SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 35
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน
(Project-Based Learning)
ดร.ศิริพงษ์ เพียศิริ
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ความหมายของโครงงาน
• กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา
ค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตาม
ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ
โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ประเภทของโครงงาน
1.โครงงานประเภทสำรวจ รวบรวมข้อมูล
2.โครงงานประเภทการทดลอง
3.โครงงานประเภทพัฒนาหรือประดิษฐ์
4.โครงงานประเภททฤษฎี หลักการ หรือแนวคิด
1. โครงงานประเภทสำรวจ รวบรวมข้อมูล
• เป็นการสำรวจและรวบรวมข้อมูลแล้วนำข้อมูลเหล่า
นั้นมาจำแนกเป็นหมวดหมู่ และนำเสนอในรูปแบบ
ต่างๆ
• การสำรวจแหล่งเรียนรู้ศิลปะ ในท้องถิ่น...
• การสำรวจโบราณสถาน ในชุมชน...
• ความคิดเห็นของ...ต่อการใช้หอศิลป์
• การรับรู้ดนตรีคลาสสิคของ...
2. โครงงานประเภทการทดลอง
• เป็นโครงงานที่มีการออกแบบการทดลอง เพื่อศึกษาผล
การทดลองของตัวแปรหนึ่งที่มีต่อตัวแปรหนึ่งที่ต้องการ
ศึกษา โดยควบคุมตัวแปร ที่ต้องการการศึกษา โดย
ควบคุมตัวแปรอื่นๆที่อาจมีผลต่อตัวแปรที่ต้องการศึกษา
ไว้ โดยทั่วไป
• การศึกษาการเปรียบเทียบระดับเสียงของเครื่องดนตรี
ในวงมโหรีและวงปี่พาทย์
• การศึกษาเปรียบเทียบผลงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
• การวาดภาพโดยใช้สีจากธรรมชาติ
• เป็นโครงงานเกี่ยวกับการประยุกต์ทฤษฏีหรือหลักการทาง
วิทยาศาสตร์หรือด้านอื่นๆ มาประดิษฐ์ของเล่น เครื่องมือ
เครื่องใช้ หรืออุปกรณ์ เพื่อประโยชน์ใช้สอยด้านต่างๆ
ซึ่งอาจเป็นการผลิตสิ่งใหม่หรือการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
ของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้
• การผลิตเครื่องดนตรีจากเศษวัสดุ
• การสร้างเครื่องมือเคาะจังหวะ
• การออกแบบโต๊ะเขียนแบบสำหรับเด็ก
• การประดิษฐ์ท่ารำ ชุด อาเซียนร่วมใจ
3. โครงงานประเภทพัฒนาหรือประดิษฐ์
4. โครงงานประเภททฤษฏี หลักการ
หรือแนวคิด
• เป็นโครงงานที่ผู้ทำโครงงานได้นำเสนอทฤษฏีหลักการ
หรือความคิดใหม่ๆ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของสูตร สมการ
หรือคำอธิบายก็ได้ โดยผู้นำเสนอได้ตั้งกติกาหรือข้อ
ตกลงขึ้นมาเอง แล้วนำเสนอทฤษฏี หลักการ แนวคิด
หรือจินตนาการของตนเองตามกติกาหรือข้อตกลงนั้น
• การกำเนิดท่าฟ้อนรำ
• ดนตรีในศตวรรษที่ 21
• จิตรกรรมฝาผนังอีสาน
ขั้นตอนการทำโครงงาน
• การทำโครงงานเป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องและมีการดำเนิน
การหลายขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นสุดท้าย อาจสรุป
ได้ดังนี้
1.การคิดและเลือกหัวข้อ
2.การวางแผน
3.การดำเนินงาน
4.การเขียนรายงาน
5.การนำเสนอผลงาน
1. การคิดและเลือกหัวเรื่อง
• ผู้เรียนจะต้องคิดและเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วย
ตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทำไมจึงอยากศึกษา หัว
เรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คำถามหรือ
ความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียน
เอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและ
ชัดเจน ควรคำนึงถึงในเรื่องต่อไปนี้
1. การคิดและเลือกหัวเรื่อง
• ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
• วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้
• งบประมาณ
• ระยะเวลา
• ความปลอดภัย
• แหล่งความรู้
2. การวางแผน
• การวางแผนการทำโครงงาน จะรวมถึงการเขียน
เค้าโครงของโครงงานซึ่งจะต้องวางแผนไว้ล่วงหน้า
เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและ
รอบคอบ นำเสนอต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอ
ความเห็นชอบก่อนดำเนินการขั้นต่อไป
การเขียนเค้าโครงของโครงงาน
