SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 40
Productivity Rating of Project Site
การประเมินค่าอัตรผลผลิตของหน่วยงาน
04
การปรับปรุงผลผลิตงาน
ผลิตผล
ปัจจัยการผลิต
การวิเคราะห์และการ
จัดการด้านผลผลิตงาน
การปรับปรุงผลผลิตงาน
สิ่งบ่งชี้หน่วยงานที่ต้องปรับปรุงผลผลิตงาน
การประชุมอย่างเป็ นทางการที่หน้างาน
หน่วยงานที่ต้องการปรับผลผลิต
การตรวจสอบสภาพการ
ทางานที่หน้างาน
ระบบรายงาน
Cost Progress Risks
สิ่งบ่งชี้หน่วยงานที่ต้องปรับปรุงผลผลิตงาน
ระบบรายงานในกระบวนการควบคุมโครงการ (Project Control Report)
สิ่งบ่งชี้หน่วยงานที่ต้องปรับปรุงผลผลิตงาน
ระบบรายงานในกระบวนการควบคุมโครงการ (Project Control Report)
สิ่งบ่งชี้หน่วยงานที่ต้องปรับปรุงผลผลิตงาน
ระบบรายงานในกระบวนการควบคุมโครงการ (Project Control Report)
• ACWP
• BCWP
• BCWS
ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์
ผลงาน
• ผลงานที่ทาได้
Earned Value Analysis
• การวิเคราะห์ความเบี่ยงเบน
• ต้นเหตุของปัญหา
• รายงานการใช้ทรัพยากร
• รายงานอื่นๆ
รายงาน
กระบวนการวิเคราะห์ผลงานที่ทาได้ หรือ Earned Value Analysis
สิ่งบ่งชี้หน่วยงานที่ต้องปรับปรุงผลผลิตงาน
ระบบรายงานในกระบวนการควบคุมโครงการ (Project Control Report)
กราฟเปรียบเทียบระหว่างแผนงานและงานที่ทาได้จริง
สิ่งบ่งชี้หน่วยงานที่ต้องปรับปรุงผลผลิตงาน
ระบบรายงานในกระบวนการควบคุมโครงการ (Project Control Report)
กิจกรรม % แล้วเสร็จ BAC BCWP ACWP
A 100 2,000 2,000 2,400
B 50 1,500 750 800
C 0 1,000 0 0
รวม 4,500 2,750 3,200
ตัวอย่างการคานวณค่า EAC
ทฤษฎีสถิติในการสุ่มตัวอย่างกิจกรรม
The Statistical Theory for Activity Sampling
ในการเก็บตัวอย่างที่จะให้ผลถูกต้อง เริ่มมาจากคุณสมบัติของตัวอย่างก่อน ได้แก่
ตัวอย่างแต่ละตัวอย่างต้องเป็ นอิสระต่อกัน
ทุกๆตัวอย่าง มีโอกาสถูกเลือกเท่าๆกัน
คุณสมบัติของแต่ละตัวอย่าง คงที่
วิธีประเมินค่าอัตราผลผลิตโดยการสุ่มตัวอย่าง
Productivity Rating by Activity Sampling
การประเมินหน้างาน
(Field Rating)
การประเมินค่าอัตราผลผลิต (Productivity
Rating)
การประเมินแบบ 5 นาที
(5 Minute Rating)
วิธีประเมินค่าอัตราผลผลิตโดยการสุ่มตัวอย่าง
Productivity Rating by Activity Sampling
การประเมินหน้างาน
(Field Rating)
วิธีประเมินค่าอัตราผลผลิตโดยการสุ่มตัวอย่าง
Productivity Rating by Activity Sampling
ลักษณะของการทางานและไม่ทางาน (Oglesby et al., 1989:175)
ช่างหรือคนงานที่อยู่ในลักษณะ “ทางาน”
1. ยกหรือย้ายวัสดุอุปกรณ์
2. ร่วมทางานกับชิ้นงาน ได้แก่
- วัด วางผัง อ่านแบบ กรอกแบบฟอร์ม เขียนใบสั่ง สั่งงาน
- ถือปลายเทปวัด, ช่วยจับบันได
- ควบคุมเครื่องจักร
