SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 99
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา.
Search Engine Marketing (SEM).
Facebook.com/TouchPoint.in.th
TouchPoint.in.th
YouTube.com/c/TouchPointTH
ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย
เป็นการตลาดดิจิทัลเพื่อเพิ่มการมองเห็นเว็บไซต์หรือสินค้า บริการ
หรือการผลิต ต่อกลุ่มเป้าหมาย
ความหมายของการตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา
Definition of Search Engine Marketing
ปัจจุบันการทาการตลาดดิจิทัลผ่าน Facebook, LINE และสื่อสังคม
ออนไลน์อื่นๆ มีค่าใช้จ่ายสูง กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงได้น้อยลง Facebook
มีการปรับอัลกอริทึมบ่อย มีเงื่อนไขหรือข้อห้ามมากขึ้น ผู้ผลิตหรือ
เจ้าของสินค้า ต้องทุ่มเงินค่าโฆษณาจานวนมาก เพื่อให้คอนเทนต์เข้าถึง
กลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง
ความสาคัญของการตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา จึงเข้ามามีบทบาทในการเข้าถึง
กลุ่มเป้าหมายได้อย่างยั่งยื่นด้วยการใช้งบประมาณที่น้อยกว่ามาก
Importance of Search Engine Marketing
กุญแจของการตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา
เว็บไซต์ การทา SEO การตลาดเนื้อหา
Website Search Engine Optimize Content Marketing
Key of Search Engine Marketing
—
—
—
“มีเว็บไซต์แต่ไม่ทา SEO ก็จะเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ยาก”
“มีเว็บไซต์แต่ไม่ทาคอนเทนต์ จะเอาอะไรมาทา SEO”
ทั้งสามอย่างนี้จะแยกออกจากกันไม่ได้
“มีคอนเทนต์ดี แต่ไม่มีเว็บไซต์ ก็ต้องเสียค่าโฆษณาจานวนมาก”
เป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด เนื่องจากเป็นมิตรกับ Search Engine มากที่สุด
มีซอฟต์แวร์มากมายที่ใช้งานง่ายและเข้าถึงผู้บริโภคได้ง่าย
เว็บไซต์
Website
—Touch Point
การทาเว็บไซต์ต้องมีกติกาที่ทุกเครื่อง ทุกโปรแกรม รับรู้และทา
ตามเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ซึ่งบนอินเทอร์เน็ตมีกติกา
เหล่านี้มากมายสาหรับแต่ละเรื่อง เรียกว่า “โปรโตคอล”
(Protocol).
สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับเว็บไซต์
“
”
ทีซีพี/ไอพี กับ ไอพีแอดเดรส
IPv4 IPv6 ชื่อโดเมน
TCP/TP and IP Address
การเรียกชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อกับอินเทอร์เน็ต เรียกว่า IP Address ซึ่งเวอร์ชั่นที่ใช้กันมายาวนานคือ IPv4 แต่เมื่อจานวนหมายเลขไอ
พีเริ่มไม่เพียงพอกับจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ต รวมถึงอุปกรณ์เครือข่ายที่มีเพิ่มมากขึ้น จึงได้มีการพัฒนา IPv6
ขึ้นมาใช้ต่อจากหมายเลข IPv4 ที่หมดไป
● เป็นตัวเลขฐาน 2 จานวน 32 บิต แต่เพื่อให้ใช้งานง่ายจึง
จดจากันในรูปแบบเลขฐาน 10 โดยแบ่งเป็น 4 ชุดแต่ละชุด
คั่นด้วยเครื่องหมาย “.” มีค่าระหว่าง 0-255 เช่น
202.56.159.90 ซึ่งสามารถตั้งชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
ราว 4 พันล้านหมายเลขโดยไม่ซ้ากัน
● เป็นตัวเลขฐาน 2 จานวน 128 บิต โดยแปลงเป็นตัวเลขฐาน
16 แบ่งเป็น 8 ชุด แต่ละชุดคั่นด้วยเครื่องหมาย “.” เช่น
2001:0db8:0100:f101:0210:a4ff:fee3:9566 ทาให้
รองรับหมายเลข IP Address ได้มากกว่าราว 340 ล้าน
ล้านล้านล้านล้านล้านหมายเลข
IPv4 IPv6
ทีซีพี/ไอพี กับ ไอพีแอดเดรส
TCP/TP and IP Address
● ผู้ใช้ทั่วไปจะรู้สึกกว่า IP Address นั้นจายาก จึงมีการคิด
ระบบ “ชื่อโดเมน” หรือ Domain name ขึ้นมาโดยใช้
ภาษาอังกฤษเป็นคาๆ ซึ่งสื่อความหมายได้ นามาเรียงต่อ
โดยคั่นแต่ละคาด้วยจุด (.) เช่น facebook.com หรือ
TouchPoint.in.th เป็นต้น
ชื่อโดเมน
Facebook.com
157.240.235.35
TouchPoint.in.th
27.254.33.64
ทีซีพี/ไอพี กับ ไอพีแอดเดรส
TCP/TP and IP Address
โปรโตคอลของเว็บ
Protocol
• โปรโตคอลหรือกติกาที่ใช้เรียกดูข้อมูลจากเว็บเรียกว่า HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) เรียกใช้โดยระบุในช่อง Address
สาหรับกรอกที่อยู่หรือชื่อเว็บของโปรแกรมบราวเซอร์เป็น http:// นาหน้าชื่อเครื่องที่จะเรียกดูข้อมูล เช่น
http://www.TouchPoint.in.th แต่ปกติหากไม่ใส่หรือไม่ระบุเป็นอย่างอื่น เบราว์เซอร์ก็จะคิดแทนให้ว่าเป็น http:// อยู่แล้ว
• ปัจจุบันการถูกโจมตีทางเว็บไซต์ อาจสร้างความเสียหายให้กับองค์กรได้ การทาเว็บไซตในปัจจุบันจึงจาเป็นต้องเข้ารหัส SSL
(Secure Socket Layer) เป็นโปรโตคอลในการเพิ่มการรักษาความปลอดภัยในการรับส่งข้อมูลบนระบบเครือข่าย สังเกตว่าที่
Address จะนาหน้าชื่อเว็บไซต์ด้วย https://
https://www.TouchPoint.in.th
นามสกุลโดเมนเนม
Domain Name Suffix
การจดทะเบียนเว็บไซต์ เจ้าของเว็บไซต์จะต้องเลือกจดให้ถูกต้องและเหมาะสมกับการดาเนินธุรกิจ เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือและบ่งบอก
ถึงลักษณะของธุรกิจ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
โดเมนเนมระดับบนสุดแบบทั่วไป
Generic Top-Level Domain: gTLD
โดเมนเนมระดับบนสุดแบบบ่งบอกประเทศ
Country Code Top-Level Domain: ccTLD
โดเมนเนมระดับบนสุดแบบทั่วไป
Generic Top-Level Domain: gTLD
.com (Commercial) >> บริษัท องค์กร ธุรกิจพณิชยกรรม .org (Organization) >> องค์กรที่ไม่หวังผลกาไร
.edu (Education) >> หน่วยงานทางการศึกษา
.net (Network) >> บริษัทที่ให้บริการด้านเครือข่าย .job >> เว็บไซต์เกี่ยวกับการจ้างและจัดหางาน
โดเมนเนมระดับบนสุดแบบทั่วไป
Generic Top-Level Domain: gTLD
.co.th (Company) >> องค์กรที่จดทะเบียนในประเทศไทยที่แสวงหาผลกาไร
.ac.th (Academic) >> สถาบันการศึกษาที่จดทะเบียนในประเทศไทย
.or.th (Organization) >> องค์กรที่จดทะเบียนในประเทศไทยที่ไม่แสวงหาผลกาไร
.go.th (Academic) >> หน่วยงานรัฐบาลในประเทศไทย
• ปัจจุบันมีกลุ่มโดเมนใหม่ๆ เพิ่มขึ้นมา
หลากหลาย เพื่อให้สื่อความหมายกับ
ธุรกิจหรือเว็บไซต์ที่มีเพิ่มมากขึ้น เช่น
.th (ไทย), .us (สหรัฐอเมริกา), uk
(อังกฤษ)
.in.th (Individual) >> บุคคลหรือองค์กรใดๆ ก็ได้ในประเทศไทย
ประโยชน์ของการจดโดเมนเนมต่อธุรกิจ
Benefits of Domain Name for Business
01 04
02 05
จดจาได้ง่าย
03
สามารถทาการตลาดออนไลน์ได้สะดวกขึ้น
เพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับธุรกิจ
ทาให้ Search Engine หาบทความ หรือ
เว็บไซต์ของเราได้ง่ายขึ้น
สามารถแยกหมวดหมู่ของโดเมนออก
เว็บ
Web
เว็บเรียกเต็มๆ ว่า “เวิลด์ไวด์เว็บ” (World Wide Web หรือ www) เรียกดูได้โดยใช้ “เบราว์เซอร์” (Browser) โดยเนื้อหามีได้ทั้งข้อความ
ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือวิดีโอ ซึ่งผู้สร้างเว็บจะต้องนาข้อมูลไปไว้ที่ “เว็บเซิร์ฟเวอร์” (Web Server)
เว็บ
Web
ข้อมูลทั้งหมดที่จัดให้เรียกดูเป็นเว็บได้ เรียกว่า เว็บไซต์ (Web Site) หรือแหล่งข้อมูลเว็บ
หน้าแรกที่ปรากฏ เรียกว่า
โฮมเพจ (Home Page)
หน้าที่เปิดเข้าไปดูได้ เรียกว่า
เว็บเพจ (Web Page)
โฮมเพจ
เว็บเพจ
เว็บไซต์
โมบายไซต์
Mobile Site
สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตได้รับความนิยม การใช้งานเว็บไซต์จึงต้องเหมาะกับการแสดงผลบนหน้าจอที่มีขนาดเล็ก โดยโมบายไซต์จะนาเสนอเฉพาะ
รายละเอียดและกราฟิกที่สาคัญเท่านั้น
ที่อยู่เว็บ
URL (Uniform Resource Locator)
บราวเซอร์จะเรียกดูเว็บเพจได้ ต้องระบุ 3 ส่วนหลักๆ ได้แก่ โปรโตคอล ชื่อโดเมน และไดเร็คทอรี่หรือชื่อไฟล์เว็บเพจ (เช่น .htm, .html, .php, .jpg)
ชื่อทั้งหมดนี้เมื่อรวมกันจะถูกกาหนดให้มีรูปแบบเดียวจึงเรียกว่า URL แต่ละเว็บเพจในโลกนี้จะต้องมี URL ที่ไม่ซ้ากัน
https://www.touchpoint.in.th/training/online-marketing/search-engine-marketing.html
โปรโตคอล HTTP ชื่อโดเมน
SSL
ชื่อไดเร็คทอรี่ ชื่อไดเร็คทอรี่ย่อย ชื่อไฟล์และนามสกุลไฟล์
ส่วนตัว (Individual) ประเทศไทย (th)
แนะนาเครื่องมือทาเว็บไซต์
Recommended Website Tools
ปัจจุบันการทาเว็บไซต์ไม่ใช่เรื่องยาก ไม่จาเป็นต้องเป็นนักเขียนโปรแกรมเว็บ (Web Programmer) ใครๆ ก็สามารถเรียนรู้และทาตามได้ง่าย
เปลี่ยนคนดูแลระบบหน้าบ้านหลังบ้านได้ตลอด ทาให้ธุรกิจราบรื่นไม่สะดุด อีกทั้งยังใช้ต้นทุนด้านงบประมาณและเวลาที่น้อยมาก และยั่งยืน
ที่สุด
เครื่องมือเหล่านั้นเรียกว่าระบบการจัดการเนื้อหา (Content Management System: CMS) ปัจจุบันมีหลายยี่ห้อให้เลือกใช้ ส่วนมากเปิดให้
ดาวน์โหลดฟรี แต่เจ้าของเว็บจะมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโฮสต์ เครื่องมือที่ยกตัวอย่างมา เช่น Wix, WordPress, Drupal และ Joomla แต่ที่แนะนา
มากที่สุดคือ WordPress
การสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส
Introduction of WordPress
01
02
03
รู้จักกับเวิร์ดเพรส
Introduction of WordPress
ประเภทของเวิร์ดเพรส
Types of WordPress
การติดตั้งและการ
จาลองเซิร์ฟเวอร์
Server Installation and
Emulation
04
05
การเปิดใช้งาน Xampp
Xampp Using
การดาวน์โหลด
WordPress
Download WordPress
06
การติดตั้งฐานข้อมูล
สาหรับ WordPress
Database Installation for
WordPress
07
08
การติดตั้งเวิร์ดเพรส
WordPress Installation
การใช้งานเวิร์ดเพรส
WordPress Using
รู้จักกับเวิร์ดเพรส
Introduction of WordPress
WordPress เป็นโปรแกรมทาเว็บไซต์ในรูปแบบของการจัดการเนื้อหา (Content Management System: CMS) ที่ถูกพัฒนาขึ้นจากภาษา PHP
ใช้งานร่วมกับฐานข้อมูล MySQL ใช้งานง่าย มีความปลอดภัยสูง เป็นที่นิยมใช้สร้างเว็บไซต์จากทั่วโลก นอกจากนี้ยังมีรูปแบบเว็บ (Theme) และ
ส่วนเสริม (Plugins) ให้เลือกใช้มากมาย มีทั้งฟรีและเสียค่าใช้จ่าย
ประเภทของเวิร์ดเพรส
Types of WordPress
เวิร์ดเพรสดอทโออาร์จี
WordPress.org
เวิร์ดเพรสดอทคอม
WordPress.com
เวิร์ดเพรสดอทคอม
WordPress.com
WordPress.com เป็นบริการฟรี สามารถสมัครสมาชิกแล้วใช้งานได้ทันที ไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมเอง URL ที่ได้จะเป็น Sub Domain
ของ WordPress เช่น programsdd.wordpress.com เหมาะสาหรับทาเว็บไซต์ในรูปแบบของ Blog การให้บริการฟรีจะมีข้อจากัด
ด้านพื้นที่เพียง 3 GB ไม่สามารถปรับแต่ง CSS ได้
ข้อดีและข้อจากัดของ WordPress.com
• ใช้งานง่ายเพียงมีอีเมล์
• มีข้อจากัดเรื่องการใช้ปลั๊กอิน
• แบบฟรีจะต้องใช้โดเมนแบบมี .wordpress.com ต่อ เช่น
programsdd.wordpress.com ทาให้ดูไม่มืออาชีพ
• มีข้อจากัดด้านพื้นที่ 3 GB
• โอกาสเว็บล่มน้อยมากหรือไม่มีเลย
• มีข้อจากัดเรื่องการปรับแต่ง เขียนโค้ด ทาเว็บที่ซับซ้อนไม่ค่อยได้
เวิร์ดเพรสดอทโออาร์จี
WordPress.org
WordPress.org เป็นการดาวน์โหลดตัวติดตั้งจาก wordpress.org เพื่อมาติดตั้งในโฮสต์ของเราเอง ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ฟรี แต่จะไม่สามารถ
ใช้งานได้ทันที ต้องมีค่าใช้จ่ายในส่วนของการจดโดเมนเนมและการเช่าโฮสต์ ผู้ใช้จะต้องมีความรู้ด้านเทคนิคเล็กน้อย เช่น การติดตั้ง การใช้
ฐานข้อมูล WordPress ในรูปแบบนี้เหมาะกับการทาเว็บไซต์ที่สมบูรณ์ เนื่องจากเราสามารถปรับแต่งได้อย่างอิสระ
ข้อดีและข้อจากัดของ WordPress.com
• ปรับแต่งได้อิสระไร้ขีดจากัด สามารถเขียนโค้ด ทาเว็บที่ซับซ้อนได้
• เหมาะสาหรับทาเป็นเว็บไซต์ร้านค้า เว็บบริษัท
• ใช้งานง่าย แต่ต้องเรียนรู้เรื่องการปรับแต่งเว็บไซต์ด้วย
WordPress
• Theme และ Plug-in ให้เลือกหลากหลายทั้งฟรีและเสียเงิน
• เว็บไซต์เป็นของเรา 100 เปอร์เซ็นต์อยู่บนโฮสต์ของเรา
• มีโอกาสล่ม ขึ้นอยู่กับความเชี่ยวชาญและโฮสต์ที่เช่า
การติดตั้งและการจาลองเซิร์ฟเวอร์
Server Installation and Emulation
การฝึกใช้งาน WordPress บนเซิร์ฟเวอร์จาลองเป็นการทาแบบออฟไลน์ เพื่อ
ลองถูกลองผิดแล้วไม่เกิดความเสียหายต่อเว็บไซต์จริง ดังนั้นผู้ใช้จะต้องจาลอง
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลให้เป็นเซิร์ฟเวอร์ก่อน แต่ตอนใช้งานเว็บไซต์จริงจะต้อง
ทาบนเซิร์ฟเวอร์เท่านั้น
การติดตั้งและการจาลองเซิร์ฟเวอร์
Server Installation and Emulation
01
การดาวน์โหลดและติดตั้งโปรแกรมจาลองเซิร์ฟเวอร์ นิยมใช้โปรแกรม Xampp โดยเข้าไปที่ apachefriends.org เพื่อ
ดาวน์โหลดตามระบบปฏิบัติการที่ใช้
การติดตั้งและการจาลองเซิร์ฟเวอร์
Server Installation and Emulation
02 เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วให้ติดตั้ง Xampp โดยดับเบิ้ลคลิกตัวติดตั้ง Xampp และดาเนินการไปเรื่อยๆ จนเสร็จ
การเปิดใช้งาน Xampp
Using Xampp
01
การเปิดใช้งาน Xampp เปรียบเสมือนการเปิดเครื่องเซิร์ฟเวอร์แบบจาลอง ทุกครั้งที่จะใช้งาน WordPress ต้องเปิดใช้งาน
Xampp ก่อนทุกครั้ง โดยเข้าไปที่ C > xampp แล้ว ดับเบิ้ลคลิก xampp-control
การเปิดใช้งาน Xampp
Using Xampp
02
จากนั้นคลิก Start ที่คาสั่ง Apache และ MySQL เมื่อปุ่ม Start เปลี่ยนเป็น Stop หมายความว่าเปิดการใช้งานแล้ว
สามารถคลิกปิดหน้าต่างได้ แต่โปรแกรมยังทางานอยู่ที่ System Tray
การดาวน์โหลด WordPress
Download WordPress
01
การใช้งาน WordPress อย่างสมบูรณ์จะต้องดาวน์โหลดโปรแกรมมาจาก WordPress.org ก่อน โดยไป ที่
wordpress.org แล้วคลิก Get WordPress
05
การดาวน์โหลด WordPress
Download WordPress
02
คลิก Download WordPress เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วจะได้ไฟล์ Zip ให้คัดลอกไปไว้ที่ C > xampp > htdocs จากนั้น
