายลม
                                                                       sound attenuator
การตอทอลมกับอุปกรณหลัก

                            รูปของทอ
                             ลมชนิด
                               ตางๆ




  ทอลมที่ทําจากโรงงาน                  Flexible air Duct
ทอเมนและทอแยก             ทอสงลมเย็น




Air Duct & Fittings   Air Duct & Fittings
ตารางที่ 12.6 – 12.9 แสดงภาพของอ ขอตอ ทอแยก ชนิดตางๆ




Recommend
slope
1:7 for high Vel.
1:4 for low Vel.
Galvanized steel sheet (Roll)




ฉนวน (insulations)
     ปองกันการสูญเสียพลังงานความรอน
     ปองกันการเกิดควบแนน (Condensation)
     ชวยซับเสียงหรือลดเสียงได
 การหุมฉนวน มี 2 วิธี
      

     การหุมภายนอก ใชฉนวนยาง
                                       หรือประเภทใยแกว

     การหุมภายใน เพื่อผลทางการซับเสียงหรือลดเสียงดวย ใชฉนวน
          
     ยางหรือใยแกวที่มีความหนาแนนสูง
ทอหุมฉนวนภายนอกและภายใน               สวนประกอบของฉนวนใยแกว(Fiberglass)

                              หุมภายนอกใชใยแกวที่มีความหนาแนนต่ํา 1-2 ปอนดตอลบ.ฟุต หนา1-2นิ้ว
                              ที่ปดทับดวย Aluminum foil เพื่อปองกันไอน้ํา

                              หุมภายในใชใยแกวที่มีความหนาแนนสูง2-3 ปอนดตอลบ.ฟุต เพื่อลดโอกาส
                                                                                  
                              เสนใยหลุดไปตามลม อาจปดทับดวย Aluminum foilหรือเคลือบ
                              ผิวฉนวนดวยกาวเหนียว หนา1-2นิ้ว เพื่อประโยชนในการชวยซับเสียง หรือ
                              ตัดตอนเสียงจากเครื่องไมใหเดินทางไปสูหองที่ใชงาน
                                                                    




                            การกระจายลมภายในหอง
                            การกระจายลมสําหรับบุคคล อุณหภูมิภายในหอง ไมควรตางกัน
                            เกิน 2°F และ 3°F สําหรับหองรวม
                            คาความสบายของคน เกิดขึนเมื่อ
                                                   ้
                            ลมเย็นที่ผานตัวมีความเร็ว 15 – 30 fpm และกระทบคน
                            ดานหนาหรือดานหลังจะดีที่สุด แตไมควรเกิน 60 fpm
Diffuser คือหัวจายลมแบบกระจายรอบตัว
                        หนากากลม(Air Grilles)
                                                                                      Grille หัวจายลมหรือแผงลมกลับ หรือแผงดูดอากาศบริสุทธิ์ มักเจาะติด
                                                                                      ไวที่ผนังหรือเพดาน
                                                                                      Outlet Vel. คือความเร็วลมเฉลี่ยที่ออกจากหัวจายลม วัดที่คอหัวจาย
                                                                                      ลม
แบงตามหนาที่และตําแหนง                                                             Primary Air คืออากาศแรกที่ออกจากหัวจายลม
1. สงกระจายลมเย็น Ceiling diffuser , Register , Slot                                 Register คือ Grille ที่ติดใบปรับทิศทาง
     diffuser , Nozzle                                                                Return Grille คือแผงลมกลับ นําลมเย็นที่ใชแลวภายในหองกลับไปสู
2. ลมกลับ Return Air Grille                                                           เครื่องสงลมเย็น
3. ควันหรืออากาศเสีย Exhaust Air Grille                                               Secondary Air คือลมในหองที่ไหลไปรวมกับ primary air
4. อากาศบริสุทธิ์ Fresh Air Grille                                                    Temp. Diff. คืออุณหภูมิทแตกตางระหวางหอง กับ primary
                                                                                                               ี่
                                                                                      air




 หัวจายลม (Diffuser)
 1. แบบบารปรับ เหมาะสําหรับลมจายดานขาง อาจเรียกวา
    Register
 2. แบบสลอต ลักษณะคลายแอรราว
 3. แบบติดเพดาน มีทั้งแบบกลม แบบเหลียม ซึ่งอาจมี
                                    ่                                                     ถาเอาพื้นที่เปนเกณฑ กําหนดใหใช 16 m2 ตอ 1 ตันความเย็น โดยที่ 1 ตัน เทากับ
                                                                                          400 cfm
    damper ดวยหรือไมก็ได
                                                                                          ดาดฟา ใช กําหนดใหใช 12 m2 ตอ 1 ตันความเย็น
การติดตั้งควรติดใหเหมาะสม ไมควรติดใกลกับหัวจายลมเย็นมากเกินไป หางจากบริเวณครัว       หองดานทิศตะวันตก ใช กําหนดใหใช 14 m2 ตอ 1 ตันความเย็น
หรือหองน้ําเพื่อปองกันกลิ่น ความดันในหองปรับอากาศ ควรสูงกวาภายนอกหอง สวน
หองน้ําควรมีความดันที่ต่ํากวาเพื่อปองกันกลิ่นที่อาจเล็ดรอดออกมา                        ถาใชที่นั่งเปนเกณฑ เชน โรงภาพยนตร หรือหองประชุม กําหนดใช 10 ที่นั่งตอตัน

การปรับระบบการกระจายตัว โดยปกติจะไมทากันบอย นอกจากจะมีสาเหตุที่แนชัด
                                     ํ
Round ceiling diffuser
 หัวจายลมชนิดกลม                          Square Ceiling
                                           diffuser หัวจายลมชนิด
                                           สี่เหลียม
                                                  ่




                                                         Return Air Grille
      ตัวอยาง Linear Slot Diffuser ขนาด
      4 Slots




      Light troffer
โครงสรางของทอสงลม
                                             ที่ทําดวยแผนเหล็กอาบสังกะสี
    Register แบบตางๆ




การแบง Class ทอลม ตามความดัน                 Class ของทอลม (ความดัน,ความเร็ว)

                                 การแบงชนิดของทอสงลมเย็นตามความเร็วลม หรือตามแรงดัน Static



                                 ╬ Low velocity มีStatic pressure1/2 - 2 w.g.
                                 ╬ Medium velocity มีStatic pressure 2-3 w.g.
                                 ╬ High velocity มีStatic pressure mm 3 w.g. & over
ความแข็งแรงของทอลม



    ขนาดทอลม                                                   ตะเข็บตามขวาง
ความหนาผนังทอลม
                                                 ตะเข็บตามยาว
   การเสริมแรง
 ชวงการเสริมแรง




     Beading



                                     ขนาดทอลม                                  ความหนาแผนเหล็ก
                      Crossbreak




                                   ชวงการเสริมแรง                              การเสริมความแข็งแรง
มาตรฐานของแผนเหล็กชุบสังกะสี                        ชนิด หนาทีของรอยตอหรือตะเข็บ
                                                                              ่
► ใน SMACNA ใช standard U.S.gage

                                                                   1.     ยึดตอทอลมแตละสวน
► แผนเหล็กชุบสังกะสีในบานเราใช B.W.G.
                                                                   2.     ปองกันการรั่วของลม
                                                                   3.     ชวยในการเสริมแรง (Reinforcement) ใหกับทอลม
► ความหนาของstandard U.S.gage จะหนากวาหรือเทากับB.W.G.
                                                                   ►      ชนิดของรอยตอหรือตะเข็บ
                                                                   1.     ตามขวาง (ตั้งฉากกับการไหลของลม)
► การใชงานตองเปรียบเทียบกับความหนา
                                                                   2.     ตามยาว (ตามการไหลของลม)




            ชนิดและรูปแบบของรอยตอตามขวาง

                      ►     Class ความดันลม
                                                           รอยตอหรือตะเข็บเสริมแรง

                      ►       ขนาดของทอ
                                                                                         การเสริมแรงระหวางรอยตอทอ
                                                                                                                       รอยตอหรือตะเข็บธรรมดา
              ►    ความหนาของแผนโลหะที่ทําทอลม

                  ►       ชวงของรอยตอตามขวาง



                                                                                 ดานที่ไมมีการเสริมแรง
ชวงระยะการReinforcement ตามที่กาหนดไว สําหรับทอลมแต
                                                                                    ํ
                                                    ละขนาด

                                                                                                                แรง
                                                                                                        เสริม
                                                                                                     การ
                                                                                              ชวง
                                                                                         รง
                                                  ชวงการ
                                                                                เส   ริมแ
                                                  Reinforcement ไม
                                                                             การ
                                                  จําเปนตองตรงกับ
                                                  ดานที่ประชิดกัน
                                                                        ชวง

ปลายของreinforcement member ของทอที่มี
pressure class ตังแต 4” w.g. ขึ้นไปตองยึดดวย
                 ้                                                                                                                               ตอ
rod ตามรูป                                                                                                                                 บ็ รอย
                                                                                                                                 าง   ตะเข
                                                                                                                           ะหว
                                                                                                                      ชวงร




รอยตอ-ตะเข็บ                                      ตะเข็บ-ตะเข็บ
ตามขวาง                                           ตามยาว,ตอแผน
รอยตะเข็บและการเสริมแรงของทอลม