3. ปรึกษาหารือในเรื่องงาน
ช่างหรือคนงานที่อยู่ในลักษณะ “ไม่ทางาน”
1. รอคอยงานอื่นให้เสร็จ เช่น รอขุดดินใส่รถเข็น รอเครนยก
2. พูดคุยเล่นขณะไม่ทางาน
3. ควบคุมเครื่องจักรที่ไม่จาเป็ น เช่น ยืนดูตู้เชื่อมไฟฟ้ า
4. เดินไปมามือเปล่า
5. นั่งเล่น
วิธีประเมินค่าอัตราผลผลิตโดยการสุ่มตัวอย่าง
Productivity Rating by Activity Sampling
1. แนวทางการประเมินหน้างาน
- จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ เครื่องนับ
- การเก็บข้อมูลควรครอบคลุมอย่างน้อยร้อยละ 75 ของจานวนช่าง
- ผู้เก็บข้อมูลควรทาหน้าที่อย่างต่อเนื่องและเต็มเวลาเพื่อผลงานที่ดี
- การตัดสินใจว่า “ทางาน” หรือ “ไม่ทางาน” ต้องทาทันทีที่เห็น
- การประเมินควรทาโดยเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงและทาตามขั้นตอน
- ช่วงเวลาการเก็บข้อมูลควรหลีกเลี่ยงช่วงครึ่งชั่วโมงหลังเริ่มงาน หรือ บ่าย หรือครึ่ง
ชั่วโมงก่อนเลิกงาน
- นาผลที่ได้มาคานวณค่าประเมินหน้างาน
2. วิเคราะห์ในการประเมินหน้างาน
“โครงการ พรหมพาราไดซ์ เชียงใหม่ไนซ์บาซาร์”
ถนนท่าแพ ซอย 1 ตาบลช้างคลาน อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
“โครงการ พรหมพาราไดซ์ เชียงใหม่ไนซ์บาซาร์”
ถนนท่าแพ ซอย 1 ตาบลช้างคลาน อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
รายละเอียดข้อมูลเบื้องต้นโครงการ
ชื่อโครงการ : “โครงการ พรหมพาราไดซ์ เชียงใหม่ไนซ์บาซาร์”
ที่ตั้งโครงการ : ถนนท่าแพ ซอย 1 ตาบลช้างคลาน อาเภอเมือง
จังหวัดเชียงใหม่
ลักษณะโครงการ : อาคารชุดพักอาศัย สูง 3 ชั้น จานวน 2 อาคาร
เจ้าของโครงการ : บริษัท พรหมประธาน เชียงใหม่ จากัด
ผู้รับเหมาก่อสร้าง : บริษัท เชียงใหม่ เค คอนสตรัคชั่น จากัด
วันที่เก็บข้อมูล : วันที่ 23 กรกฎาคม 2550
จานวนคนงานทั้งหมด : 20 คน
จานวนคนงานที่เก็บข้อมูล : 75% (15 คน)
ตัวอย่างคนงานที่ทางาน
ตัวอย่างคนงานที่ไม่ทางาน
ตัวอย่างการคานวณ
• จานวนคนงานทั้งหมด = 20 คน
• 75% ของคนงาน = 20*0.75 = 15 คน
• จานวนรอบที่ต้องสังเกต = 384/15 = 26 รอบ
• จานวนครั้งที่ต้องสังเกต = 26 * 15 = 384 รอบ
ตารางเก็บข้อมูลการทางานของคนงานก่อสร้าง
ลาดับที่ ชื่อ - สกุล จานวนครั้ง
ที่ทางาน
จานวนครั้งที่ไม่
ทางาน
หมายเหตุ
1. นายคา กันทะวัง 24 2
2. นายใหม่ คงดี 22 4
3. นายทา ใจไว 24 2
4. นายแก้ว อินต๊ะ 25 1
5. นางคามา อินต๊ะ 19 7
ตารางเก็บข้อมูลการทางานของคนงานก่อสร้าง
ลาดับที่ ชื่อ - สกุล จานวนครั้ง
ที่ทางาน
จานวนครั้งที่ไม่
ทางาน
หมายเหตุ
6. นายบุญมี แก้วมา 24 2
7. นายนัย คาสอน 23 3
8. นายสุริยา แสนแก้ว 23 3
9. นายแดน รักดี 22 4
10. นางจันทร์สม รักดี 21 5
ตารางเก็บข้อมูลการทางานของคนงานก่อสร้าง
ลาดับที่ ชื่อ - สกุล จานวนครั้ง