แตกไฟล์ Zip โดยคลิกขวาแล้วเลือกคาสั่ง Extract Here จะได้โฟลเดอร์ wordpress ซึ่งผู้ใช้สามารถเปลี่ยนชื่อโฟลเดอร์
เป็นชื่ออื่นที่ต้องการได้
การติดตั้งฐานข้อมูลสาหรับ WordPress
Database Installation for WordPress
01
โปรแกรม WordPress จะต้องทางานบนฐานข้อมูล หลังจากเปิดใช้งานการจาลองเซิร์ฟเวอร์ด้วย Xampp แล้ว ก่อน
ติดตั้ง WordPress จะต้องสร้างฐานข้อมูลด้วย phpMyAdmin ก่อน โดยไปที่เบราว์เซอร์ > ไปที่ช่องแอดเดรส > พิมพ์
localhost/phpmyadmin
การติดตั้งฐานข้อมูลสาหรับ WordPress
Database Installation for WordPress
02 เมื่อต้องการสร้างฐานข้อมูลใหม่ ให้คลิก New ตั้งชื่อฐานข้อมูล > กาหนดการเข้ารหัสเป็น utf8_unicode_ci > คลิก
Create
การติดตั้งเวิร์ดเพรส
WordPress Installation
การติดตั้งเวิร์ดเพรสให้ใช้เบราว์เซอร์ พิมพ์ localhost/wordpress (หากเป็นชื่อโฟลเดอร์อื่น ผู้ใต้องเปลี่ยนแอดเดรสไปตามชื่อ เช่น
localhost/TouchPoint) แล้วทาการติดตั้งตามขั้นตอนไปเรื่อยๆ
การติดตั้งเวิร์ดเพรส
WordPress Installation
หน้านี้เป็นหน้าสาคัญให้กาหนดรายละเอียด ดังนี้
Database Name กาหนดชื่อฐานข้อมูลตามที่ตั้งไว้
Username ใส่ root (หากติดตั้งบนเซิร์ฟเวอร์จริงจะมีให้กาหนดชื่อผู้ใช้
ตอนสร้างฐานข้อมูล)
Password เว้นว่าง (หากติดตั้งบนเซิร์ฟเวอร์จริงจะมีให้กาหนดรหัสผ่าน
ตอนสร้างฐานข้อมูล)
Database Host ใส่ localhost
Table Prefix เป็นคานาหน้าตาราง ให้กาหนดชื่อตามต้องการ
การใช้งานเวิร์ดเพรส
WordPress Using
การใช้งานเวิร์ดเพรส สามารถติดตามเพิ่มเติมได้จาก
https://www.facebook.com/TouchPoint.in.th
หรือเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ที่หนังสือดิจิทัล touchpoint.in.th/wordpress
โฮสต์
Host
01
02
03
ความหมายของเว็บ
โฮสติ้ง
Definition of Web Hosting
การเลือกโฮสต์
Host Choosing
พื้นที่ของโฮสต์
Host Space
04
05
ประเภทของโฮสต์
Host Type
เลือกประเภทโฮสต์
แบบใดดี
Which host type to choose?
06
ข้อพิจารณาการ
เลือกโฮสต์
Host Selection Considerations
07
08
การเตรียมข้อมูล
สาหรับเช่าโฮสต์
Preparing Information for hosting
การเช่าโฮสต์และ
การจดชื่อโดเมน
Hosting and Domain Name
Registration
ความหมายของเว็บโฮสติ้ง
Definition of Web Hosting
โฮสต์ (Host) เป็นพื้นที่สาหรับจัดเก็บข้อมูลของเว็บไซต์ เช่น HTML, PHP, PDF, รูปภาพ และไฟล์ต่างๆ ไว้ที่เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server)
ซึ่งเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตตลอดเวลา (24 ชั่วโมง / 7 วัน)
การเลือกโฮสต์
Host Choosing
การเลือกโฮสต์ให้พิจารณาถึงกลุ่มเป้าหมายของเราเป็นหลัก หากกลุ่มเป้าหมายอยู่ตางประเทศก็ควรใช้โฮสต์ของต่างประเทศ หาก
กลุ่มเป้าหมายอยู่ในประเทศไทยก็ควรใช้โฮสต์ในประเทศไทย เพื่อการเข้าถึงที่รวดเร็ว
hostneverdie.com | porar.com | hostgator.com | bluehost.com
พื้นที่ของโฮสต์
Host Space
การทาการตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา Search Engine Marketing (SEM) เป็นการเน้นการนาเสนอข้อมูล เพื่อสร้างภาพลักษณ์และความ
น่าเชื่อถือ โดยทั่วไปพื้นที่ 2 GB ก็เพียงพอแล้ว แต่ถ้าต้องการรองรับข้อมูลจานวนมากในอนาคต และมีการสารองข้อมูลเว็บไซต์ ควรมีพื้นที่
อย่างน้อย 10 GB
ประเภทของโฮสต์
Host Type
โฮสต์มีหลากหลายประเภท มีทั้งเสียค่าบริการแบบรายเดือนและรายปี เจ้าของเว็บไซต์สามารถเลือกประเภทและราคาตามความเหมาะสม
โดยทั่วไปมี 3 ประเภท ดังนี้
โฮสติ้งเสมือน
VPS Hosting
แชร์โฮสติ้ง
Shared Hosting
โฮสติ้งเฉพาะ
Dedicated Hosting
แชร์โฮสติ้ง
Shared Hosting
เป็นโฮสต์ที่ให้บริการเช่าพื้นที่สาหรับฝากข้อมูลเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชั่น ภายใต้ทรัพยากรของเซิร์ฟเวอร์ที่ถูกใช้ร่วมกันกับโดเมนเนมอื่นๆ
● ราคาถูก ● ไม่สามารถกาหนดค่า (Configuration) เซิร์ฟเวอร์ได้
ข้อดี ข้อจากัด
โฮสติ้งเสมือน
VPS Hosting
เป็นการจาลองแบ่งเครื่องเซิร์ฟเวอร์ประสิทธิภาพสูงออกเป็นเซิร์ฟเวอร์เสมือนจานวนหนึ่ง โดย เซิร์ฟเวอร์เสมือนแต่ละตัวเรียกว่า Virtual Machine
และทางานได้เสมือนกับ Dedicated Server
● มีความยืดหยุ่น เสถียร และราคาถูกกว่า Dedicated
Hosting
● ผู้ดูแลต้องมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลเซิร์ฟเวอร์
ข้อดี ข้อจากัด
โฮสติ้งเฉพาะ
Dedicated Hosting
เป็นโฮสต์ที่ให้บริการเช่าใช้เซิร์ฟเวอร์ ผู้เช่าสามารถใช้ทรัพยากรทั้งหมดของเครื่องได้เต็มที่ไม่แบ่งกับใคร สามารถปรับแต่งทุกอย่างได้อิสระ
มักใช้กับเว็บไซต์ที่มีระบบสารสนเทศที่มีการประมวลผลสูง จัดเก็บไฟล์ขนาดใหญ่ และต้องการความเป็นส่วนตัวสูง
● มีความยืดหยุ่นและปลอดภัยสูง ● ผู้ดูแลต้องมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลเซิร์ฟเวอร์ และราคาสูง
มาก
ข้อดี ข้อจากัด
เลือกประเภทโฮสต์แบบใดดี
Which host type to choose?
01 ถ้าโจทย์คือต้องการนาเสนอข้อมูลเป็นหลัก มีการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เล็กน้อย ไม่มีบุคลากรที่มีความรู้เกี่ยวกับ
เซิร์ฟเวอร์ เลือก Shared Hosting ก็พอ
มาถึงเนื้อหานี้ เจ้าของธุรกิจได้ทราบข้อมูลทั้ง Shared Hosting, VPS Hosting และ Dedicated Hosting ไปแล้ว ดังนั้น
02 ถ้าโจทย์คือต้องการมีระบบสารสนเทศที่ต้องมีการประมวลผลมาก มีความยืดหยุ่น และเสถียร พอมีบุคลากรที่มีความรู้
เกี่ยวกับเซิร์ฟเวอร์อยู่บ้าง งบประมาณไม่สูงนัก เลือก VPS Hosting
03
ถ้าโจทย์คือต้องการมีระบบระบบสารสนเทศที่ต้องมีการประมวลผลมากหลายระบบ มีความลับขององค์กรสูง ต้องการ
ความปลอดภัยสูง มีบุคลากรที่มีความรู้เกี่ยวกับเซิร์ฟเวอร์ มีงบประมาณสูง และเมื่อครบเงื่อนไข จะได้เซิร์ฟเวอร์มาดูแล
เป็นของตัวเอง เลือก Dedicated Hosting
ข้อพิจารณาการเลือกโฮสต์
Host Selection Considerations
01 Space พื้นที่เก็บข้อมูล (สาหรับธุรกิจแนะนา
10 GB ขึ้นไป)
02 Bandwidth ปริมาณการรับส่งข้อมูลมี
หน่วยเป็น MB (แนะนาเป็นแบบ Unlimited)
03
Domain จานวนเว็บที่จดชื่อโดเมน (แนะนา
1 Domain ก็พอ เว้นแต่ว่าจะทาหลายเว็บก็
เลือกมากกว่า 1 ได้)
04 Email จานวนบัญชีอีเมล์ธุรกิจ (เลือกตามจานวน
บุคลากร)
05
Database จานวนฐานข้อมูล (แนะนา 1 Database
เว้นแต่ว่าจะทาหลายเว็บก็เลือกมากกว่า 1 ได้)
การเตรียมข้อมูลสาหรับเช่าโฮสต์
Preparing Information for hosting
01 ชื่อ-นามสกุล ผู้เช่าโฮสต์ (แนะนาเป็นชื่อของ
เจ้าของธุรกิจ)
02
อีเมล์ (แนะนา Gmail ให้สร้างขึ้นมาใหม่ หาก
ผู้ดูแลเดิมลาออก จะได้หาผู้ดูแลใหม่ทดแทน
ได้ทันที)
03
รหัสผ่าน (แนะนาให้ตั้งทุกแพล็ตฟอร์ม