                                                                     ิม   แรง)
                                                                 (เสร
                                                             ขวาง
                                                   บ
                                                   ็   ตาม
                                              ตะเข
                                      เข็บ)
                              ม ใชตะ
                         ง (ไ
               เสร   ิมแร




ตะเข็บตามยาว
การปองกันลมรั่ว                                                             การทดสอบรั่ว

                                                                        ► การใชสายตาตรวจสอบกรรมวิธีการอุดปองกันลมรั่วก็เพียงพอที่จะพิสูจน
                                                                          ไดวา โครงสรางทอลมมีการอุดดีแลวหรือไม ภายใตสภาวะตางๆ อาจ
                                                                          ยอมรับการรั่วได เพราะไมมีทอลมใดที่ปองกันรั่วไดสมบูรณ
                                                                        ► การทดสอบรั่วที่ทอลมเปนคาใชจายที่เกิดขึ้นในการติดตั้ง ไมแนะนําสําหรับ
                                                                          ทอลมที่มีโครงสราง 3” w.g. และต่ํากวาวาจะตองทดสอบรอยรั่ว
                                                                          เพราะทราบกันวามีผลตอตนทุน




Friction Rate                                                                                                        Assumptions
จาก แผนภูมิ 12.5 ซึ่งมีหนวยเปนนิ้วน้ําตอ 100 ฟุตของความยาว ซึ่งรวม
equivalent length ของขอตอ ทอแยก ของอ ที่อยูในทอลมนั้นๆ                                                         •ทอทําจาก Galvanized
ดวย                                                                                                                 Duct
                                                                                                                     •อุณหภูมิลมเย็น 70°F
ขอตอ ทอแยกตางๆ มีคา ∆P ตามตาราง 12.6 – 12.9 หรือ ตาราง
12.8 – 12.12 ของ Mcquistion                                                                                          •ความดัน 29.92 นิ้วน้ํา
                                                                                                                     •สถานที่ สูงไมเกิน 2000 ฟุต
ใน ตาราง 12.8 – 12.12 คาในตารางอยูในรูป C0 ดังนั้น คา ∆P จะ                                                       จากระดับน้ําทะเล
สามารถหาไดจากสมการ (หนวยเปนนิ้วน้ํา)
                                         2
                           ⎛ V ⎞
                   ΔP = C0 ⎜      ⎟
                           ⎝ 4005 ⎠
วิธการออกแบบทอลม
                   ี                                              Friction Chart

         หลักการทั่วไปในการออกแบบทอลม คือ พยายาม                 ในแตละหนาตัดของทอลม ในกรณีที่มีลมผานจะเกิดความสูญเสีย
                                                                      ความดันของลม เรียกวา Duct Friction Loss ซึ่ง
เดินแนวทอลมใหงายที่สุดเทาที่จะทําได และพยายามใหระบบ
                                                                      ขึนอยูกับ
                                                                        ้ 
ทอลมนั้นสมมาตร ตําแหนงที่จะจายลมออกมาควรตั้งอยูใน
ตําแหนงที่จะทําใหการกระจายลมภายในหองเปนไปไดดีที่สุด          1. Air Velocity
จากนั้นจึงคอยเดินทอลมไปยังตําแหนงจายลม แนวทอลมที่            2. Duct Size
เดิ น ต อ งไม ไ ปชนกั บ สิ่ ง กี ด ขวางใดๆ ยกเว น ในกรรี ที่
                                                                  3. Interior Surface Roughness
หลีกเลี่ยงไมไดแลว
                                                                  4. Duct Length
ซึงสามารถคํานวณการสูญเสียไดตามสมการ
      ่                                                         Equivalent Duct Diameter
                                                                จากแผนภูมิ ทีกลาวมาขางตน จะทราบ Equivalent Duct Diameter ซึ่งเปน
                                                                             ่
                                                    1.82        เสน ศก ของทอกลมทีมีพท เทากับทอเหลี่ยม เมื่อทราบ Equivalent Duct
                            ⎛ L ⎞⎛ V ⎞                                              ่
                ΔP = 0.03 f ⎜ 1.22 ⎟⎜   ⎟                       Diameter สามารถนําไปหาคาขนาดของทอเหลี่ยมได ตามตาราง 12.1 หรือ 12.8
                            ⎝ d ⎠⎝ 1000 ⎠                       (Mcquiston)
โดยที่
                                                                Air Velocity
∆P       =      การสูญเสียในทอ, นิ้วน้ํา (in.wg)
                                                                ควรคํานึงระดับเสียงดัง ตามความเหมาะสม หรือใชคาตามตาราง 12.12
F        =      ความหยาบของผิวใน (gulvanized duct) ใชคา 0.9
L        =      ความยาวของทอลม, ft
D        =      equivalent duct diameter, นิ้ว
V        =      ความเร็วลมในทอ, fpm




                                                                Friction Rate
                                                                อัตราเสียดทานที่ปรากฏในแผนภูมิ 12.5 หรือ 12.21ม 12.23
                                                                (Mcquiston) อยูในรูปนิ้วน้ําตอความยาว 100ft ในการหา Loss
                                                                สามารถหาไดจาก
                                                                Loss = Total _ Equiv. _ Length × friction _ rate


                                                                 วิธีวัดคาความยาวใหรวม
                                                                 Minor Loss ไปดวย
Velocity Pressure                                         Fan Conversion Loss and Gain

แสดงในรูปที่ 12.5 หรือใชคาตามตาราง 12.13
                                                                                        ⎧⎛ V ⎞ 2 ⎛ V f ⎞ 2 ⎫
                                                                                        ⎪                  ⎪
                                                             Vd > Vf          Loss = 1.1⎨⎜ d ⎟ − ⎜⎜ 4000 ⎟ ⎬
                                                                                                         ⎟
                                                                                        ⎪⎝ 4000 ⎠ ⎝
                                                                                        ⎩                ⎠ ⎪
                                                                                                           ⎭
                                                          Vd = ความเร็วลมในทอ (fpm)
                                                          Vf = ความเร็วลมจากพัดลม (fpm)
                                                          Loss = นิ้วน้ํา


                                                                                                ⎧⎛ V f ⎞ 2 ⎛ V ⎞ 2 ⎫
                                                                                                ⎪                    ⎪
                                                          Vd < Vf                    Gain = 0.75⎨⎜
                                                                                                 ⎜ 4000 ⎟ − ⎜ 4000 ⎟ ⎬
                                                                                                        ⎟
                                                                                                                d

                                                                                                ⎪⎝
                                                                                                ⎩       ⎠ ⎝        ⎠ ⎪
                                                                                                                     ⎭




Duct System Element Friction Loss                                ในการออกแบบทอลมระบบความเร็วต่ํา
ตาราง 12.8 เปนการสูญเสียสําหรับทอกลม ตาราง 12.9 เปน
การสูญเสียสําหรับทอเหลี่ยมในเทอมของ equiv. length
                                                                 1. Velocity Reduction Method การออกแบบ
                                                         ระบบท อ ลมโดยวิ ธี นี้ ทํ า ได โ ดยเลื อ กความเร็ ว เริ่ ม ต น ที่ Fan
ตาราง 12.6, 12.7 แสดงคาการสูญเสียของของอ ซึ่งมี R/D    Discharge จากนั้นลดความเร็วลมลงขณะที่ทอลมไดสงลม
ratio (12.6) และ L/D สําหรบตาราง 12.7
                                                         ออกไปยังหัวจายจุดตางๆ ความเร็วเริ่มตนที่เลือกมานี้ไมควรเกินที่
                                                         กําหนด
                                                                  ปกติ วิ ธี นี้ ไม ค อ ยนิ ย มใช นั ก เพราะต อ งใช ค วามรู แ ละ
                                                         ประสบการณมากสักหนอย แตอาจจะใชไดในกรณีที่เดินทอลม
                                                         งายๆ เมื่อใดที่ใชวิธีนี้ก็ควรคิด Splitter Damper ในทอลม
                                                         ดวย เพื่อใหสามารถแบงลมใหไดตามที่ตองการ
2. Equal Friction Method วิธีน้ีสามารถใช                            วิธี Equal Friction Method
ออกแบบได ทั้ ง ท อ ลมส ง ท อ ลมกลั บ และท อ ดู ด อากาศบริ สุ ท ธิ์
                                                       ΔP                  ในการออกแบบลมจาย 18 จุดใน สนง แหงหนึ่ง ตองการลมจายแตละจุด
หลักการของวิธีนี้ก็คือ ให Friction Loss                    ตอฟุต             300 cfm โดยปริมาณลมสงรวม 5400 cfm (18x300cfm)
ความยาวเทากันตลอดทั้งระบบ Equal FrictionLMethod                               ถาความดันลมจายที่หัวจายเปน 0.15 in.wg และของอ มีคา R/D
                                                                               = 1.25 จงหา
ระบบนี้เปนวิธีที่ดีกวาแบบ Velocity                  Reduction
Method เพราะไมจาเปนตองสมมาตรแนวการเดินทอลมหลัก
                        ํ                                                  1. Initial Duct Vel., area, size และ friction rate
                                                                              ในสวนของทอลมจากพัดลม ถึงทอแยกที่ 1
       การใชวิธีนี้ทําโดยเลือกความเร็วลมเริ่มตนในทอหลักซึ่งอยู         2. ขนาดของทอลมที่เหลือ
ใกลพัดลม ความเร็วลมนี้ควรใชตามคาแนะนํา โดยระบบเสียงอยู
                                                                           3. Total Equivalent Length ของทอลมที่มี
ในเกณฑไมมากเกินไป จากความเร็วลมเริ่มแรกนี้และจากปริมาณ                      resistance มากที่สุด
ลม นําไปหาคา Friction Rate จากคานี้ก็นําไปใชกับระบบ
                                                                           4. Total Static Pressure Require ของพัดลม
ทั้งระบบ