1.ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมาย
ได้ตรง
2.ชื่อผู้ทำโครงงาน/ชั้น/ปีการศึกษา
3.ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
4.ลักการและเหตุผลของโครงงานเป็นการอธิบายว่า เหตุใดจึง
เลือกทำโครงงานนี้ มีความสำคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฏี
อะไรที่เกี่ยวข้อง
5.จุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ ควรมีความเฉพาะเจาะจงและ
สามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทำได้ชัดเจนขึ้น
การเขียนเค้าโครงของโครงงาน
6.สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี)
7.วิธีการดำเนินงาน/ขั้นตอนการดำเนินงานจะต้องอธิบาย
ว่าจะออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไร
บ้าง รวมทั้งระบุวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้มีอะไรบ้าง
8.แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกำหนดเวลาตั้งแต่เริ่ม
ต้นจนเสร็จสิ้นการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน
9.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
10.เอกสารอ้างอิง
3. การดำเนินงาน
• ลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ได้ระบุไว้ ผู้เรียนต้อง
พยายามทำตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์
และสถานที่ให้พร้อม ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ
ว่าได้ทำอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและ
ข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบ
และครบถ้วน
4. การเขียนรายงาน
• การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงานเป็นวิธีสื่อความ
หมายวิธีหนึ่งที่จะทำให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธี
การดำเนินงาน ผลที่ได้รับ ตลอดจนข้อสรุปและข้อ
เสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น
• การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย
ชัดเจน และครอบคลุมประเด็นสำคัญๆ ทั้งหมดของ
โครงงาน
5. การนำเสนอผลงาน
• การนำเสนอผลงานเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทำโครงงาน อาจ
ทำได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับความเหมาะสมกับประเภทของโครง
งาน เนื้อหา เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมุติ
การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จำลอง การสาธิต การ
จัดนิทรรศการ
• ซึ่งอาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายคำพูดด้วยหรือการ
รายงานปากเปล่า การบรรยาย การใช้ Multimedia computer/
Homepage สิ่งสำคัญคือ พยายามทำให้การแสดงผลงานนั้น
ดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่ายและมีความ
ถูกต้องของเนื้อหา
การประเมินผลงาน
• ผู้ประเมินโครงงาน อาจดำเนินการด้วยบุคคลต่อไปนี้
• ผู้เรียนประเมินตนเอง
• เพื่อนช่วยประเมิน
• ผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาประเมิน
• ผู้ปกครองประเมิน
• บุคคลอื่นๆ ที่สนใจและมีส่วนเกี่ยวข้อง
การประเมินผลงาน
• ผู้เรียนประเมินตนเอง จะแสดงออกให้เห็นว่า ผู้เรียนเจ้าของ
โครงการซึ่งอาจเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มทำงาน
• ผู้ประเมินซึ่งเป็นเพื่อนร่วมชั้น อาจให้ข้อคิดเห็นสะท้อนเพิ่ม
ภาพเพิ่มเติม
• ผู้ประเมินซึ่งเป็นผู้สอนหรือครูที่ปรึกษา อาจให้คำแนะนำเพิ่ม
เติมได้ในเรื่องวิธีการอื่นที่ใช้ในการศึกษาหาคำตอบ การนำ
ข้อค้นพบที่ต่างไปจากเป้าหมายของการศึกษาไปใช้ประโยชน์
หรือขยายผลการศึกษาเป็นโครงงานใหม่ๆ ฯลฯ
การประเมินผลงาน
• ผู้ประเมินที่เป็น พ่อ แม่ ผู้ปกครอง จะได้รับทราบถึง
ความสามารถ ความถนัดทางการเรียนของผู้เรียนใน
ความปกครอง
ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
• เพื่อความสะดวก ผู้ประเมินอาจจะสร้างแบบประเมิน
เป็น 2 ตอน ดังนี้
• ตอนที่ 1 ความสำคัญของการจัดทำโครงงาน