เหมือนกันหมด โดยเปิดเผยให้ผู้ดูแลเว็บหรือ
ทีมงานที่เกี่ยวข้องเท่านั้น)
04 เบอร์โทรศัพท์ (แนะนาให้ใช้เบอร์มือถือของเจ้าของ
ธุรกิจ หรือถ้ามีเบอร์มือถือของธุรกิจให้ใช้เบอร์นี้)
05
เลขบัตรประชาชนหรือเลขนิติบุคคล (หากใช้เลขบัตร
ประชาชนให้ใช้ของเจ้าของธุรกิจ หรือถ้าจดทะเบียน
เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนจากัดแนะนาให้ใช้เลขนิติ
บุคคล)
หมายเหตุ
ที่ไม่แนะนาให้ใช้ข้อมูลส่วนบุคคล เนื่องจากเมื่อผู้ดูแลคนเก่าลาออก การตามข้อมูลจะยากมาก เนื่องจากไม่มีใครอยากให้ข้อมูลส่วนบุคคลกับหน้าที่
ที่ไม่ได้รับผิดชอบแล้ว
การเช่าโฮสต์และการจดชื่อโดเมน
Hosting and Domain Name Registration
01 ไปที่ hostneverdie.com
02 ไปที่เมนู Web Hosting
การเช่าโฮสต์สาหรับธุรกิจทั่วไป แนะนาให้ใช้แบบ Shared Hosting เนื่องจากมีราคาถูก และสามารถทาให้ติดหน้าแรกของ Search Engine
ได้เช่นกัน โดยยกตัวอย่างเป็น Hostneverdie
01
02
การเช่าโฮสต์และการจดชื่อโดเมน
Hosting and Domain Name Registration
03 คลิกสั่งซื้อที่แพลนที่
เหมาะสมกับธุรกิจ
การเช่าโฮสต์สาหรับธุรกิจทั่วไป แนะนาให้ใช้แบบ Shared Hosting เนื่องจากมีราคาถูก และสามารถทาให้ติดหน้าแรกของ Search Engine
ได้เช่นกัน โดยยกตัวอย่างเป็น Hostneverdie
03
การเช่าโฮสต์และการจดชื่อโดเมน
Hosting and Domain Name Registration
04 เลือกจดโดเมนใหม่
05
กาหนดชื่อตามต้องการ
แล้วลองคลิก Check หาก
ใช้งานได้จะปรากฏ
Congratulations เลื่อนลง
มาให้คลิก Continue
การเช่าโฮสต์สาหรับธุรกิจทั่วไป แนะนาให้ใช้แบบ Shared Hosting เนื่องจากมีราคาถูก และสามารถทาให้ติดหน้าแรกของ Search Engine
ได้เช่นกัน โดยยกตัวอย่างเป็น Hostneverdie
04
05
การเช่าโฮสต์และการจดชื่อโดเมน
Hosting and Domain Name Registration
06
จะปรากฏรายการสั่งซื้อและ
ยอดเงินที่ต้องชาระ ให้คลิก
Continue
การเช่าโฮสต์สาหรับธุรกิจทั่วไป แนะนาให้ใช้แบบ Shared Hosting เนื่องจากมีราคาถูก และสามารถทาให้ติดหน้าแรกของ Search Engine
ได้เช่นกัน โดยยกตัวอย่างเป็น Hostneverdie
06
การเช่าโฮสต์และการจดชื่อโดเมน
Hosting and Domain Name Registration
07
คลิกเลือก DNS
Management เนื่องจาก
ฟรี 1 ปี แล้วคลิก
Continue
การเช่าโฮสต์สาหรับธุรกิจทั่วไป แนะนาให้ใช้แบบ Shared Hosting เนื่องจากมีราคาถูก และสามารถทาให้ติดหน้าแรกของ Search Engine
ได้เช่นกัน โดยยกตัวอย่างเป็น Hostneverdie
07
การเช่าโฮสต์และการจดชื่อโดเมน
Hosting and Domain Name Registration
08
จะปรากฏหน้าทบทวน
รายการสั่งซื้อ ให้คลิก
Checkout
การเช่าโฮสต์สาหรับธุรกิจทั่วไป แนะนาให้ใช้แบบ Shared Hosting เนื่องจากมีราคาถูก และสามารถทาให้ติดหน้าแรกของ Search Engine
ได้เช่นกัน โดยยกตัวอย่างเป็น Hostneverdie
08
การเช่าโฮสต์และการจดชื่อโดเมน
Hosting and Domain Name Registration
09 ลงทะเบียนผู้ใช้ แล้วคลิก
ยืนยันการสั่งซื้อ
• การเช่าโฮสต์สาหรับธุรกิจทั่วไป แนะนาให้ใช้แบบ Shared Hosting เนื่องจากมีราคาถูก และสามารถทาให้ติดหน้าแรกของ Search
Engine ได้เช่นกัน โดยยกตัวอย่างเป็น Hostneverdie
การเช่าโฮสต์และการจดชื่อโดเมน
Hosting and Domain Name Registration
10 จากนั้นให้เจ้าของเว็บไซต์ชาระเงินและยืนยันการชาระเงิน
11 เมื่อการชาระเงินสมบูรณ์ ผู้ให้บริการโฮสต์จะส่งวิธีใช้โฮสต์ทางอีเมล์ที่ลงทะเบียนไว้
• การเช่าโฮสต์สาหรับธุรกิจทั่วไป แนะนาให้ใช้แบบ Shared Hosting เนื่องจากมีราคาถูก และสามารถทาให้ติดหน้าแรกของ Search
Engine ได้เช่นกัน โดยยกตัวอย่างเป็น Hostneverdie
อย่าลืมซื้อ SSL
Don't forget to buy an SSL
การทาการตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา SSL สาคัญมาก เนื่องจาก Search Engine จะให้ความสาคัญกับเว็บไซต์ที่มีการเข้ารหัสความปลอดภัย
และมีความน่าเชื่อถือ มีค่าใช้จ่ายเป็นรายปี เจ้าของเว็บไซต์เลือกได้ตามความเหมาะสม หากมี 1 โดเมน ไม่ได้มีโดเมนย่อย แพลนที่ถูกที่สุด
ก็ใช้ได้แล้ว
การสร้างคอนเทนต์บนเว็บไซต์เพื่อสร้างประสบการณ์ผู้อ่านที่ดี
Creating Content on Website to Create Good Experience
01
02
03
04
05
คอนเทนต์ต้องค้นหาได้ง่าย
Findable
คอนเทนต์ต้องอ่านง่ายสบายตา
Readable
คอนเทนต์จะต้องเข้าใจได้ง่าย
Understandable
คอนเทนต์ต้องการให้ผู้อ่านทาอะไรต่อ
Actionable
คอนเทนต์ต้องเกิดการบอกต่อ
Shareable
คอนเทนต์ต้องค้นหาได้ง่าย
Findable
การเขียนคอนเทนต์หรือบทความควรมีคาค้น (Keyword) ที่คาดว่าผู้อ่านจะใช้คานั้นในการค้นหาข้อมูล เพื่อให้ค้นหาแล้วเจอได้ง่าย หากสามารถ
ทา Search Engine Optimization (SEO) ได้ด้วย ก็จะทาให้คอนเทนต์ของเราติดอันดับต้นๆ ของ Google ได้
การเขียนคอนเทนต์ในรูปแบบวิดีโอ
Writing Content form Video
การเขียนคอนเทนต์ในรูปแบบเว็บไซต์
Writing content on website
การเขียนคอนเทนต์ในรูปแบบภาพนิ่ง
Writing Content form Still Images
การเขียนคอนเทนต์ในรูปแบบเว็บไซต์
Writing Content on Website
การเขียนคอนเทนต์บนเว็บไซต์จะต้องคานึงถึงการทา SEO ดังนั้นการใช้ Headline Tag
จะช่วยเรื่องการจัดอันดับบน Google ได้ โดยมากจะใช้ H1 กับหัวข้อใหญ่ และ H2 กับ
หัวข้อย่อย หรือหากมีย่อยกว่านั้นก็สามารถใช้ H3 หรือ H4 ได้
นอกจากนี้หากเราใช้เครื่องมือระบบการจัดการเนื้อหา (Content Management
System : CMS) จะช่วยเรื่อง SEO ได้มาก สามารถใส่ TAG เพื่อกาหนดคาค้นได้อีก
ด้วย
TAG
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา Search Engine Marketing การตลาดออนไลน์
การสร้างเว็บไซต์ WordPress การทา SEO
ชื่อคอนเทนต์
หัวข้อใหญ่
Lorem Ipsum is simply dummy text of the
printing and typesetting industry. Lorem
Ipsum has been the industry's standard
dummy text ever since the 1500s,
หัวข้อย่อย
When an unknown printer took a galley
of type and scrambled it to make a type
specimen book. It has survived not only
five centuries,
การยิงโฆษณา
H1
H2
H3
การเขียนคอนเทนต์ในรูปแบบภาพนิ่ง
Writing Content form Still Images
การเขียนคอนเทนต์ในรูปแบบภาพนิ่ง หากนาไปใช้กับเว็บไซต์จะสามารถฝัง Metadata ในรูปภาพได้ และควรมีข้อความในรูปภาพโปรยอยู่ใน
หน้าเว็บด้วย เพื่อให้ Search Engine ค้นเจอได้ง่าย
การเขียนคอนเทนต์ในรูปแบบวิดีโอ
Writing Content form Video
การเขียนคอนเทนต์ในรูปแบบวิดีโอ เป็นการเพิ่มโอกาสในการค้นแล้วเจอได้มากขึ้นไปอีก เนื่องจากวิดีโอบน YouTube สามารถใส่ TAG
รายละเอียดเกี่ยวกับวิดีโอ ที่เป็นมิตรกับ Google มากที่สุด แล้วนาคลิปจาก YouTube มาฝังในหน้าเว็บ และใส่ TAG ซ้าในหน้าเว็บ เพื่อให้
Search Engine ค้นเจอได้ไวขึ้น
Video Clip Tile