                                                                            เลือกความเร็วเริ่มตนที่ 1700 fpm………Ans. (เลือกมาเลย)
                                                                                                5400
                                                                            ดังนั้น ทอมีขนาด          = 3.18 ft2............... Ans.
                                                                                                1700
                                                                            ดังนั้น Circular Equivalent Diameter =
                                                                                                3.18 × 4
                                                                                                           = 2.01 ft = 24inches
                                                                                                   π
                                                                            เปดตาราง 12.1 หรือ ตาราง12.8 (Mcquiston) จะไดขนาดทอ 22” x 22”
                                                                            ………………. Ans.
                                                                          จากรูป 12.5 หรือ 12.21 (Mcquiston) ได friction rate = 0.145
                                                                          ปล standard friction rate ไมควรเกิน 0.1
0.145




เปดจากตาราง 12.14 ที่ CFM Cap. จะได Duct Area (%) ทําใหเปนตารางฟุต และ
เปดตารางที่ 12.1 หรือ12.8 (Mcquiston) เพื่อหาคา Duct Size โดยมีหลักเลือกวา
Duct ควรมีการลดขนาดไมมากนักในแตละชวง โดยพยายามหลีกเลี่ยงการลดขนาดทั้งดานกวาง
และดานตั้งพรอมกัน                                                                            การเขียน Duct Size นิยมเขียนขนาดที่มากกอน และ
ถาไมมีตาราง 12.14 ใหใชคา Friction rate ที่ 0.145 เทากันทุกชวงเพื่อหา diameter           ขนาดมากเปน width ขนาดที่นอย เปน Depth
                                                                                                                         
จากรูป 12.12 (Mcquiston) และตาราง 12.8 เพื่อหาขนาด
1. Total Equivalent Length ของทอลมที่มี resistance มากที่สุด




                                                                 ตารางที่ 12.9 ประมาณ
                                                                 ระหวาง 24”x24” และ
                                                                 20”x20”

                                                                ตารางที่ 12.9 ประมาณที่
                                                                24x10 และ 20x10




   Total Static Pressure Require ของพัดลม

   Loss = Total Equiv. Length x friction rate
                                                                                                 3. Static Regain Method เหมาะกับทอลม
                         0.145
                                                                                          ความเร็วสูง (สูงกวา 2000 fpm) หลักการงายๆ คือ เลือก
            = 229 ×            = 0.33in.wg .
                          100                                                             ขนาดทอลมใหได Regain อันเนื่องมาจากการลดความเร็วลม
   Total static pressure require คือการรวม operating pressure
                                                                                          ลง ณ แต ล ะส ว นที่ มี ก ารแยกของท อ ลม หั ก ล า งพอดี กั บ
   (โจทยกาหนด 0.15 นิ้วน้ํา) ที่หัวจาย และ loss ทีเ่ กิดในทอลม และตองคํานึงถึง
          ํ                                                                               Friction Loss ที่จะเกิดในทอลมสวนถัดมา ดังนั้น Static
   velocity regain ที่ first section และ Last section ดวย
                                                                                          Pressure จึงคงเทาเดิมกับกอนที่มีการแยกทอ วิธีการทําจะทํา
                          ⎧⎛ 1700 ⎞ 2 ⎛ 590 ⎞ 2 ⎫
                          ⎪                     ⎪
             regain = 0.75⎨⎜      ⎟ −⎜      ⎟ ⎬ = 0.12inches
                          ⎪⎝ 4000 ⎠ ⎝ 4000 ⎠ ⎪
                                                                                          ไดโดยเลือกความเร็วเริ่มตนแรกที่ พัดลม จากนั้นเลือกขนาดทอลม
                          ⎩                     ⎭
                                                                                          แรก สํ า หรั บ ขนาดท อ ลมส ว นที่ เ หลื อ ทํ า โดยใช แ ผนภู มิ L/Q
   ดังนั้น Fan discharge = 0.33+0.015-0.12 = 0.36 นิ้วน้ํา                                Ratio และแผนภูมิ Low Velocity Static regain
วิธี Static Regain Method                                            1. เลือกความเร็วลมในทอหลัก 1700 fpm ดังนั้น จะได Q = 5400 cfm พื้นที่
                                                                                ทอ 3.18ft2 และเลือกขนาดทอจากรูป 12.1 ไดทอขนาด 22”x22” และได
                                                                                                                           
        ในการออกแบบลมจาย 18 จุดใน                                              equiv. dia. = 24.1” จากรูป 12.8 ได friction rate = 0.145

        สนง แหงหนึง ตองการลมจายแตละจุด
                   ่                                                         2. ความยาวทอหลัก = 25’ + 35’ + ของอ (12’) = 72’
                                                                             3. Friction loss ได 72x0.145/100 = 0.104 นิ้วน้ํา
        300 cfm โดยปริมาณลมสงรวม
        5400 cfm (18x300cfm) ถาความดันลมจายที่หัวจายเปน 0.15
                                                                             ไดขนาดทอหลักแลว 22”x22”
           in.wg และของอ มีคา R/D = 1.25 จงหา
        1. Duct Size
        2. Total Static Pressure Require ของพัดลม




        ชวง A-B                                                             2. หาคาความเร็วจากแผนภูมิ 12.8 ที่ V = 1700 fpm (v กอน take off) และ
                                                                             L/Q = 0.135 ได V after take off = 1510 cfm
        1. มี 3600 cfm ความยาว 20 ft จากแผนภูมิ 12.7 ได L/Q ratio = 0.135




0.135
3. ไดคาความเร็ว สามารถหาคาพื้นที่ไดจาก Q/V = 3600/1510 = 2.38 ft2
4. นําคาพื้นที่ไปหาขนาดของ Duct จากรูป 12.1
5. Fan discharge pressure = 0.104 + 0.15 = 0.25 นิ้วน้ํา




                                                                        Duct Sizer
                                                                        เปนอุปกรณทชวยในการหาขนาดของทอ โดยไมจําเปนตองเปดตาราง
                                                                                    ี่
                                                                        ปล มันเปนวิธี Equal Friction Method นั่นเอง
The duct sizes listed
Program Excell สําหรับการคํานวณ Duct                                     in the chart
                                                                         provided are based
                                                                         on a fraction drop
                                                                         of .10 inches per
                                                                         100 feet of lineal
                                                                         duct. This "Equal-
                                                                         Friction" method of
                                                                         duct sizing should
                                                                         be adequate for
                                                                         normal residential
                                                                         furnace heating and
                                                                         air conditioning
                                                                         applications. Large
                                                                         r volumes or higher
                                                                         static pressures
                                                                         should be dealt with
                                                                         on an individual job
http://spreadsheetcreations.com/duct_sizing.htm                          basis.




 ตัวอยางโปรแกรมสําเร็จรูปของ www.elitesoft.com   Static Pressure Cal.
 Rhvac - Residential HVAC Loads and Duct Sizes
การออกแบบระบบทอความเร็วสูง
สิ่งที่เกิดขึ้นคือขนาดทอจะเล็กลง แตพัดลมจะตัวใหญขึ้น
ปล หลักการออกแบบ คลายกับวิธีความดันสถิตกลับคือ (Static Regain Method นั่นเอง
การไดรับความรอนของทอและการรั่วของลมเย็นภายในทอ
ในกรณีที่ไมไดหุมฉนวน ความรอนจากภายนอกอาจแทรกเขาไปทําใหลมเย็นในทอมีอณหภูมิ
                                                                          ุ                            การติดตังทอลม
                                                                                                               ้
สูงขึ้น ใชแผนภูมิ 12.11
สําหรับทอลมที่ aspect ratio ไมเทากับ 2:1 หรือมีฉนวนหุม ใหใชคาแกตามที่ระบุ              การยึดติดกับโครงสราง (Figure 4-2)
                                                                                              การหิ้วแขวน(Figure 4-4) /(Table 4-1)
                                                                                             การรองรับทอลม(Figure 4-6)/(Table 4-3)
                                                                                                 การยึดทอในแนวดิ่ง แบบตางๆ




การยึดติดกับโครงสราง                                                               การหิ้วแขวน(Figure 4-4)
        (Figure 4-2)
การรองรับทอลม
  (Figure 4-6)


                               ผิด
                                                                     ไมดีนัก




                 •การใชflexible duct ยาวมากที่สุดได 10 ฟุต
                 •ระวังรัศมีการดัดโคง และการเกิดความเคนที่รอยตอ




                       การยึดทอในแนวดิ่ง
การยึดทอในแนวดิ่ง      การยึดทอในแนวดิ่ง




การปรับทิศทางลมใหเหมาะสม
การติดตั้งCeiling diffuser
                             การติดตั้งCeiling diffuser