ที่ทางาน
จานวนครั้งที่ไม่
ทางาน
หมายเหตุ
11. นายสุภาพ ใจมั่นคง 24 2
12. นางดี ใจมั่นคง 21 5
13. นายณรงค์ อินวัง 23 3
14. นางสายใจ อินวัง 21 5
15. นางสีดา กันทะวัง 18 8
รวม 334 50
ตัวอย่างการคานวณ
• จานวนคนงานทั้งหมด = 20 คน
• 75% ของคนงาน = 20*0.75 = 15 คน
• จานวนรอบที่ต้องสังเกต = 384/15 = 26 รอบ
• จานวนครั้งที่ต้องสังเกต = 26 * 15 = 384 รอบ
• จานวนครั้งที่ทางาน = 334 ครั้ง
• จานวนครั้งที่ไม่ทางาน = 50 ครั้ง
Field rating = (334/100) / (26*15) = 86.97 %
วิธีประเมินค่าอัตราผลผลิตโดยการสุ่มตัวอย่าง
Productivity Rating by Activity Sampling
การประเมินค่าอัตราผลผลิต (Productivity
Rating)
วิธีประเมินค่าอัตราผลผลิตโดยการสุ่มตัวอย่าง
Productivity Rating by Activity Sampling
การประเมินค่าอัตรผลผลิตที่หน้างาน แต่ละประเภทมีรายละเอียดดังนี้
1. งานได้ประสิทธิผล (Effective Work)
เป็นการทางานที่ก่อให้เกิดผลงานนั้นๆ โดยตรง
2. งานสนับสนุนที่จาเป็ น (Essential Contributory Work)
การทางานในลักษณะนี้ จะไม่ได้ก่อให้เกิดผลงานโดยตรง แต่จาเป็นต้องทาเพื่อสนับสนุนให้งานที่ได้
ประสิทธิผลข้างต้นดาเนินไปจนเสร็จได้
3. งานไร้ประสิทธิผล (Ineffective Work)
งานที่ไม่ได้ให้ผลงานใดๆ รวมถึงงานที่ทาแล้วให้ผลสูญเปล่าด้วย เช่น การรอคอย การแก้ไขทาใหม่
วิธีประเมินค่าอัตราผลผลิตโดยการสุ่มตัวอย่าง
Productivity Rating by Activity Sampling
ประเภทงาน กิจกรรมในงานติดตั้งไม้แบบ
งานได้ประสิทธิผล (Effective Work) ติดตั้งไม้แบบ
งานสนับสนุนที่จาเป็ น (Essential Contributory
Work)
รื้อไม้แบบ
ทาความสะอาด
ขนย้ายไม้แบบ
งานไร้ประสิทธิผล (Ineffective Work) เวลารอคอย
ตัวอย่างงานได้ประสิทธิภาพ
ตัวอย่างงานสนับสนุนที่จาเป็ น
ตัวอย่างงานไร้ประสิทธิผล
ตารางเก็บข้อมูลการทางานของคนงานก่อสร้าง
ลาดับที่ ชื่อ - สกุล งานได้
ประสิทธิผล
งานสนับสนุนที่
จาเป็ น
งานไร้ประสิทธิผล
1. นายคา กันทะวัง 19 3 4
2. นายใหม่ คงดี 18 6 2
3. นายทา ใจไว 19 4 3
4. นายแก้ว อินต๊ะ 16 6 4
5. นางคามา อินต๊ะ 12 5 9
6. นายบุญมี แก้วมา 13 8 5
ตารางเก็บข้อมูลการทางานของคนงานก่อสร้าง
ลาดับที่ ชื่อ - สกุล งานได้
ประสิทธิผล
งานสนับสนุนที่
จาเป็ น
งานไร้ประสิทธิผล
7. นายนัย คาสอน 15 8 3
8. นายสุริยา แสนแก้ว 16 8 2
9. นายแดน รักดี 17 6 3
10. นางจันทร์สม รักดี 12 2 12
11. นายสุภาพ ใจมั่นคง 16 9 1
12. นางดี ใจมั่นคง 12 5 9
ตารางเก็บข้อมูลการทางานของคนงานก่อสร้าง
ลาดับที่ ชื่อ - สกุล งานได้
ประสิทธิผล
งานสนับสนุนที่
จาเป็ น
งานไร้ประสิทธิผล
13. นายณรงค์ อินวัง 15 9 2
14. นางสายใจ อินวัง 13 3 10
15. นางสีดา กันทะวัง 10 4 12
รวม 223 87 74
รวมทั้งหมด (384)