12345 views | 3 weeks ago
Video Clip Tile
12345 views | 4 weeks ago
Video Clip Tile
12345 views | 1 month ago
Video Clip Tile
12345 views | 2 months ago
—
หากธุรกิจของเรามีการทาคอนเทนต์ทั้ง 3 รูปแบบนี้ ให้นาทุกอย่าง
มาฝังซึ่งกันและกันไว้ เช่น นาสื่อภาพนิ่ง / สื่อวิดีโอ มาผสมกับคอน
เทนต์ในเว็บไซต์ แล้วนาคอนเทนต์จากเว็บไซต์ไปแชร์บน Facebook
อีกที Search Engine จะค้นเจอเว็บไซต์ได้ไวขึ้น.
สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับเว็บไซต์
“
”
ชื่อคอนเทนต์
Lorem Ipsum is simply dummy text of the printing and
typesetting industry. Lorem Ipsum has been the industry's
standard dummy text ever since the 1500s,
When an unknown printer took a galley of type and
scrambled it to make a type specimen book. It has survived
not only five centuries,
คอนเทนต์ต้องอ่านง่ายสบายตา
Readable
เมื่อผู้อ่านต้นหาคอนเทนต์ของเราเจอแล้ว เนื้อหาในบทความคือหัวใจหลักของคอนเทนต์ที่ผู้อ่านให้ความสาคัญ ดังนั้นข้อมูลต้องถูกเรียบเรียง
มาเป็นอย่างดี มีการจัดหมวดหมู่ จัดหัวข้อและเนื้อหาให้อ่านง่าย ทาความเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว
การใช้สัญลักษณ์และตัวเลขในหัวข้อย่อย
Using Bullet and Numbers in Subheadings
1. 2.
การใช้พีระมิดกลับหัวในการเขียนคอนเทนต์
Using the Inverted Pyramid in Content Writing
การจัดกลุ่มของเนื้อหา
Grouping of Content
การใช้ภาษาที่เหมาะสม
Language
การใช้พีระมิดกลับหัวในการเขียน
คอนเทนต์
Using the Inverted Pyramid in Content Writing
เนื้อหาที่สาคัญมากที่สุดควรวางไว้ตาแหน่งบนสุดของบทความ ผู้อ่านมักจะ
ให้ความสาคัญกับการอ่านบรรทัดแรกๆ ส่วนอื่นจะอ่านผ่านๆ กวาดสายตา
แบบรวดเร็ว
การจัดกลุ่มของเนื้อหา
Grouping of Content
การเขียนคอนเทนต์หรือบทความควรย่อเนื้อหาให้สั้น กระชับ แต่ได้ข้อมูล
ครบถ้วน เข้าใจง่าย แบ่งเป็นหมวดหมู่ชัดเจน เรียงลาดับการเล่าเรื่องที่
ต่อเนื่องกัน
ชื่อคอนเทนต์
หัวข้อใหญ่
Lorem Ipsum is simply dummy text of the
printing and typesetting industry. Lorem
Ipsum has been the industry's standard
dummy text ever since the 1500s,
หัวข้อย่อย
When an unknown printer took a galley
of type and scrambled it to make a type
specimen book. It has survived not only
five centuries,
การใช้สัญลักษณ์และตัวเลข
ในหัวข้อย่อย
Using Bullet and Numbers in Subheadings
สัญลักษณ์และตัวเลขในหัวข้อย่อย จะช่วยให้การจัดเนื้อหาเป็น
ระเบียบ ผู้อ่านสามารถอ่านเนื้อหาได้อย่างรวดเร็วและเข้าใจได้ง่าย
มากขึ้น
การใช้ภาษาที่เหมาะสม
Language
ในการเล่าเรื่อง เราควรใช้ภาษาให้คงที่ เช่น สรรพนามที่ใช้เรียก
ลูกค้า ต้องใช้ไม่ให้ลูกค้าเกิดความสับสน โดยเฉพาะคาว่า “คุณ”
กับ “เรา”
1. 2.
5 ต้องกับการสร้างคอนเทนต์
เพื่อสร้างประสบการณ์ผู้อ่านที่ดี
1. ต้องค้นหาได้ง่าย
2. ต้องอ่านง่ายสบายตา
3. ต้องเข้าใจได้ง่าย
4. ต้องการให้ผู้อ่านทาอะไรต่อ
5. ต้องเกิดการบอกต่อ
1. ต้องค้นหาได้ง่าย
การเขียนคอนเทนต์หรือบทความควรมีคาค้น (Keyword) ที่คาด
ว่าผู้อ่านจะใช้คานั้นในการค้นหาข้อมูล เพื่อให้ค้นหาแล้วเจอได้
ง่าย หากสามารถทา Search Engine Optimization (SEO) ได้
ด้วย ก็จะทาให้คอนเทนต์ของเราติดอันดับต้นๆ ของ Google ได้
คอนเทนต์จะต้องเข้าใจได้ง่าย
Understandable
การเล่าเรื่องที่มีความซับซ้อนเฉพาะทางมีความท้าทายสาหรับผู้เขียนคอนเทนต์เป็นอย่างมาก จะต้องคานึงถึงระดับของผู้อ่านให้มาก
เลือกรูปแบบของคอนเทนต์ให้เหมาะสม
Choose the Content Format
คานึงถึงฐานความรู้ของลูกค้า
Customer Knowledge Base
เล่าเรื่องราวให้เห็นภาพและเข้าใจได้ง่าย
Tell Stories Visually and Easily Understandable
หลีกเลี่ยงการใช้ศัพท์เทคนิค
Avoid Using Technical Terms
เลือกรูปแบบของคอนเทนต์ให้เหมาะสม
Choose the Content Format
ก่อนเริ่มเขียนคอนเทนต์ ควรพิจารณาเนื้อหาว่าสามารถ
ถ่ายทอดในรูปแบบใดได้บ้าง และมีรูปแบบใดที่เหมาะสม อาจ
เป็น ภาพนิ่ง / วิดีโอ เพื่อทาให้ผู้อ่านทาความเข้าใจกับเนื้อหา
ของเราได้มากขึ้นในระยะเวลาอันสั้นและไม่น่าเบื่อ
คานึงถึงฐานความรู้ของลูกค้า
Customer Knowledge Base
บางครั้งการเขียนคอนเทนต์อาจต้องเขียนเพื่อให้
กลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายสามารถเข้าใจเนื้อหาได้ง่าย
ดังนั้นเราควรสร้างคอนเทนต์ที่ตอบโจทย์ในแต่ละระดับ
ความรู้ของลูกค้า
เล่าเรื่องราวให้เห็นภาพและเข้าใจได้ง่าย
Tell Stories Visually and Easily Understandable
บางครั้งเนื้อหาที่ต้องการจะเล่าอาจมีความซับซ้อนและยากต่อการทาความเข้าใจ อาจใช้วิธีการยักตัวอย่าง หรือสมมติสถานการณ์จาลอง
ขึ้นมา จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาได้มากขึ้น
หลีกเลี่ยงการใช้ศัพท์เทคนิค
Avoid Using Technical Terms
การเขียนคอนเทนต์จะต้องคานึงถึงผู้อ่านมากที่สุด เนื่องจากผู้อ่านไม่ได้มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาเท่ากับผู้เขียนคอนเทนต์ ดังนั้นเราควรใช้
วิธีการเล่าเรื่องด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงการใช้ศัพท์เทคนิคได้ อาจใส่คาอธิบานสั้นๆ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจได้
คอนเทนต์ต้องการให้ผู้อ่านทาอะไรต่อ
Actionable
เมื่อเราสร้างคอนเทนต์ขึ้นมาแล้ว ต้องคิดเสมอว่าต้องการให้ผู้อ่านทา
อะไรต่อ เช่น มีปุ่ม “หากคุณอยากรู้ข้อมูลเพิ่มขึ้นให้คลิกที่นี่” มีส่วนแสดง
ความคิดเห็นและสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม หรือมีการลิงค์ไปยังคอนเทนต์
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอนเทนต์ที่ผู้อ่านกาลังอ่าน
คอนเทนต์ต้องเกิดการบอกต่อ
Shareable
ผู้คนมักเชื่อในสิ่งที่เพื่อนบอกมากกว่าแบรนด์บอก ดังนั้นคอน
เทนต์จะต้องทาให้ผู้อ่านรู้สึกอยากแชร์ต่อ
01
02
03
เชิญชวนผู้อ่าน
Invite Reader
ขอบคุณผู้อ่าน
Thank you Reader
ทาให้ง่ายต่อการแชร์
Make It Easy to Share
เชิญชวนผู้อ่าน
Invite Reader
• เช่น หากชื่นชอบ อย่าลืมกด Like กด Share กด Subscribe ด้วยนะ
ครับ ขอบคุณครับ หากคอนเทนต์นี้มีประโยชน์อย่าลืมแชร์บอกต่อสิ่งนี้
กับเพื่อนของคุณด้วยนะครับ
ขอบคุณผู้อ่าน
Thank you Reader
• การขอบคุณผู้อ่านเป็นสิ่งหนึ่งที่ไม่ควรมองข้าม การ
ขอบคุณทาให้ลูกค้ารู้สึกประทับใจและอยากแชร์ต่อ เช่น
• ขอบคุณสาหรับการติดตามนะครับ
• ขอบคุณสาหรับการสนับสนุนกันตลอดมา
ทาให้ง่ายต่อการแชร์
Make It Easy to Share
• สื่อสังคมออนไลน์เป็นช่องทางที่ง่ายต่อการแชร์อยู่แล้ว ไม่ว่า
จะเป็น Facebook / YouTube แต่ถ้าเป็นเว็บไซต์ อาจะต้องมี