เป็นแบบตรวจคำตอบ (Check-list)
• ตอนที่ 2 เนื้อหาของโครงงานและการนำเสนอโครง
งาน เป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating
scale)
แบบประเมินโครงงาน
ตอนที่ 1 ความสำคัญของการจัดทำโครงงาน
จงทำเครื่องหมาย / ลงใน ( ) ตามความคิดเห็นของท่าน
1.โครงงานที่จัดทำเป็น ( ) งานเดี่ยว ( ) งานกลุ่ม
2.การริเริ่มโครงงาน ( ) ผู้เรียนริเริ่ม ( ) ผู้สอนช่วยแนะแนวทาง
3.การพัฒนาตนเอง ( ) มี ( ) ไม่มี
4.การพัฒนางาน ( ) มี ( ) ไม่มี
5.ความเกี่ยวพันกับเนื้อหาในบทเรียน ( ) สอดคล้อง ( ) ไม่สอดคล้อง
6.ประโยชน์ในชีวิตจริง ( ) มี ( ) ไม่มี
• จงทำเครื่องหมาย / ลงในช่องตรงข้อความที่ท่านเห็น
ด้วยที่สุด
แบบประเมินโครงงาน
ตอนที่ 2 เนื้อหาของโครงงานและการนำเสนอของโครงการ
ข้อความ
ระดับความคิดเห็น
มาก
ที่สุด
มาก
ปาน
กลาง
น้อย
น้อย
ที่สุด
เนื้อหาของโครงงาน
1.ความถูกต้อง
2.ความเหมาะสมในการใช้แนวคิด
3.เลือกใช้ข้อมูลข่าวสารเหมาะสมตรงประเด็น
4.มีการสรุปที่ชัดเจน
5.มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ข้อความ
ระดับความคิดเห็น
มาก
ที่สุด
มาก
ปาน
กลาง
น้อย
น้อย
ที่สุด
กระบวนการทำงาน
6. มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ
7. มีการดำเนินงานตามแผน
8. มีการประเมินและปรับปรุงการดำเนินงาน
การนำเสนอโครงงาน
9. การรายงานสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน
10. ความสมบูรณ์ของเนื้อหาข้อมูล
11. ความคิดสร้างสรรค์ในการนำเสนอ
12. ข้อสรุปของโครงงานบรรลุจุดประสงค์ที่ตั้งไว้
แนวทางการประเมินผล
• การประเมินผลโครงงานควรใช้การประเมินผลตามสภาพ
ที่แท้จริง (Authentic Assessment) ซึ่งมีลักษณะดังนี้
1.ทำไปพร้อมๆ กับการเรียนของผู้เรียน
2.ยึดพฤติกรรมของผู้เรียนที่แสดงออกเป็นสำคัญ
3.เน้นการพัฒนาตนและการประเมินตนเอง
4.ห้ความสำคัญในการพัฒนาจุดเด่นของผู้เรียน
5.มีการเก็บข้อมูลระหว่างปฏิบัติได้ทุกบริบท ทั้งที่บ้าน
โรงเรียน และชุมชน
แนวทางการประเมินผล
6.อยู่บนพื้นฐานของเหตุการณ์ในชีวิตจริง เอื้อต่อการเชื่อม
โยงการเรียนรู้สู่ชีวิตจริง
7.เน้นคุณภาพของผลงานซึ่งเป็นผลจากการบูรณาการความ
รู้ความสามารถของผู้เรียน
8.เน้นการวัดความสามารถในการคิดระดับสูง เช่น ใช้
ข้อมูลในการสังเคราะห์ สนุกสนาน ไม่เครียด
9.วัดปฏิสัมพันธ์เชิงบวก มีการชื่นชม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี
ความสุข สนุกสนาน ไม่เครียด
10.สนับสนุนการมีส่วนรวมและรับผิดชอบร่วมกัน
วิธีการประเมินผล
1.การสังเกต เป็นวิธีประเมินพฤติกรรมที่สามารถทำได้ทุกเวลา
และสถานการณ์ทั้งแบบมีและไม่มีเครื่องมือในการสังเกต
2.การสัมภาษณ์ การสอบถาม อาจมีลักษณะเป็นทางการหรือ
สัมภาษณ์ สอบถามขณะปฏิบัติโครงงานได้
3.การวัดความรู้ ความสามารถ (Authentic Test) ควรเป็น
แบบสอบถามปลายเปิด เพื่อดูความเชื่อมโยงระหว่างความรู้
ความเข้าใจเดิมกับสิ่งที่ได้เพิ่มจากประสบการณ์ในการ
ปฏิบัติโครงงาน
ลักษณะสำคัญของแบบทดสอบ
1.ครอบคลุมสิ่งที่ต้องวัด
2.เป็นคำถามที่เกี่ยวข้องกับการทำโครงงาน
3.เชื่อมโยง บูรณาการความรู้ ความสามารถได้หลายด้านและ
ใช้ความคิดที่ลึกซึ้งตามวัย
4.มีเกณฑ์การให้คะแนนตามความสมบูรณ์ของพฤติกรรม
5.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิดและเขียนคำตอบเอง
วิธีการประเมินผล
4.การรายงาน จะเป็นการเขียนรายงานหรือเล่าขั้นตอน หรือประสบการณ์
ในการทำงานโครงงานก็ได้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ประเมินตนเองจากการที่
ได้พูดหรือเขียนบรรยายสะท้อนความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกนึกคิด
ตามแนวทางการเรียนรู้ที่ผ่านประสบการณ์ขณะปฏิบัติกิจกรรมตาม
โครงงาน
5.แฟ้มผลงาน (portfolio) เป็นการเก็บรวบรวมผลงานที่มีความโดดเด่น
ในช่วงใดช่วงหนึ่งที่เลือกรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบเพื่อแสดงถึงความรู้
ความเข้าใจ ความสนใจ ความถนัด ทักษะ ความสามารถ อันแสดงถึง
พัฒนาการความก้าวหน้า ความสำเร็จในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายๆ
เรื่อง ทั้งนี้เพื่อเป็นการติดตามการพัฒนาการการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ส่วนประกอบเค้าโครงของโครงงาน
ปกนอก
ชื่อโครงงาน..........................................................................................................
ชื่อผู้จัดทำโครงงาน/คณะทำงาน ..............................................................................
ระดับชั้น..............................................................................................................
ที่ปรึกษา...............................................................................................................
ปีการศึกษา...........................................................................................................
ชื่อและที่อยู่ของสถาบัน.................................,,,,,,,,,,,,,,............................................
ประเด็นส่วนประกอบของเนื้อหา
• แนวคิด ที่มา และความสำคัญที่ต้องการศึกษา
• หลักการ ทฤษฎี หรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
• จุดมุ่งหมายของการทดลอง
• สมมติฐานที่กำหนด
• วิธีดำเนินการทดลอง
• งบประมาณที่ใช้ในการทดลอง
• ประโยชน์ที่จะได้รับ
• ชื่อเอกสารอ้างอิง
แนวทางการจัดทำโครงงานศิลปะ