% 58% 22% 20%
ตัวอย่างการคานวณ
• จานวนคนงานทั้งหมด = 20 คน
• 75% ของคนงาน = 20*0.75 = 15 คน
• จานวนรอบที่ต้องสังเกต = 384/15 = 26 รอบ
• จานวนครั้งที่ต้องสังเกต = 26 * 15 = 384 รอบ
จานวนครั้งที่งานได้ประสิทธิผล 223 ครั้ง
จานวนครั้งที่งานสนับสนุนที่จาเป็ น 87 ครั้ง
จานวนครั้งที่งานไร้ประสิทธิผล 74 ครั้ง
ตัวอย่างการคานวณ (ต่อ)
สัดส่วนการใช้คน (ไม่รวมงานสนับสนุน)
(223/384)*100 = 58.00 %
สัดส่วนการใช้คน (รวมงานสนับสนุนบางส่วน)
((223/384)+0.25*(87/384))*100 = 63.00 %
ปัญหาที่พบจากการจัดทา Field Rating
• คนงานนั่งคุยกัน
• คนงานนั่งพัก
• คนงานรองาน
• คนงานรอวัสดุและอุปกรณ์สาหรับทางาน
• ไม่มีหัวหน้าคอยตรวจสอบการทางานของคนงาน
• งานบางงานที่ทาใช้คนเยอะเกินไป ทาให้บางงานที่ทามีคนที่ไม่ต้อง
ทางาน
วิธีประเมินค่าอัตราผลผลิตโดยการสุ่มตัวอย่าง
Productivity Rating by Activity Sampling
การประเมินแบบ 5 นาที
(5 Minute Rating)
วิธีประเมินค่าอัตราผลผลิตโดยการสุ่มตัวอย่าง
Productivity Rating by Activity Sampling
ผลของการประเมินแบบ 5 นาที ได้แก่
1. สัดส่วนปริมาณเวลารอคอยหรือเวลาไร้ประสิทธิผลเทียบกับเวลาทั้งหมด
2. เป็นการวัดประสิทธิผลของทีมงาน
3. ใช้แทนการประเมินตามวิธีที่ละเอียด
ซึ่งต้องใช้เวลาและทรัพยากรในการทามากกว่า
วิธีประเมินค่าอัตราผลผลิตโดยการสุ่มตัวอย่าง
Productivity Rating by Activity Sampling
รายงานผลิตผลแบบ 5 นาที
โครงการ อาคารจอดรถ 10 ชั้น
ทีมงาน ติดตั้งไม้แบบเสา
รายละเอียดทีมงาน ช่างไม้3 คน, ทาวเวอร์เครน 1 คัน พร้อมคนขับ
เวลา ช่าง 1 ช่าง 2 ช่าง 3 รายการงาน
10:22:00 - - - เตรียมทาความสะอาด
10:22:30 - - 1 ทาความสะอาดแบบ
10:23:00 - - 1 ทาความสะอาดแบบ
10:23:30 - 1 1 ทาความสะอาดแบบ
10:24:00 - - 1 ทาความสะอาดแบบ
10:24:30 - - 1 ทาความสะอาดแบบ
10:25:00 - 1 1 ยกแบบไปเข้าตาแหน่ง
10:25:30 - 1 1 ติดตั้งแบบและจัดตาแหน่ง
10:26:00 1 1 1 ติดตั้งแบบและจัดตาแหน่ง
รวมคาบได้ประสิทธิผล 1 4 8
วิธีประเมินค่าอัตราผลผลิตโดยการสุ่มตัวอย่าง
Productivity Rating by Activity Sampling
รวม คน-คาบ(30 วินาที) ที่ได้ผลิตผล = 13 คน-คาบ
จานวนคาบเวลาสังเกต = 9 คาบ
จานวนช่าง = 3 คน
รวม คน-คาบ(30 วินาที) ทั้งหมด = 27 คน-คาบ
สัดส่วนผลิตผล = (13/27)*100
= 48.15%
ผลการประเมินแบบ 5 นาที จะได้ออกมาเป็นสัดส่วนของเวลาได้ประสิทธิผล โดยหากได้สูงกว่า
50% จะถือว่าทีมงานทางานอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้
และหากต้องการความถูกต้องและน่าเชื่อถือมากขึ้น ผู้ประเมินต้องเก็บข้อมูลจานวนที่มากพอ โดย
อาจทาการเก็บหลายๆรอบ เช่น ช่วงเช้า 2 รอบ ช่วงบ่าย 2 รอบ เป็นต้น
5 Minute Rating
5 Minute Rating