การวางปุ่มแชร์ในตาแหน่งที่เหมาะสม เพื่อให้ง่ายต่อการแชร์
การโฆษณาบน Google
Advertisement on Google
การโฆษณาบน Google เป็นวิธีการใช้เงินซื้อเพื่อให้เว็บไซต์เราติดหน้าแรก
Google สิ่งที่เจ้าของธุรกิจต้องมีคืออีเมล์ Gmail แล้วใช้ Google Ads
เพื่อให้ผู้ใช้มีโอกาสคลิกเข้ามาดูเว็บไซต์หรือโทรหาเจ้าของธุรกิจ
การทาให้เว็บไซต์ติดหน้าแรกค้นหา
Search Engine Optimization
01
02
03
04
05
ความหมายของ SEO
Definition of SEO
เนื้อหาที่กูเกิ้ลชอบ
Content That Google Likes
ทาไมต้องทา SEO
Why do SEO?
ตัวชี้วัดของ SEO
SEO Indicator
องค์ประกอบของ SEO ที่ดี
Elements of Good SEO
06 เทคนิคการทา SEO ศูนย์บาท
Free SEO Techniques
ความหมายของ SEO
Definition of SEO
การทา SEO หรือ Search Engine Optimization เป็นการทาให้
เว็บไซต์ของธุรกิจติดหน้าแรกเมื่อมีผู้ใช้ทั่วไปค้นหาข้อมูลใน Google
ด้วยคีย์เวิร์ดที่ต้องการ โดยไม่ใช้การลงโฆษณา และต้องทาตาม
กฎระเบียบที่ Google ต้องการด้วย
เนื้อหาที่กูเกิ้ลชอบ
Content That Google Likes
Google คือ Search Engine ที่เน้นการแสดงข้อมูลให้ตรงกับสิ่งที่ผู้ใช้ค้นหา การทาให้เว็บไซต์เราติดหน้าแรก เจ้าของธุรกิจต้องสร้างเนื้อหา
ในแบบที่ Google ชอบ เช่น
01
02
03
ข้อมูลที่คนอยากรู้
ข้อมูลที่ถูกเรียบเรียงมาอย่างดี
ข้อมูลอ่านแล้วเข้าใจง่าย
04
05
ข้อมูลมีประโยชน์
ข้อมูลที่สามารถแก้ปัญหาหรือให้
คาตอบได้
ทาไมต้องทา SEO
Why do SEO?
การทาให้เว็บไซต์ติดอันดับต้นๆ ของ Google เป็นสิ่งที่สาคัญมาก เพราะถ้า
เว็บไซต์ของธุรกิจไม่ติดอันดับหน้าแรก จานวนคนเข้าเว็บไซต์แทบจะเป็นศูนย์
ตัวชี้วัดของ SEO
SEO Indicator
การทา SEO เป็นหลักสากลที่ใครๆ ที่มีเว็บไซต์ก็สามารถทาได้ ตัวชี้วัดจึงอยู่ที่
01
02
03
ถ้าเว็บไซต์คู่แข่งสวย เราต้องทาให้
สวยกว่า
ถ้าบทความเขาเขียนดี เราต้อง
เขียนให้ดีกว่า
ถ้าจานวนบทความเขามีมาก เรา
ต้องมีให้มากกว่า
04
05
ถ้าเว็บไซต์เขาเปิดได้เร็ว เราต้องเร็วให้
มากกว่า
ถ้าผู้ใช้ใช้เวลาอ่านเว็บไซต์คู่แข่งได้นาน
เราต้องได้นานกว่า
องค์ประกอบของ SEO ที่ดี
Elements of Good SEO
เว็บไซต์
Website
ต้องเลือกใช้เครื่องมือสร้างที่ดี ออกแบบ
โครงสร้างเว็บให้ดี
กราฟิก
Graphic
ต้องออกแบบรูปภาพให้สวย และวางตาแหน่ง
ของรูปภาพได้ถูกต้อง
คอนเทนต์
Content
เขียนบทความให้น่าอ่าน ตรงใจ Google
เทคนิคการทา SEO ศูนย์บาท
Free SEO Techniques
การทา SEO ไม่จาเป็นต้องจ้าง เนื่องจากสิ่งสาคัญอยู่ที่เว็บไซต์ กราฟิก และคอนเทนต์ โดยเทคนิคการทา SEO ฟรี มีดังนี้
การทา SEO นอกเว็บไซต์
SEO Off-Page
การทา SEO ในเว็บไซต์
SEO On-Page
การทา SEO ในเว็บไซต์
SEO On-Page
01
02
03
กาหนดคาค้น
Keywords
กาหนดชื่อเรื่อง
Title
กาหนดหัวข้อ
Headline
04
05
กาหนดรูปภาพ
Image
กาหนด URL ให้เป็นมิตร
URL Friendly
06 เขียนย่อหน้าแรกให้ดี
First Paragraph
เป็นการปรับแต่งของเว็บไซต์ ทุกอย่างเกิดขึ้นใน WordPress ได้แก่
07
08
มีสารบัญเนื้อหา
Table of Content
ซ้าคีย์เวิร์ดในเนื้อหา
Keyword Density
กาหนดคาค้น
Keywords
กาหนดคาค้นที่คาดว่าผู้ใช้ทั่วไปจะใช้คาเหล่านี้สืบค้น ใน WordPress จะมีให้กรอก
ป้ายกากับ (Tags)
กาหนดชื่อเรื่อง
Title
ชื่อเรื่องต้องน่าสนใจ และมีคาค้นหลักอยู่ในชื่อเรื่อง
กาหนดหัวข้อ
Headline
ในเนื้อหาควรแบ่งออกเป็นหัวข้อลาดับ
ต่างๆ ตั้งแต่ Heading 1 2 3 หรือ 4 โดย
ในหัวข้อเหล่านี้จะต้องมีคาค้นสาคัญเป็น
ชื่อหัวข้อ
กาหนดรูปภาพ
Image
รุปภาพมีสิ่งที่ต้องพิจารณา ดังนี้
01 ขนาดของรูปภาพต้องไม่เล็กหรือ
ใหญ่เกินไป
02 ต้องตั้งชื่อไฟล์ให้ดีก่อนอัปโหลดขึ้น
WordPress ชื่อไฟล์เป็นภาษาอังกฤษ
ห้ามเว้นวรรค คนละคาใส่ขีด “-” คา
เดียวกันใช้ขีดล่าง “_”
กาหนดรูปภาพ
Image
03
ใส่ Alternative Text เพื่อให้
Google รู้ว่ารูปภาพที่อัปโหลด
คือรูปอะไร
กาหนดรูปภาพ
Image
04
อย่าลืมใส่รูปภาพหน้าปก (Featured image) เพื่อเพิ่มความ
ดึงดูด น่าสนใจ และช่วยเพิ่มโอกาสให้รูปภาพไปปราฏในการ
ค้นหารูปภาพ (Image Search) ด้วย
กาหนด URL ให้เป็นมิตร
URL Friendly
URL แนะนาเป็นภาษาอังกฤษและสอดคล้องกับคาค้น สั้น กระชับ
เขียนย่อหน้าแรกให้ดี
First Paragraph
Google Bot อ่านข้อมูลจากบนลงล่าง ย่อหน้าแรก
ของบทความต้องชัดเจน กาหนดเป็น Paragraph
Text (ตัวอักษรธรรมดา) เท่านั้น ห้ามเขียนย่อหน้า
ด้วย heading เด็ดขาด ให้เขียนยาวประมาณ 2-3
บรรทัดขึ้นไป และให้มีคาที่เป็น Focus Keyword
ปรากฏอย่างด้วย 1 ครั้ง
เพื่อทาให้เว็บมีโอกาสถูกค้นเจอจากคาค้นต่างๆ ที่
กาหนดไว้ เป็นต้น ทั้งนี้ควรจะอัพเดทเว็บไซต์ให้มี
ความเคลื่อนไหวอยู่เสมอ
มีสารบัญเนื้อหา
Table of Content
ก่อนเข้าสู่เนื้อหา ในบทความควรมีรายการหัวข้อย่อยๆ
เพื่อให้ผู้อ่านเข้าถึงหัวข้อเหล่านั้นได้ง่ายขึ้น
ซ้าคีย์เวิร์ดในเนื้อหา
Table of Content
ในเนื้อหาควรมีการแทรกคีย์เวิร์ดเป็นระยะ โดยเขียนให้มีคีย์เวิร์ดที่ดูเป็นธรรมชาติ ถูกวางไว้อย่างหลวมๆ ทั่วทั้งบทความ ไม่จาเป็นต้องเน้น
คาด้วยเทคนิคต่างๆ ควรนาคีย์หวัดหลักและคีย์เวิร์ดรองมาเรียบเรียงเป็นเนื้อหาที่อ่านแล้วรู้เรื่อง
เนื้อหา________________________________________________________________________________________________
________________คีย์เวิร์ดหลัก___________________________________________________________________________
คีย์เวิร์ดรอง____________________________________________________________________________________________
_______________________________คีย์เวิร์ดรอง_____________________________________________________________
__________________________________________________
การทา SEO นอกเว็บไซต์
SEO Off-Page
เป็นการสร้างลิงค์เชื่อมโยงจากเว็บอื่นมายังเว็บไซต์ของเรา
หรือจากเว็บไซต์เราไปยังสื่อสังคมออนไลน์ เช่น สร้างวิดีโอ
แล้วอัปโหลดไว้ที่ YouTube แล้วนาไปฝังบนเว็บไซต์
การทา SEO นอกเว็บไซต์
SEO Off-Page
สร้างเนื้อหาด้วย PowerPoint แล้วบันทึกเป็น PDF
อัปโหลดไว้ที่ Slideshare แล้วนาไปฝังบนเว็บไซต์
การทา SEO นอกเว็บไซต์
SEO Off-Page
• เมื่อทาเว็บไซต์เสร็จแล้วอย่าลืมใส่ปุ่มแชร์ไปยังสื่อสังคม
ออนไลน์ต่างๆ เพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมและการแบ่งปัน
ได้ง่าย
การทา SEO นอกเว็บไซต์
SEO Off-Page
เช่นนาปุ่ม Facebook มาวางไว้ส่วนท้ายของบทความ
เมื่อผู้อ่านต้องการแบ่งปันเนื้อหานี้ก็สามารถคลิกปุ่ม
Facebook เพื่อแชร์ไปยัง Facebook ของผู้อ่านได้เลย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
ธิติพล เทียมจันทร์
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
Samorn Tara
 