          ขอตอออน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
Akkradet Keawyoo
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
สำเร็จ นางสีคุณ
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Nan Natni
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
yaowaluk
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
พัน พัน
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
Weerawan Ueng-aram
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
Rock Rockie
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02
witthawat silad
 

Was ist angesagt? (20)

แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
C3
C3C3
C3
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
คู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากรคู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากร
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02
 

Andere mochten auch

Fluke thai 2012-2
Fluke thai 2012-2Fluke thai 2012-2
Fluke thai 2012-2
peerat
 
Refrigeration And Air Conditioning
Refrigeration And Air ConditioningRefrigeration And Air Conditioning
Refrigeration And Air Conditioning
Saurabh Jain
 

Andere mochten auch (12)

VRF II VRV
VRF II VRVVRF II VRV
VRF II VRV
 
VRF Systems comaprison
VRF Systems comaprisonVRF Systems comaprison
VRF Systems comaprison
 
Ckcc sign up process
Ckcc sign up processCkcc sign up process
Ckcc sign up process
 
Refrigeration and Air Conditioning System Components
Refrigeration and Air Conditioning System ComponentsRefrigeration and Air Conditioning System Components
Refrigeration and Air Conditioning System Components
 
Role of HVAC Engineer
Role of HVAC EngineerRole of HVAC Engineer
Role of HVAC Engineer
 
Tons of Refrigeration
Tons of RefrigerationTons of Refrigeration
Tons of Refrigeration
 
High Dynamic Range: An Introduction
High Dynamic Range: An IntroductionHigh Dynamic Range: An Introduction
High Dynamic Range: An Introduction
 
NOW ADVERTISE ON SEARCHO.ORG
NOW ADVERTISE ON SEARCHO.ORGNOW ADVERTISE ON SEARCHO.ORG
NOW ADVERTISE ON SEARCHO.ORG
 
Fluke thai 2012-2
Fluke thai 2012-2Fluke thai 2012-2
Fluke thai 2012-2
 
CT
CTCT
CT
 
Refrigeration And Air Conditioning
Refrigeration And Air ConditioningRefrigeration And Air Conditioning
Refrigeration And Air Conditioning
 
HVAC Basic Concepts of Air Conditioning
HVAC Basic Concepts of Air ConditioningHVAC Basic Concepts of Air Conditioning
HVAC Basic Concepts of Air Conditioning
 