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Janova Kknd
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
Napadon Yingyongsakul
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
Theerawat Duangsin
 
จุดเน้นที่ 9
จุดเน้นที่ 9จุดเน้นที่ 9
จุดเน้นที่ 9
Suwakhon Phus
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
NIMT
 

Was ist angesagt? (20)

ความแข็ง
ความแข็งความแข็ง
ความแข็ง
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
2 2
2 22 2
2 2
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
Pp
PpPp
Pp
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
จุดเน้นที่ 9
จุดเน้นที่ 9จุดเน้นที่ 9
จุดเน้นที่ 9
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
 

Andere mochten auch

CERTIFICATE PDMS.PDF
CERTIFICATE PDMS.PDFCERTIFICATE PDMS.PDF
CERTIFICATE PDMS.PDF
pdmsguy
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Jaouii Rujiporn
 
Early Sizing Calculation
Early Sizing CalculationEarly Sizing Calculation
Early Sizing Calculation
Amol Dudhate
 

Andere mochten auch (18)

Materi kuliah tentang creep 012
Materi kuliah tentang creep 012Materi kuliah tentang creep 012
Materi kuliah tentang creep 012
 
ขอบเขตและหน้าที่การให้บริการวิชาชีพการบริหารงานก่อสร้าง
ขอบเขตและหน้าที่การให้บริการวิชาชีพการบริหารงานก่อสร้างขอบเขตและหน้าที่การให้บริการวิชาชีพการบริหารงานก่อสร้าง
ขอบเขตและหน้าที่การให้บริการวิชาชีพการบริหารงานก่อสร้าง
 
CERTIFICATE PDMS.PDF
CERTIFICATE PDMS.PDFCERTIFICATE PDMS.PDF
CERTIFICATE PDMS.PDF
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Hospitality Analytics: Learn More About Your Customers
Hospitality Analytics: Learn More About Your CustomersHospitality Analytics: Learn More About Your Customers
Hospitality Analytics: Learn More About Your Customers
 
cu-tep
cu-tepcu-tep
cu-tep
 
Early Sizing Calculation
Early Sizing CalculationEarly Sizing Calculation
Early Sizing Calculation
 
Risk management in nuclear projects and strategy of small reactors [compatibi...
Risk management in nuclear projects and strategy of small reactors [compatibi...Risk management in nuclear projects and strategy of small reactors [compatibi...
Risk management in nuclear projects and strategy of small reactors [compatibi...
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditing
 
The Virtual Hub: Why VR and AR will sit at the centre of IoT
The Virtual Hub: Why VR and AR will sit at the centre of IoTThe Virtual Hub: Why VR and AR will sit at the centre of IoT
The Virtual Hub: Why VR and AR will sit at the centre of IoT
 
2017 Silicon Valley Investment Trends by Edith Yeung
2017 Silicon Valley Investment Trends by Edith Yeung 2017 Silicon Valley Investment Trends by Edith Yeung
2017 Silicon Valley Investment Trends by Edith Yeung
 
America's Divided Recovery: College Haves and Have-Nots
America's Divided Recovery: College Haves and Have-NotsAmerica's Divided Recovery: College Haves and Have-Nots
America's Divided Recovery: College Haves and Have-Nots
 
Chat and messaging apps
Chat and messaging appsChat and messaging apps
Chat and messaging apps
 
Kapost 50 learning from world-class marketers
Kapost 50  learning from world-class marketersKapost 50  learning from world-class marketers
Kapost 50 learning from world-class marketers
 
Resilience Week 2016 Hosted by The Rockefeller Foundation
Resilience Week 2016 Hosted by The Rockefeller FoundationResilience Week 2016 Hosted by The Rockefeller Foundation
Resilience Week 2016 Hosted by The Rockefeller Foundation
 
What are mega-regional trade agreements?
What are mega-regional trade agreements?What are mega-regional trade agreements?
What are mega-regional trade agreements?
 
Multidevice Mambo
Multidevice MamboMultidevice Mambo
Multidevice Mambo
 
Assessment of Learning in Early Childhood Education
Assessment of Learning in Early Childhood EducationAssessment of Learning in Early Childhood Education
Assessment of Learning in Early Childhood Education
 

02 productivity rating of project