Creator / Content creator คอนเทนต์ ครีเอเตอร์ ( เรียน content creator ) หัวข้...
Creator / Content creator คอนเทนต์ ครีเอเตอร์ ( เรียน content creator ) หัวข้...Creator / Content creator คอนเทนต์ ครีเอเตอร์ ( เรียน content creator ) หัวข้...
Creator / Content creator คอนเทนต์ ครีเอเตอร์ ( เรียน content creator ) หัวข้...
ธิติพล เทียมจันทร์
 

Was ist angesagt? (20)

การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
การสร้างแบรนด์ ให้ ธุรกิจดิจิทัล ยืนหนึ่งบนโลกออนไลน์ โดย อาจารย์แชมป์ ธิติพล...
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
Creator / Content creator คอนเทนต์ ครีเอเตอร์ ( เรียน content creator ) หัวข้...
Creator / Content creator คอนเทนต์ ครีเอเตอร์ ( เรียน content creator ) หัวข้...Creator / Content creator คอนเทนต์ ครีเอเตอร์ ( เรียน content creator ) หัวข้...
Creator / Content creator คอนเทนต์ ครีเอเตอร์ ( เรียน content creator ) หัวข้...
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
เข้าใจตลาด (Market Understanding)
เข้าใจตลาด (Market Understanding)เข้าใจตลาด (Market Understanding)
เข้าใจตลาด (Market Understanding)
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
 