ในระดับมัธยมศึกษา
1.โครงงาน การสำรวจผลงานศิลปะในชุมชน
2.ผู้ทำโครงงาน...................................ชั้น...............ปีการศึกษา........
3.อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน.............................................................
4.หลักการและเหตุผลของโครงงาน
• เนื่องจากในปัจจุบันผลงานศิลปะ ในชุมชนบางส่วนยังขาดการ
สำรวจและบันทึกไว้เป็นข้อมูลอย่างเป็นระบบ อันเป็นเหตุให้เกิด
การละเลยและสูญหายไป จึงจำเป็นต้องมีการสำรวจ ประเมิน
คุณค่าทางศิลปะและบันทึกรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบเพื่อประโยชน์
ในการเผยแพร่คุณค่าและสืบสานศิลปะในชุมชนให้ยั่งยืน
แนวทางการจัดทำโครงงานศิลปะ

ในระดับมัธยมศึกษา
5.วัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจผลงานศิลปะในชุมชนและ
ทำการวิจารณ์ ประเมินคุณค่าทางศิลปะร่วมกับผู้สอนและ
บุคลากรที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นและนำมาบันทึกรวบรวม
ไว้เป็นแหล่งข้อมูลเพื่อการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ
6.สมมุติฐาน คาดว่าจะพบผลงานศิลปะในชุมชนที่มีคุณค่า
ทางศิลปะเพิ่มขึ้น
แนวทางการจัดทำโครงงานศิลปะ

ในระดับมัธยมศึกษา
7.วิธีดำเนินงาน
• ศึกษารวบรวมเก็บข้อมูลศิลปะ ที่มีคุณค่าทางศิลปะใน
ชุมชนและบันทึกด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับศิลปะสาระ
ต่างๆ เช่น การเขียนภาพ การถ่ายภาพ การบันทึก
ด้วยเทคโนโลยีอื่นๆ และทำการวิเคราะห์ วิจารณ์
ประเมินค่า พร้อมทั้งการบันทึกไว้อย่างเป็นระบบ
แนวทางการจัดทำโครงงานศิลปะ