Air duct system design

  • 1. Duct Design 615431 Air Conditioning หน าที่ ข องท อลม คื อ การส งลมจากเครื่ อ งส งลมไปยั ง Duct System Design บริเวณปรับสภาวะอากาศ การออกแบบทอลมในทางปฏิบัติตอง คํานึงถึงบริเวณที่สามารถเดินทอลมได การสูญเสียเสียดทาน ความเร็วลม ระดับเสียง และการไดรับความรอนหรือสูญเสีย ความเย็นของทอลมดวย 615431 Air Conditioning Department of Mechanical Engineering Faculty of Engineering and Industrial Technology Silpakorn University การออกแบบระบบโดยทั่วไป ในการปรับอากาศเพือการคาหรือที่พักอาศัย ่ ระบบความเร็วลมต่ํา ความเร็วลมจะไมเกิน 2,500 ฟุตตอนาที ปกติจะ ทอลมสงและทอลมกลับจะแบงออกเปนชนิดตางๆ อยูระหวาง 1,200 – 2,200 ฟุตตอนาที ตามความเร็วลม และความดันลมภายในทอลม ระบบความเร็วลมสูง ความเร็วลมจะเกิน 2,500 ฟุตตอนาที ขึนไป ้ สําหรับทอลมสงนั้น การแบงชนิดตามความเร็วลมภายในทอ จะแบงออกเปน 2 ในการปรับอากาศในโรงงานอุตสาหกรรม ชนิด คือ • ระบบความเร็วต่า ํ ระบบความเร็วลมต่ํา ความเร็วลมจะไมเกิน 2,500 ฟุตตอนาที ปกติจะ • ระบบความเร็วสูง อยูระหวาง 2,200 – 2,500 ฟุตตอนาที ระบบความเร็วลมสูง ความเร็วลมจะเกิน 2,500 – 5,000 ฟุตตอนาที
  • 2. สําหรับทอลมกลับของระบบลมสง ที่มีความเร็วต่ําและความเร็วสูง จะ คิดวาเปนระบบความเร็วลมต่ําหมด ดังนี้ สวนการแบงชนิดของทอลมตามความดันลมภายในทอ จะแบงออกเปน 3 ชนิด คือ ในการปรับอากาศเพื่อการคาหรือที่พักอาศัย ระบบความเร็วลมต่ํา ระบบความดันลมต่ํา ความดันลมจะอยูระหวาง 0 - 3 ¾ in. wg ความเร็วลมจะไมเกิน 2,000 ฟุตตอนาที ปกติจะอยูระหวาง 1,500 ระบบความดันลมกลาง ความดันลมจะอยูระหวาง 3 ¾ - 6 ¾ in. wg – 1,800 ฟุตตอนาที ระบบความดันลมสูง ความดันลมจะอยูระหวาง 6 ¾ - 12 ¼ in. wg ความดันลมทั้ง 3 ชนิด ที่กลาวมาขางตนนัน เปนความดันรวม ้ ในการปรั บ อากาศในโรงงานอุ ต สาหกรรม ระบบความเร็ ว ลมต่ํ า (Total Pressure) โดยรวมการสูญเสียตางๆที่เกิดขึน ้ ความเร็วลมจะไมเกิน 2,500 ฟุตตอนาที ปกติจะอยูระหวาง 1,800 เนืองจากลมไหลผานเครื่องสงลมเย็น ผานทอลม และผานหัวจายลม ่ – 2,200 ฟุตตอนาที Fan (Blower) กําลังของพัดลม W = Q(ΔP) หนวย SI W = Q( FTP ) / 6356 หนวยอังกฤษ Fan’s Law Q1 rpm1 W1 rpm1 3 = =( ) พัดลม Q2 rpm2 W2 rpm2 P rpm1 2 1 =( ) P2 rpm2
  • 3. พัดลมแบบ Centrifugal Fan แบง Class ตามการใชงานได 4 Class ดังนี้ Class I ใชไดกับ Total Static Pressure (TSP) <= 3 ¾ in. wg Class II ใชไดกับ Total Static Pressure (TSP) <= 6 3/4in. wg. Class III ใชไดกับ Total Static Pressure (TSP) <= 12 ¼ in. wg. Class IV ใชไดกับ Total Static Pressure (TSP) > 12 1/4in. wg. (นิ้วน้ํา) ใบพัดลมแบบ Forward Curve Blade (FC) ใบพัดลมแบบ Backward Curve Blade (BI) เหมาะกับการใชงานที่ตองการปริมาณลมมาก Total เหมาะกับการใชงานที่มีคา Total Static Pressure Static Pressure (TSP) ต่ําขณะใชงาน รอบของ (TSP) สูง พัดลมจะมีคาต่ํากวาแบบอื่น ขอดี คือ พัดลมแบบนี้จะมีประสิทธิภาพการใชงาน ขอดี คือ ราคาถูก ทนทาน เพราะความสึกหรอนอย เนื่องจาก (Efficiency) สูง ใชงานที่รอบพัดลมต่ํา ทําใหสามารถใชเพลาและตลับลูกปน (Bearing) เล็กลง มอเตอรจะไมเกิดการ Overload ถึงแมวาคา Total Static Pressure จะลดลง สวนขอเสีย คือ หากเลือกใชพัดลมจากคา Operating เหมาะกับระบบ Point ใน Fan Curve ไมดี อาจทําใหเกิดอาการลม กําจัดฝุน หรือระบบ  สวนขอเสีย คือ ราคาแพงเนื่องจากตองมีโครงสรางที่แข็งแรง พัดไมสม่ําเสมอ (Surge หรือ Paralleling) เพลาและตลับลูกปน (Bearing) มีขนาดใหญขึ้น เหมาะกับระบบ ระบายอากาศเฉพาะ ที่มอเตอรอาจเกิดการ Overload ได หากคา Total จุด ทํางานที่ความเร็วในการหมุนสูง ทําใหมีเสียงดัง HVAC Static Pressure (TSP) ลดลงมาก ไมเหมาะกับระบบที่มีฝุน มีประสิทธิภาพและ TSP ต่ํา
  • 4. ใบพัดลมแบบ Air Foil (AF) จะมีลกษณะ ั ลักษณะการใชงานพัดลม แบงเปน 2 แบบคือ SWSI และ DWDI คลายกับแบบ Backward Curve (BC) แต SWSI (Single Width - Single Inlet) คือ ลักษณะของ ดัดแปลงใหใบเปน 2 ชั้น คลายปกเครื่องบิน สวน ใหญจะใชกับงานที่ตองการปริมาณลมมาก และ พัดลมที่มีโกรงพัดลมเปนชั้นเดียว และทางเขาของลมจะเขาเพียงทางเดียว Total Static Pressure (TSP) สูง เนื่องจากมีประสิทธิภาพดีกวาแบบอื่นๆ แตก็มราคา ี แพงขึ้นมากเชนกัน โกรงพัดลมชั้นเดียว Centrifugal Fan โกรงพัดลมชั้นเดียว ลักษณะ SWSI Forward curve Backward curve In - Line Fan โดยทั่วไปจะแบงออกเปน 2 ประเภท คือ DWDI (Double Width - Double Inlet) คือ ลักษณะของพัดลมเปน 2 มอเตอรอยูดานนอก เหมาะสําหรับการระบายอากาศที่คอนขางสกปรกหรือมีอุณหภูมิสูง เชน ชิ้นติดกัน และทางเขาของลมจะเขาทั้งสองขาง เหมาะกับงานที่มีปริมาณลมมาก และพัดลมอยูใน การระบายอากาศจากหองครัว หรือใชในกรณีความเร็วของพัดลมไมเทากับความเร็วของมอเตอร หองพัดลม (Fan Room) ที่ไมตองการตอกลอง Plenum เขาทางดานดูด (โดยใชหอง สามารถปรับรอบได (เปนแบบ Belt Drive ) และจะตองติดตั้ง Belt Guard ดวย พัดลมเปน Plenum) มอเตอรอยูดานใน เหมาะสําหรับการระบายอากาศจากพื้นที่ทั่วไป หรือมีอุณหภูมิไมสูงมากเพื่อ จะไดเปนการระบายความรอนของมอเตอรดวย โดยมีความเร็วของพัดลมเทากับความเร็วของ มอเตอร (เปนแบบ Direct Drive) โกรงพัดลมเปน 2 ชัน ้ (แบบ Forward Curve) Centrifugal Fan ลักษณะ DWDI โกรงพัดลมเปน 2 ชั้น มอเตอรอยูดานใน  (แบบ Backward Curve) มอเตอรอยูดานนอก 
  • 5. เว็บไซตแนะนําเกียวกับพัดลมและการติดตั้งพัดลม ่ Fan Performance and Selection http://www.iecm.co.th/iso_knowledge_ac.htm สิ่งที่ตองทราบคือ 1. CFM 2. Total Pressure เลือกจาก Fan Characteristic Curve Backward-Curved Blade Fans Forward-Curved Blade Fan พัดลมชนิดนี้ใชมากในระบบ HVAC โดยเฉพาะเมื่อตองการประหยัดแรงมาของพัดลม ปกติใชในระบบที่มีความดันต่ํา เชน เตาเผา การใชงาน สวนใหญใชความเร็วต่ํา โดยมากใชในระบบในระบบต่ํา กลาง และสูง ซึงทําใหประสิทธิภาพต่ําลงไปดวย ่
  • 6. Vaneaxial Fan Fan ใชในระบบ HVAC ที่ตองการแนวเสนตรง  Installation D= 4 HW π ความดันสถิตยของพัดลม FSP (Fan Static Pressure) คือความ SPinlet = -8.83 in.wg. SPoutlet = +0.68 in.wg. ดันที่พัดลมตองสรางขึ้นเพือใหอากาศไหลผานระบบในปริมาณที่ตองการ ภายใต ่ VPinlet = +1.25 in.wg. ความดันสถิตยของระบบที่ออกแบบไว สามารถหาไดจาก ผลตางของความดัน รวมของพัดลม (FTP, Fan Total Pressure) และความดันจลนของ อากาศที่ทางออก (VPoutlet) จงหาความดันสถิตยของระบบดังรูป Q=300cfm FSP = FTP − VPoutlet FTP = (SPoutlet + VPoutlet ) − (SPinlet + VPinlet ) FSP = SPoutlet − SPinlet − VPinlet FSP = (+0.68) − (−8.83) − (1.25) = 8.26in.wg . ดังนั้น พัดลมทีจะนํามาใชกับระบบนี้ ตองสรางความดันสถิตยไดไมนอยกวา 8.26 in.wg. ที่ FSP = SPoutlet − SPinlet − VPinlet ่ อัตราการไหล 300 cfm