Gifographic
GifographicGifographic
Gifographic
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพ
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 

Ähnlich wie การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)

นุ๊ก
นุ๊กนุ๊ก
นุ๊ก
sirinet
 
รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์
sirinet
 

Ähnlich wie การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing) (20)

Advertisment
AdvertismentAdvertisment
Advertisment
 
Web promotion
Web promotionWeb promotion
Web promotion
 
Webbasic
WebbasicWebbasic
Webbasic
 
อบรม Seo
อบรม Seoอบรม Seo
อบรม Seo
 
Web 2.0
Web 2.0Web 2.0
Web 2.0
 
Seo 13510192
Seo 13510192Seo 13510192
Seo 13510192
 
How to develop web site
How to develop web siteHow to develop web site
How to develop web site
 
Interactive media
Interactive mediaInteractive media
Interactive media
 
การโฆษณาผ่าน Online Rich Media
การโฆษณาผ่าน Online Rich Mediaการโฆษณาผ่าน Online Rich Media
การโฆษณาผ่าน Online Rich Media
 
เวิลด์ไวด์เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บเวิลด์ไวด์เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บ
 
กระบวนการพัฒนาเว็บ
กระบวนการพัฒนาเว็บกระบวนการพัฒนาเว็บ
กระบวนการพัฒนาเว็บ
 
Chap14_Ecom
Chap14_EcomChap14_Ecom
Chap14_Ecom
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
 
Ict promotes learning (1)
Ict promotes learning (1)Ict promotes learning (1)
Ict promotes learning (1)
 
E commerce1
E commerce1E commerce1
E commerce1
 
ใบงานที่4 53-10
ใบงานที่4 53-10ใบงานที่4 53-10
ใบงานที่4 53-10
 
นุ๊ก
นุ๊กนุ๊ก
นุ๊ก
 
รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์รออกแบบเว็บไซต์
รออกแบบเว็บไซต์
 
โบ
โบโบ
โบ
 

Mehr von Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Mehr von Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (18)

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)
 

การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)