ในระดับมัธยมศึกษา
8.แผนการปฏิบัติงาน
9.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
• คาดว่าจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับศิลปะสาระทัศนศิลป์ หรือ
สาระดนตรี หรือสาระนาฏศิลป์ ที่มีคุณค่าทางศิลปะ
ในชุมชน เพื่อการเก็บรวบรวมไว้เป็นข้อมูลทางศิลปะ
ต่อไป
10.เอกสารอ้างอิง
แผงโครงงาน
ชื่อโครงงาน
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
สมมติฐาน (ถ้ามี)
วิธีดำเนินการ
ผลของการดำเนินงาน
ชื่อผู้ทำ

โครงงาน
ชื่ออาจารย์

ที่ปรึกษา
ความเป็นมา
ของโครงงาน
สรุปผล/
อภิปรายผล
ข้อเสนอแนะ
เอกสาร
อ้างอิง
60
60
30

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
Nanthapong Sornkaew
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
krupornpana55
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริง
Jariya Jaiyot
 
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญาภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
SophinyaDara
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
justymew
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
sutima piboon
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
khorntee
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
supaporn2516mw
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
Sokoy_jj
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
nang_phy29
 

Was ist angesagt? (20)

สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
 
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
พ.ร.บ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ2551
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริง
 
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญาภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 

Ähnlich wie การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)

ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
powe1234
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
Bt B'toey
 
ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน
Kittinee Chaiwattana
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
bussayamas1618
 
3ขอบข่ายประเภท
3ขอบข่ายประเภท3ขอบข่ายประเภท
3ขอบข่ายประเภท
Mookda Phiansoongnern
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
Noon Pattira
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ls_lalita
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
Kubgife Yrc
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
Kubgife Yrc
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
Chayanis
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
Sasithorn Horprasong
 
1369802778 project base learning
1369802778 project base learning1369802778 project base learning
1369802778 project base learning
Kruthai Kidsdee
 

Ähnlich wie การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) (20)

ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท๊๋3 ของข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานท3.
ใบงานท3.ใบงานท3.
ใบงานท3.
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
3ขอบข่ายประเภท
3ขอบข่ายประเภท3ขอบข่ายประเภท
3ขอบข่ายประเภท
 
K3
K3K3
K3
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
Gor3
Gor3Gor3
Gor3
 
ใบงานท 3
ใบงานท   3ใบงานท   3
ใบงานท 3
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
ใบงาน 3
ใบงาน 3ใบงาน 3
ใบงาน 3
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
1369802778 project base learning
1369802778 project base learning1369802778 project base learning
1369802778 project base learning
 

Mehr von Khon Kaen University

Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Khon Kaen University
 

Mehr von Khon Kaen University (8)

Creative Teachers: ครูเอทีฟ
Creative Teachers: ครูเอทีฟCreative Teachers: ครูเอทีฟ
Creative Teachers: ครูเอทีฟ
 
Digital Camera
Digital CameraDigital Camera
Digital Camera
 
Curriculum Development (การพัฒนาหลักสูตร)
Curriculum Development (การพัฒนาหลักสูตร)Curriculum Development (การพัฒนาหลักสูตร)
Curriculum Development (การพัฒนาหลักสูตร)
 
Institutional Research (วิจัยสถาบัน)
Institutional Research (วิจัยสถาบัน)Institutional Research (วิจัยสถาบัน)
Institutional Research (วิจัยสถาบัน)
 
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
 
Portfolio (แฟ้มสะสมงาน)
Portfolio (แฟ้มสะสมงาน)Portfolio (แฟ้มสะสมงาน)
Portfolio (แฟ้มสะสมงาน)
 
Classroom Research (การวิจัยในชั้นเรียน)
Classroom Research (การวิจัยในชั้นเรียน)Classroom Research (การวิจัยในชั้นเรียน)
Classroom Research (การวิจัยในชั้นเรียน)
 
SAR กลุ่มวิชา 2556
SAR กลุ่มวิชา 2556SAR กลุ่มวิชา 2556
SAR กลุ่มวิชา 2556
 

การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)