  • 7. พัดลมทํางานที่ความเร็วรอบ 1180 rpm ที่ 13 hp ลําเลียงอากาศ 10,000 cfm ที่ Fan’s Law แสดงใหทราบถึงผลกระทบของขนาดเสนผาน ความดันสถิตย 12 in.wg จงหาสมรรถนะของพัดลมตัวนี้ ถาความเร็วรอบในการทํางาน ศูนยกลางของพัดลม (size) และความเร็วรอบที่มีตอสมรรถนะการ เพิ่มเปน 1400 rpm ทํางานของพัดลม จงหาสมรรถนะคือหา Q, SP และ Power 3 Q1 rpm1 ⎛ size1 ⎞ = ⎜ ⎟ 3 Q2 rpm2 ⎜ size2 ⎟ ⎝ ⎠ Q1 rpm1 ⎛ size1 ⎞ = ⎜ ⎟ ⇒ 10000 1180 = ⇒ Q2 = 11864cfm 2 2 Q2 rpm2 ⎜ size2 ⎟ SP ⎛ rpm1 ⎞ ⎛ size1 ⎞ ⎝ ⎠ Q2 1400 1 =⎜ ⎜ rpm ⎟⎟ ⎜ ⎜ size ⎟⎟ 2 2 2 SP2 ⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠ SP ⎛ rpm1 ⎞ ⎛ size1 ⎞ 12 ⎛ 1180 ⎞ 1 =⎜ ⎟ ⎜ ⎜ size ⎟ ⇒ SP = ⎜ 1400 ⎟ ⇒ SP2 = 16.89in.wg . SP2 ⎜ rpm2 ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎟ 2 ⎠ 2 ⎝ ⎠ 3 5 W1 ⎛ rpm1 ⎞ ⎛ size1 ⎞ 3 5 3 =⎜ ⎟ ⎜ ⎜ size ⎟ W1 ⎛ rpm1 ⎞ ⎛ size1 ⎞ 13 ⎛ 1180 ⎞ W2 ⎜ rpm2 ⎟ ⎟ =⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⇒ =⎜ ⎟ ⇒ W2 = 21.71hp ⎝ ⎠ ⎝ 2 ⎠ W2 ⎜ rpm2 ⎟ ⎝ ⎠ ⎜ size ⎟ ⎝ 2 ⎠ W2 ⎝ 1400 ⎠ การพิจารณาบริเวณที่จะเดินทอลม 1. การสูญเสียความเย็นในทอลม การพิจารณาบริเวณที่จะเดินทอลมทั้งทอลมสงและทอลมกลับ เปนสิ่ง กรณีที่มีทอลมที่ยาวมาก อาจมีความรอนที่เล็ดรอดเขาสูทอ ทําให สําคัญอยางหนึ่งในการออกแบบทอลม เพราะจะทําใหทราบแนว สูญเสียความเย็นในทอ ในการประมาณคาความรอน ตองคิดถึง ทางการเดินทอลม อีกทั้งยังอาจทําใหทราบระบบของทอลมทีจะใช ่ ความรอนในสวนนี้ดวย ทําใหเครื่องทําลมเย็นมีขนาดใหญขน โดย ึ้ ที่ การเปรียบเทียบ First Cost และ Operating Cost ใน • ทอที่มี Aspect Ratio สูง จะไดรับความรอนมากกวาทอที่มี การเดินระบบทอลม Aspect Ratio ต่ํา การสูญเสียความเย็นในทอลม • ลมความเร็วต่ํา จะไดรับความรอนมากกวาลมความเร็วสูง Aspect Ratio Duct friction Rate • ฉนวน ยิ่งหนามาก ความรอนที่ทอไดรับจะนอยลง Type of fittings แนะนําทอที่มี aspect ratio ต่ํา ความเร็วลมสูงแตไมเกิดเสียงดัง
  • 8. 2. Aspect Ratio 1 2 (ab) 0.625 d e = 1.3 3 (a + b) 0.25 4 ตารางที่ 12.1 เปนทอที่มอัตรา ี แรงเสียดทานขนาดเดียวและ 5 พื้นที่กับทอกลม ขอแนะนํา ควรใชทอกลมหรือ 6 ทอเหลี่ยมทีมีขนาด aspect ่ ratio ใกลเคียง 1 เพื่อให อัตราแรงเสียดทานนอยที่สุด แนวการเดินทอลม แนวการเดินทอลมก็มีตัวแปรตางๆ ที่เขามาเกี่ยวของ อยูหลายอยางดวยกัน คือ 1. ชวงเปลี่ยนขนาดทอลมใชชวงเปลี่ยนขนาดทอลม เพื่อลดหรือเพิ่ม ขนาด แตขนาดพื้นที่หนาตัดคงเดิม แตในการลด ไมควรลดขนาดมากกวา 20% ของขนาด เดิม 2. ของอ ขอตอ 3. ทอแยก 4. การกลั่นตัวเปนหยดน้ําบนผิวทอลม 5. การควบคุมปริมาณลม
  • 9. 2. ของอ ขอตอ 1. ชวงเปลี่ยนขนาดทอลม ข อ งอสํ า หรั บ ท อ ลมเหลี่ ย ม จะมี แ บบต า งๆ เช น full การเปลี่ยนขนาดทอลมจะใชเพื่อเปลี่ยนรูปทรงทอลม radius elbow, shot radius vane elbow และ หรื อ ใช เ พื่ อ เพิ่ ม หรื อ ลดพื้ น ที่ ท อ ลม เมื่ อ รู ป ทรงของท อ ลม vaned square elbow สวนของอสําหรับทอกลมจะมีแบบ เหลี่ยมเปลี่ยนไป แตพื้นที่หนาตัดยังคงเดิม ควรใชความชัน ตางๆ เชน smooth elbow, 3-piece elbow เปนตน 1 นิ้ว ใน 7 นิ้ว สําหรับดานตางๆ ที่มีการเปลี่ยนรูปทรง ถา ไมสามารถใชความชันนี้ได อยางมากที่สุดไมเกิน 1 นิ้ว ใน 4 3. ทอแยก นิ้ ว ปกติ แ ล ว ท อ ลมจะต อ งถู ก ลดขนาดลงเพื่ อ เลี่ ย งสิ่ ง กี ด ทอแยกมีอยูหลายชนิดดวยกัน เชน ทอแยกแบบ full ขวาง แตก็ไมควรลดขนาดลงเกินกวา 20 % ของพื้นที่ทอ radius elbow นิยมใชกันมาก แบบ square ล ม ก อ น ล ด ข น า ด ใ น ส ว น ข อ ง พื้ น ที่ ท อ ล ม เ พิ่ ม ขึ้ น ก็ elbow take-off ไมนิยมใชเพราะราคาแพง และ เชนเดียวกัน pressure drop สูง เปนตน 4. การกลั่นตัวเปนหยดน้ําบนผิวทอลม เปนสิ่งที่ตองคํานึงถึง เพราะผิวทอลมอาจจะเปยกหรือมีหยด น้ําเกาะ ในกรณีที่ผิวทอลมมีอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิจุดน้ําคางของ อากาศที่ลอมรอบทอลม 5. การควบคุมปริมาณลม โครงสรางและการติดตังทอลม ้ ในระบบทอลมความเร็วต่ํา การควบคุมลมใหผานหรือแยกเขา ในแตละทอตางๆ ตองใช splitter damper ในทอลมระบบ ความเร็วลมสูง จะใช volume damper หรือ pivot type damper ในระบบความเร็วลมสูงควรติด volume damper ไวที่ปลายหัวจายลมทุกหัวดวย เพื่อควบคุมปริมาณลม ที่สงออกจากหัวจายลม 
  • 10. คุณสมบัติของทอสงลมทัวไป ่ ชนิดและหนาที่ของทอสงลมในระบบปรับอากาศ รูปรางที่มีความแข็งแรง ไมยบตัว ุ ทอสงลมเย็น เชน ทอสงลมเย็น (Supply air duct) ทอลมกลับ ใชในการสงลม(ควบคุมการรัวได) ่ (Return air duct) การสั่นสะเทือนนอย เสียง การปรากฏแกสายตา ไมวาจะเปน ความเสียหาย การทนตอสภาพอากาศ อุณหภูมิ ทอระบายอากาศ เชน ทอดูดอากาศ (Exhaust air duct) ทอลม การ บริสุทธิ์(Fresh air duct) ทอดูดควัน(Smoke exhaust (Fresh เปลี่ยนแปลง ลม การกัดกรอน ทอฝงดิน duct) Supporting seismic restrain ทอดูดอากาศเสีย เชน ทอดูดควันอาหาร (Kitchen exhaust thermal conductivity การสูญเสียความรอน การกลั่นตัวของหยดน้ํา duct) ทอดูดอากาศเสีย(Exhaust duct) ทอดูดสารเคมี (Chemical exhaust duct) เปนตน ชนิดของวัสดุที่ใชทําทอลมทั่วไป ขอมูลของอุปกรณในงานทอลมของระบบปรับอากาศ แผนเหล็กอาบสังกะสี ตัวทอลม Galvanized steel sheet, insulation, addhesive, tape, hing, rivet, screw, bushing, แผนเหล็ก sealant, angle, fasten belt, escutchen, fire แผน Stainless steel seal, แผน PVC การหิวแขวน Block out ้ Main Equipment ไฟเบอรกลาส Filter อลูมิเนียม Heater อื่นๆ หัวจายลม sound attenuator
  • 11. การตอทอลมกับอุปกรณหลัก รูปของทอ ลมชนิด ตางๆ ทอลมที่ทําจากโรงงาน Flexible air Duct
  • 12. ทอเมนและทอแยก ทอสงลมเย็น Air Duct & Fittings Air Duct & Fittings
  • 13. ตารางที่ 12.6 – 12.9 แสดงภาพของอ ขอตอ ทอแยก ชนิดตางๆ Recommend slope 1:7 for high Vel. 1:4 for low Vel.
  • 14. Galvanized steel sheet (Roll) ฉนวน (insulations) ปองกันการสูญเสียพลังงานความรอน ปองกันการเกิดควบแนน (Condensation) ชวยซับเสียงหรือลดเสียงได การหุมฉนวน มี 2 วิธี  การหุมภายนอก ใชฉนวนยาง  หรือประเภทใยแกว การหุมภายใน เพื่อผลทางการซับเสียงหรือลดเสียงดวย ใชฉนวน  ยางหรือใยแกวที่มีความหนาแนนสูง
  • 15. ทอหุมฉนวนภายนอกและภายใน สวนประกอบของฉนวนใยแกว(Fiberglass) หุมภายนอกใชใยแกวที่มีความหนาแนนต่ํา 1-2 ปอนดตอลบ.ฟุต หนา1-2นิ้ว ที่ปดทับดวย Aluminum foil เพื่อปองกันไอน้ํา หุมภายในใชใยแกวที่มีความหนาแนนสูง2-3 ปอนดตอลบ.ฟุต เพื่อลดโอกาส  เสนใยหลุดไปตามลม อาจปดทับดวย Aluminum foilหรือเคลือบ ผิวฉนวนดวยกาวเหนียว หนา1-2นิ้ว เพื่อประโยชนในการชวยซับเสียง หรือ ตัดตอนเสียงจากเครื่องไมใหเดินทางไปสูหองที่ใชงาน  การกระจายลมภายในหอง การกระจายลมสําหรับบุคคล อุณหภูมิภายในหอง ไมควรตางกัน เกิน 2°F และ 3°F สําหรับหองรวม คาความสบายของคน เกิดขึนเมื่อ ้ ลมเย็นที่ผานตัวมีความเร็ว 15 – 30 fpm และกระทบคน ดานหนาหรือดานหลังจะดีที่สุด แตไมควรเกิน 60 fpm
  • 16. Diffuser คือหัวจายลมแบบกระจายรอบตัว หนากากลม(Air Grilles) Grille หัวจายลมหรือแผงลมกลับ หรือแผงดูดอากาศบริสุทธิ์ มักเจาะติด ไวที่ผนังหรือเพดาน Outlet Vel. คือความเร็วลมเฉลี่ยที่ออกจากหัวจายลม วัดที่คอหัวจาย ลม แบงตามหนาที่และตําแหนง Primary Air คืออากาศแรกที่ออกจากหัวจายลม 1. สงกระจายลมเย็น Ceiling diffuser , Register , Slot Register คือ Grille ที่ติดใบปรับทิศทาง diffuser , Nozzle Return Grille คือแผงลมกลับ นําลมเย็นที่ใชแลวภายในหองกลับไปสู 2. ลมกลับ Return Air Grille เครื่องสงลมเย็น 3. ควันหรืออากาศเสีย Exhaust Air Grille Secondary Air คือลมในหองที่ไหลไปรวมกับ primary air 4. อากาศบริสุทธิ์ Fresh Air Grille Temp. Diff. คืออุณหภูมิทแตกตางระหวางหอง กับ primary ี่ air หัวจายลม (Diffuser) 1. แบบบารปรับ เหมาะสําหรับลมจายดานขาง อาจเรียกวา Register 2. แบบสลอต ลักษณะคลายแอรราว 3. แบบติดเพดาน มีทั้งแบบกลม แบบเหลียม ซึ่งอาจมี ่ ถาเอาพื้นที่เปนเกณฑ กําหนดใหใช 16 m2 ตอ 1 ตันความเย็น โดยที่ 1 ตัน เทากับ 400 cfm damper ดวยหรือไมก็ได ดาดฟา ใช กําหนดใหใช 12 m2 ตอ 1 ตันความเย็น การติดตั้งควรติดใหเหมาะสม ไมควรติดใกลกับหัวจายลมเย็นมากเกินไป หางจากบริเวณครัว หองดานทิศตะวันตก ใช กําหนดใหใช 14 m2 ตอ 1 ตันความเย็น หรือหองน้ําเพื่อปองกันกลิ่น ความดันในหองปรับอากาศ ควรสูงกวาภายนอกหอง สวน หองน้ําควรมีความดันที่ต่ํากวาเพื่อปองกันกลิ่นที่อาจเล็ดรอดออกมา ถาใชที่นั่งเปนเกณฑ เชน โรงภาพยนตร หรือหองประชุม กําหนดใช 10 ที่นั่งตอตัน การปรับระบบการกระจายตัว โดยปกติจะไมทากันบอย นอกจากจะมีสาเหตุที่แนชัด ํ
  • 17. Round ceiling diffuser หัวจายลมชนิดกลม Square Ceiling diffuser หัวจายลมชนิด สี่เหลียม ่ Return Air Grille ตัวอยาง Linear Slot Diffuser ขนาด 4 Slots Light troffer
  • 18. โครงสรางของทอสงลม ที่ทําดวยแผนเหล็กอาบสังกะสี Register แบบตางๆ การแบง Class ทอลม ตามความดัน Class ของทอลม (ความดัน,ความเร็ว) การแบงชนิดของทอสงลมเย็นตามความเร็วลม หรือตามแรงดัน Static ╬ Low velocity มีStatic pressure1/2 - 2 w.g. ╬ Medium velocity มีStatic pressure 2-3 w.g. ╬ High velocity มีStatic pressure mm 3 w.g. & over
  • 19. ความแข็งแรงของทอลม ขนาดทอลม ตะเข็บตามขวาง ความหนาผนังทอลม ตะเข็บตามยาว การเสริมแรง ชวงการเสริมแรง Beading ขนาดทอลม ความหนาแผนเหล็ก Crossbreak ชวงการเสริมแรง การเสริมความแข็งแรง
  • 20. มาตรฐานของแผนเหล็กชุบสังกะสี ชนิด หนาทีของรอยตอหรือตะเข็บ ่ ► ใน SMACNA ใช standard U.S.gage 1. ยึดตอทอลมแตละสวน ► แผนเหล็กชุบสังกะสีในบานเราใช B.W.G. 2. ปองกันการรั่วของลม 3. ชวยในการเสริมแรง (Reinforcement) ใหกับทอลม ► ความหนาของstandard U.S.gage จะหนากวาหรือเทากับB.W.G. ► ชนิดของรอยตอหรือตะเข็บ 1. ตามขวาง (ตั้งฉากกับการไหลของลม) ► การใชงานตองเปรียบเทียบกับความหนา 2. ตามยาว (ตามการไหลของลม) ชนิดและรูปแบบของรอยตอตามขวาง ► Class ความดันลม รอยตอหรือตะเข็บเสริมแรง ► ขนาดของทอ การเสริมแรงระหวางรอยตอทอ รอยตอหรือตะเข็บธรรมดา ► ความหนาของแผนโลหะที่ทําทอลม ► ชวงของรอยตอตามขวาง ดานที่ไมมีการเสริมแรง
  • 21. ชวงระยะการReinforcement ตามที่กาหนดไว สําหรับทอลมแต ํ ละขนาด แรง เสริม การ ชวง รง ชวงการ เส ริมแ Reinforcement ไม การ จําเปนตองตรงกับ ดานที่ประชิดกัน ชวง ปลายของreinforcement member ของทอที่มี pressure class ตังแต 4” w.g. ขึ้นไปตองยึดดวย ้ ตอ rod ตามรูป บ็ รอย าง ตะเข ะหว ชวงร รอยตอ-ตะเข็บ ตะเข็บ-ตะเข็บ ตามขวาง ตามยาว,ตอแผน
  • 22. รอยตะเข็บและการเสริมแรงของทอลม ิม แรง) (เสร ขวาง บ ็ ตาม ตะเข เข็บ) ม ใชตะ ง (ไ เสร ิมแร ตะเข็บตามยาว
  • 23. การปองกันลมรั่ว การทดสอบรั่ว ► การใชสายตาตรวจสอบกรรมวิธีการอุดปองกันลมรั่วก็เพียงพอที่จะพิสูจน ไดวา โครงสรางทอลมมีการอุดดีแลวหรือไม ภายใตสภาวะตางๆ อาจ ยอมรับการรั่วได เพราะไมมีทอลมใดที่ปองกันรั่วไดสมบูรณ ► การทดสอบรั่วที่ทอลมเปนคาใชจายที่เกิดขึ้นในการติดตั้ง ไมแนะนําสําหรับ ทอลมที่มีโครงสราง 3” w.g. และต่ํากวาวาจะตองทดสอบรอยรั่ว เพราะทราบกันวามีผลตอตนทุน Friction Rate Assumptions จาก แผนภูมิ 12.5 ซึ่งมีหนวยเปนนิ้วน้ําตอ 100 ฟุตของความยาว ซึ่งรวม equivalent length ของขอตอ ทอแยก ของอ ที่อยูในทอลมนั้นๆ •ทอทําจาก Galvanized ดวย Duct •อุณหภูมิลมเย็น 70°F ขอตอ ทอแยกตางๆ มีคา ∆P ตามตาราง 12.6 – 12.9 หรือ ตาราง 12.8 – 12.12 ของ Mcquistion •ความดัน 29.92 นิ้วน้ํา •สถานที่ สูงไมเกิน 2000 ฟุต ใน ตาราง 12.8 – 12.12 คาในตารางอยูในรูป C0 ดังนั้น คา ∆P จะ จากระดับน้ําทะเล สามารถหาไดจากสมการ (หนวยเปนนิ้วน้ํา) 2 ⎛ V ⎞ ΔP = C0 ⎜ ⎟ ⎝ 4005 ⎠
  • 24. วิธการออกแบบทอลม ี Friction Chart หลักการทั่วไปในการออกแบบทอลม คือ พยายาม ในแตละหนาตัดของทอลม ในกรณีที่มีลมผานจะเกิดความสูญเสีย ความดันของลม เรียกวา Duct Friction Loss ซึ่ง เดินแนวทอลมใหงายที่สุดเทาที่จะทําได และพยายามใหระบบ ขึนอยูกับ ้  ทอลมนั้นสมมาตร ตําแหนงที่จะจายลมออกมาควรตั้งอยูใน ตําแหนงที่จะทําใหการกระจายลมภายในหองเปนไปไดดีที่สุด 1. Air Velocity จากนั้นจึงคอยเดินทอลมไปยังตําแหนงจายลม แนวทอลมที่ 2. Duct Size เดิ น ต อ งไม ไ ปชนกั บ สิ่ ง กี ด ขวางใดๆ ยกเว น ในกรรี ที่ 3. Interior Surface Roughness หลีกเลี่ยงไมไดแลว 4. Duct Length
  • 25. ซึงสามารถคํานวณการสูญเสียไดตามสมการ ่ Equivalent Duct Diameter จากแผนภูมิ ทีกลาวมาขางตน จะทราบ Equivalent Duct Diameter ซึ่งเปน ่ 1.82 เสน ศก ของทอกลมทีมีพท เทากับทอเหลี่ยม เมื่อทราบ Equivalent Duct ⎛ L ⎞⎛ V ⎞ ่ ΔP = 0.03 f ⎜ 1.22 ⎟⎜ ⎟ Diameter สามารถนําไปหาคาขนาดของทอเหลี่ยมได ตามตาราง 12.1 หรือ 12.8 ⎝ d ⎠⎝ 1000 ⎠ (Mcquiston) โดยที่ Air Velocity ∆P = การสูญเสียในทอ, นิ้วน้ํา (in.wg) ควรคํานึงระดับเสียงดัง ตามความเหมาะสม หรือใชคาตามตาราง 12.12 F = ความหยาบของผิวใน (gulvanized duct) ใชคา 0.9 L = ความยาวของทอลม, ft D = equivalent duct diameter, นิ้ว V = ความเร็วลมในทอ, fpm Friction Rate อัตราเสียดทานที่ปรากฏในแผนภูมิ 12.5 หรือ 12.21ม 12.23 (Mcquiston) อยูในรูปนิ้วน้ําตอความยาว 100ft ในการหา Loss สามารถหาไดจาก Loss = Total _ Equiv. _ Length × friction _ rate วิธีวัดคาความยาวใหรวม Minor Loss ไปดวย
  • 26. Velocity Pressure Fan Conversion Loss and Gain แสดงในรูปที่ 12.5 หรือใชคาตามตาราง 12.13 ⎧⎛ V ⎞ 2 ⎛ V f ⎞ 2 ⎫ ⎪ ⎪ Vd > Vf Loss = 1.1⎨⎜ d ⎟ − ⎜⎜ 4000 ⎟ ⎬ ⎟ ⎪⎝ 4000 ⎠ ⎝ ⎩ ⎠ ⎪ ⎭ Vd = ความเร็วลมในทอ (fpm) Vf = ความเร็วลมจากพัดลม (fpm) Loss = นิ้วน้ํา ⎧⎛ V f ⎞ 2 ⎛ V ⎞ 2 ⎫ ⎪ ⎪ Vd < Vf Gain = 0.75⎨⎜ ⎜ 4000 ⎟ − ⎜ 4000 ⎟ ⎬ ⎟ d ⎪⎝ ⎩ ⎠ ⎝ ⎠ ⎪ ⎭ Duct System Element Friction Loss ในการออกแบบทอลมระบบความเร็วต่ํา ตาราง 12.8 เปนการสูญเสียสําหรับทอกลม ตาราง 12.9 เปน การสูญเสียสําหรับทอเหลี่ยมในเทอมของ equiv. length 1. Velocity Reduction Method การออกแบบ ระบบท อ ลมโดยวิ ธี นี้ ทํ า ได โ ดยเลื อ กความเร็ ว เริ่ ม ต น ที่ Fan ตาราง 12.6, 12.7 แสดงคาการสูญเสียของของอ ซึ่งมี R/D Discharge จากนั้นลดความเร็วลมลงขณะที่ทอลมไดสงลม ratio (12.6) และ L/D สําหรบตาราง 12.7 ออกไปยังหัวจายจุดตางๆ ความเร็วเริ่มตนที่เลือกมานี้ไมควรเกินที่ กําหนด ปกติ วิ ธี นี้ ไม ค อ ยนิ ย มใช นั ก เพราะต อ งใช ค วามรู แ ละ ประสบการณมากสักหนอย แตอาจจะใชไดในกรณีที่เดินทอลม งายๆ เมื่อใดที่ใชวิธีนี้ก็ควรคิด Splitter Damper ในทอลม ดวย เพื่อใหสามารถแบงลมใหไดตามที่ตองการ
  • 27. 2. Equal Friction Method วิธีน้ีสามารถใช วิธี Equal Friction Method ออกแบบได ทั้ ง ท อ ลมส ง ท อ ลมกลั บ และท อ ดู ด อากาศบริ สุ ท ธิ์ ΔP ในการออกแบบลมจาย 18 จุดใน สนง แหงหนึ่ง ตองการลมจายแตละจุด หลักการของวิธีนี้ก็คือ ให Friction Loss ตอฟุต 300 cfm โดยปริมาณลมสงรวม 5400 cfm (18x300cfm) ความยาวเทากันตลอดทั้งระบบ Equal FrictionLMethod ถาความดันลมจายที่หัวจายเปน 0.15 in.wg และของอ มีคา R/D = 1.25 จงหา ระบบนี้เปนวิธีที่ดีกวาแบบ Velocity Reduction Method เพราะไมจาเปนตองสมมาตรแนวการเดินทอลมหลัก ํ 1. Initial Duct Vel., area, size และ friction rate ในสวนของทอลมจากพัดลม ถึงทอแยกที่ 1 การใชวิธีนี้ทําโดยเลือกความเร็วลมเริ่มตนในทอหลักซึ่งอยู 2. ขนาดของทอลมที่เหลือ ใกลพัดลม ความเร็วลมนี้ควรใชตามคาแนะนํา โดยระบบเสียงอยู 3. Total Equivalent Length ของทอลมที่มี ในเกณฑไมมากเกินไป จากความเร็วลมเริ่มแรกนี้และจากปริมาณ resistance มากที่สุด ลม นําไปหาคา Friction Rate จากคานี้ก็นําไปใชกับระบบ 4. Total Static Pressure Require ของพัดลม ทั้งระบบ เลือกความเร็วเริ่มตนที่ 1700 fpm………Ans. (เลือกมาเลย) 5400 ดังนั้น ทอมีขนาด = 3.18 ft2............... Ans. 1700 ดังนั้น Circular Equivalent Diameter = 3.18 × 4 = 2.01 ft = 24inches π เปดตาราง 12.1 หรือ ตาราง12.8 (Mcquiston) จะไดขนาดทอ 22” x 22” ………………. Ans. จากรูป 12.5 หรือ 12.21 (Mcquiston) ได friction rate = 0.145 ปล standard friction rate ไมควรเกิน 0.1
  • 28. 0.145 เปดจากตาราง 12.14 ที่ CFM Cap. จะได Duct Area (%) ทําใหเปนตารางฟุต และ เปดตารางที่ 12.1 หรือ12.8 (Mcquiston) เพื่อหาคา Duct Size โดยมีหลักเลือกวา Duct ควรมีการลดขนาดไมมากนักในแตละชวง โดยพยายามหลีกเลี่ยงการลดขนาดทั้งดานกวาง และดานตั้งพรอมกัน การเขียน Duct Size นิยมเขียนขนาดที่มากกอน และ ถาไมมีตาราง 12.14 ใหใชคา Friction rate ที่ 0.145 เทากันทุกชวงเพื่อหา diameter ขนาดมากเปน width ขนาดที่นอย เปน Depth  จากรูป 12.12 (Mcquiston) และตาราง 12.8 เพื่อหาขนาด
  • 29. 1. Total Equivalent Length ของทอลมที่มี resistance มากที่สุด ตารางที่ 12.9 ประมาณ ระหวาง 24”x24” และ 20”x20” ตารางที่ 12.9 ประมาณที่ 24x10 และ 20x10 Total Static Pressure Require ของพัดลม Loss = Total Equiv. Length x friction rate 3. Static Regain Method เหมาะกับทอลม 0.145 ความเร็วสูง (สูงกวา 2000 fpm) หลักการงายๆ คือ เลือก = 229 × = 0.33in.wg . 100 ขนาดทอลมใหได Regain อันเนื่องมาจากการลดความเร็วลม Total static pressure require คือการรวม operating pressure ลง ณ แต ล ะส ว นที่ มี ก ารแยกของท อ ลม หั ก ล า งพอดี กั บ (โจทยกาหนด 0.15 นิ้วน้ํา) ที่หัวจาย และ loss ทีเ่ กิดในทอลม และตองคํานึงถึง ํ Friction Loss ที่จะเกิดในทอลมสวนถัดมา ดังนั้น Static velocity regain ที่ first section และ Last section ดวย Pressure จึงคงเทาเดิมกับกอนที่มีการแยกทอ วิธีการทําจะทํา ⎧⎛ 1700 ⎞ 2 ⎛ 590 ⎞ 2 ⎫ ⎪ ⎪ regain = 0.75⎨⎜ ⎟ −⎜ ⎟ ⎬ = 0.12inches ⎪⎝ 4000 ⎠ ⎝ 4000 ⎠ ⎪ ไดโดยเลือกความเร็วเริ่มตนแรกที่ พัดลม จากนั้นเลือกขนาดทอลม ⎩ ⎭ แรก สํ า หรั บ ขนาดท อ ลมส ว นที่ เ หลื อ ทํ า โดยใช แ ผนภู มิ L/Q ดังนั้น Fan discharge = 0.33+0.015-0.12 = 0.36 นิ้วน้ํา Ratio และแผนภูมิ Low Velocity Static regain
  • 30. วิธี Static Regain Method 1. เลือกความเร็วลมในทอหลัก 1700 fpm ดังนั้น จะได Q = 5400 cfm พื้นที่ ทอ 3.18ft2 และเลือกขนาดทอจากรูป 12.1 ไดทอขนาด 22”x22” และได  ในการออกแบบลมจาย 18 จุดใน equiv. dia. = 24.1” จากรูป 12.8 ได friction rate = 0.145 สนง แหงหนึง ตองการลมจายแตละจุด ่ 2. ความยาวทอหลัก = 25’ + 35’ + ของอ (12’) = 72’ 3. Friction loss ได 72x0.145/100 = 0.104 นิ้วน้ํา 300 cfm โดยปริมาณลมสงรวม 5400 cfm (18x300cfm) ถาความดันลมจายที่หัวจายเปน 0.15 ไดขนาดทอหลักแลว 22”x22” in.wg และของอ มีคา R/D = 1.25 จงหา 1. Duct Size 2. Total Static Pressure Require ของพัดลม ชวง A-B 2. หาคาความเร็วจากแผนภูมิ 12.8 ที่ V = 1700 fpm (v กอน take off) และ L/Q = 0.135 ได V after take off = 1510 cfm 1. มี 3600 cfm ความยาว 20 ft จากแผนภูมิ 12.7 ได L/Q ratio = 0.135 0.135
  • 31. 3. ไดคาความเร็ว สามารถหาคาพื้นที่ไดจาก Q/V = 3600/1510 = 2.38 ft2 4. นําคาพื้นที่ไปหาขนาดของ Duct จากรูป 12.1 5. Fan discharge pressure = 0.104 + 0.15 = 0.25 นิ้วน้ํา Duct Sizer เปนอุปกรณทชวยในการหาขนาดของทอ โดยไมจําเปนตองเปดตาราง ี่ ปล มันเปนวิธี Equal Friction Method นั่นเอง
  • 32. The duct sizes listed Program Excell สําหรับการคํานวณ Duct in the chart provided are based on a fraction drop of .10 inches per 100 feet of lineal duct. This "Equal- Friction" method of duct sizing should be adequate for normal residential furnace heating and air conditioning applications. Large r volumes or higher static pressures should be dealt with on an individual job http://spreadsheetcreations.com/duct_sizing.htm basis. ตัวอยางโปรแกรมสําเร็จรูปของ www.elitesoft.com Static Pressure Cal. Rhvac - Residential HVAC Loads and Duct Sizes
  • 34. การไดรับความรอนของทอและการรั่วของลมเย็นภายในทอ ในกรณีที่ไมไดหุมฉนวน ความรอนจากภายนอกอาจแทรกเขาไปทําใหลมเย็นในทอมีอณหภูมิ ุ การติดตังทอลม ้ สูงขึ้น ใชแผนภูมิ 12.11 สําหรับทอลมที่ aspect ratio ไมเทากับ 2:1 หรือมีฉนวนหุม ใหใชคาแกตามที่ระบุ การยึดติดกับโครงสราง (Figure 4-2) การหิ้วแขวน(Figure 4-4) /(Table 4-1) การรองรับทอลม(Figure 4-6)/(Table 4-3) การยึดทอในแนวดิ่ง แบบตางๆ การยึดติดกับโครงสราง การหิ้วแขวน(Figure 4-4) (Figure 4-2)
  • 35. การรองรับทอลม (Figure 4-6) ผิด ไมดีนัก •การใชflexible duct ยาวมากที่สุดได 10 ฟุต •ระวังรัศมีการดัดโคง และการเกิดความเคนที่รอยตอ การยึดทอในแนวดิ่ง
  • 36. การยึดทอในแนวดิ่ง การยึดทอในแนวดิ่ง การปรับทิศทางลมใหเหมาะสม
  • 37. การติดตั้งCeiling diffuser การติดตั้งCeiling diffuser ขอตอออน